Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

สนท.

010020-2554

ดวยพระบารมี ฟนฟูปฐพีไทย
สำนักนิเทศและถายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

การผลิตเชือ้ จุลนิ ทรียเ พิม่ ความเปนประโยชนของ“ฟอสฟอรัสในดินเปรีย้ ว”โดยใชสารเรง พด.9


วิธกี ารขยายเชือ้ สารเรง พด.9
วัสดุสำหรับขยายเชือ้
 กากน้ำตาล 1 กิโลกรัม
 น้ำ 10 ลิตร
 ปุย  หมัก 500 กิโลกรัม
 รำขาว 5 กิโลกรัม
 สารเรง พด.9 1 ซอง (25 กรัม)
วิธที ำ
ขัน้ ตอนที่ 1 ขยายเชือ้ จุลนิ ทรีย 10 ลิตร
ละลายสารเรง พด.9 ในน้ำ และกากน้ำตาลในถัง
กวนสวนผสมนาน 5 นาที ปดฝาไมตองสนิทใชเวลา
หมัก 2 วัน กวน 2 ครัง้ ตอวัน

ส ารเรง พด.9 เปนกลุมจุลินทรียที่เพิ่มความเปน


ประโยชนของฟอสฟอรัสในดินเปรีย้ วนอย ซึง่ เปน

(pH ไมตำ่ กวา 5)


ขัน้ ตอนที่ 2 ผสมเชือ้ จุลนิ ทรียในปุย หมัก
นำจุลินทรียที่ขยายไดตามขั้นตอนที่ 1 ผสมใน
ดิ น กรดกำมะถั น ที่ มี ค วามรุ น แรงของกรดน อ ย ปุยหมักและรำขาว คลุกเคลาสวนผสมใหเขากัน และ
ใหมีความชื้น 60 เปอรเซ็นต ตั้งกองปุยหมักเปนรูป
จุลนิ ทรียท เี่ พิม่ ความเปนประโยชนของ สี่เหลี่ยมผืนผาความสูง 70 เซนติเมตร กองปุยหมัก
ฟอสฟอรัสในดินเปรีย้ ว ในทีร่ ม เปนเวลา 24 ชัว่ โมง แลวจึงนำไปใช
www.ldd.go.th

หมายถึ ง จุ ลิ น ทรี ย ที่ มี ค วามสามารถในการ


ละลายสารประกอบฟอสฟอรัสในสภาพดินเปรีย้ ว โดย
การผลิ ต กรดอิ น ทรี ย บ างชนิ ด ออกมา เพื่ อ ละลาย
ฟอสฟอรัสใหเปนประโยชนตอ พืชและในดิน
คุณสมบัตสิ ารเรง พด.9
 ช ว ยแปรสภาพสารประกอบฟอสฟอรั ส ใน
ดินเปรีย้ วใหอยูในรูปทีเ่ ปนประโยชนตอ พืช
 กลุ ม จุ ลิ น ทรี ย เ จริ ญ ได ดี ใ นดิ น ที่ มี ค า ความ
เปนกรดเปนดางอยูร ะหวาง 4.5-6.5
 ผลิ ต กรดอิ น ทรี ย แ ละสารเสริ ม การเจริ ญ
เติบโตบางชนิด เพือ่ ชวยเพิม่ ความแข็งแรงใหกบั พืช

เกษตรอินทรีย ฟน ผืนดิน ฟน ชีวติ เพิม่ คุณ ภาพ เพิม่ ผลผลิต
ดินมีปญหา ปรึกษา หมอดินอาสาหมูบาน-ตำบล ที่ใกลบาน

ดวยพระบารมี ฟนฟูปฐพีไทย
การผลิตเชือ้ จุลนิ ทรียเ พิม่ ความเปนประโยชนของ“ฟอสฟอรัสในดินเปรีย้ ว”โดยใชสารเรง พด.9

การดูแลรักษาขยายเชือ้ สารเรง พด.9 ประโยชนของสารเรง พด.9


 ทำการกวนสวนผสมของเชื้อจุลินทรีย ในน้ำ  เพิ่ ม ความเป น ประโยชน ข องฟอสฟอรั ส ใน
และกากน้ำตาล 2 ครัง้ ตอวัน เพือ่ เปนการเพิม่ ปริมาณ ดินเปรีย้ วนอยหรือดินทีม่ คี า pH ของดินไมตำ่ กวา 5.0
จุลนิ ทรีย  ทำใหพช ื เจริญเติบโตและสมบูรณ
 รั ก ษาความชื้ น อย า งสม่ ำ เสมอในระหว า ง
การขยายเชื้อในกองปุยหมัก โดยใชวัสดุคลุมกองปุย ขอปฏิบตั ิ
หมัก  ห า มเผาตอซั ง ให ไถกลบตอซั ง เพื่ อ เพิ่ ม
อินทรียวัตถุในดิน
อัตราและวิธกี ารใชเชือ้ สารเรง พด.9  ปรั บ ปรุ ง บำรุ ง ดิ น ด ว ยปุ ย อิ น ทรี ย ห รื อ วั ส ดุ
ทีผ ่ า นการคลุกผสมในปุย หมักและรำขาว ปรับปรุงดิน
 ขาว ใช 100 กิโลกรัมตอไร หวานตามหลัง
การไถกลบตอซังหรือไถแปร
 พืชไร พืชผัก ไมดอก ไมประดับ ใส 100
กิโลกรัมตอไร ระหวางแถวปลูกพืชหรือหวานทัว่ แปลง
 ไมผล ไมยนื ตน ใช 3 กิโลกรัมตอตน ใสชว ง
เตรียมหลุมปลูก โดยคลุกเคลากับดินในหลุมปลูก และ
ใสชว งพืชเจริญแลวหวานใหทวั่ ทรงพุม
 แปลงเพาะกลา ใส 1 กิโลกรัมตอพื้นที่ 10
ตารางเมตร หวานใหทวั่ แปลงเพาะกลา

หยุดสารพิษ
เปลีย
่ นวิถช
ี ว
ี ต
ิ ใหม
ใชการผลิตอินทรีย
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่  หรือที่
 สำนักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน โทร. 0-2579-5545  สถานีพัฒนาที่ดินที่ตั้งใกลบาน
สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12
กรมพัฒนาที่ดิน ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กทม.10900
โทร. 1760

You might also like