การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 43

การลาเลียงสารเข้า

และออกจากเซลล์
ทบทวน
กันก่อน!!
osmosis
Diffusion
Diffusion, Osmosis
Diffusion
diffusion
Diffusion
diffustion
Diffusion, Osmosis
Osmosis, diffustion
Diffusion
diffusion
Cell membrane Structures
1. การแพร่แบบธรรมดา (Simple diffusion)

การลาเลียงสารที่อาศัยการเคลื่อนที่ของอนุภาคสาร “จาก
บริเวณที่มีความเข้มข้นของอนุภาคสารนั้นมากไปยังบริเวณที่มี
ความเข้มข้นของอนุภาคสารนั้นน้อย”
การแพร่แบบธรรมดา (Simple diffusion)
เมื่อทุกบริเวณที่อนุภาคสารนั้นแพร่ไปมีความเข้มข้นของอนุภาคสารเท่ากันก็จะทาให้
พลังงานจลน์เฉลี่ยของอนุภาคสารเท่ากันทุกบริเวณ เรียกสภาวะนี้ว่า
“สมดุลของการแพร่” (Dynamic equilibrium)
2. การแพร่แบบฟาซิลิเทต (Facilitated diffusion)

เป็นการเคลือ่ นทีข่ องสารใดๆ จากบริเวณทีม่ คี วามเข้มข้นสูงไปยังบริเวณทีม่ คี วามเข้มข้นของสารต่า


โดยมีโปรตีนเป็นตัวพา (Protein Carrier) สารนัน้ เข้าสูเ่ ซลล์โดยไม่ตอ้ งใช้พลังงาน (ATP) จาก
เซลล์ การแพร่แบบนีจ้ ะเกิดขึน้ ได้เร็วกว่าการแพร่แบบธรรมดา
3. การออสโมซิส (Osmosis)

เป็นการเคลื่อนที่ของน้า (ซึ่งทาหน้าที่เป็นตัวทาละลาย)
ผ่านเยื่อเลือกผ่าน (Semipermeable Membrane) จาก
บริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายต่าไปยังบริเวณที่
มีความเข้มข้นของสารละลายสูง

การออสโมซิสของน้าทาให้ปริมาตรของเซลล์เปลีย่ นแปลงได้
สารละลายแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ตามแรงดันออสโมซิส ได้แก่
1. Isotonic Solution
สารละลายภายนอกเซลล์ที่มีแรงดันออสโมซิสเท่ากับ
สารละลายภายในเซลล์ เซลล์นั้นจะมีปริมาตรคงที่ ไม่มกี าร
เปลีย่ นแปลงเกิดขึน้
2. Hypertonic Solution
สารละลายภายนอกเซลล์ทมี่ ีแรงดันออสโมซิสสูงกว่า
สารละลายภายในเซลล์ ทาให้น้าออสโมซิสออกสู่ภายนอกเซลล์ ทาให้
เซลล์ลดขนาดเกิดการเหีย่ ว เรียกว่า พลาสโมไลซิส (Plasmolysis)
3. Hypotonic Solution
สารละลายภายนอกเซลล์ที่มีแรงดันออสโมซิสต่ากว่า
สารละลายภายในเซลล์ ทาให้น้าออสโมซิสจากสารละลายภายนอก
เซลล์สู่ภายในเซลล์ จึงทาให้เซลล์เกิดการเต่งหรือแตกได้ เรียกว่า
พลาสโมไทซิส (Plasmoptysis)
ทั้งการแพร่แบบธรรมดา, ออสโมซิส
และการแพร่แบบมีตวั ช่วยจะรวม
เรียกว่า “การลาเลียงสารแบบ
ไม่ใช้พลังงาน” (Passive transport)
4. การลาเลียงสารแบบใช้พลังงาน (Active transport)

เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารใดๆ จากบริเวณที่
มีความเข้มข้นต่าไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นสูง โดย
อาศัยโปรตีนเป็นตัวพา (Protein Carrier) และต้องใช้
พลังงาน (ATP) จากเซลล์ เช่น การดูดซึมสารอาหารที่
ลาไส้เล็ก การลาเลียงโซเดียม-โพแทสเซียม (Na-K)เข้า
และออกจากเซลล์ประสาท (Sodium-Potassium Pump)
การดูดแร่ธาตุเข้าสู่รากพืช เป็นต้น
- พลังงานทีใ่ ช้ในการลาเลียงสารวิธนี มี้ าจากการสลายสารพลังงานสูง ATP
การลาเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์

การลาเลียงสารแบบไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ


1. เอกโซไซโทซิส (Exocytosis)
2. เอนโดไซโทซิส (Endocytosis) ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 วิธี คือ
2.1 ฟาโกไซโทซิส (Phagocytosis)
2.2 พิโนไซโทซิส (Pinocytosis)
2.3 การนาสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ
(Receptor-Mediated Endocytosis)
1. เอกโซไซโทซิส (Exocytosis)
- เป็นการลาเลียงสารที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่ออกจากเซลล์
- บรรจุอยู่ในเวสิเคิล (Vesicle) แล้วเวสิเคิลจะค่อยๆ เคลื่อนเข้ามาเชื่อมรวมกับเยื่อหุ้ม
เซลล์ จากนั้นสารที่บรรจุอยู่ในเวสิเคิลจะถูกปล่อยออกสู่นอกเซลล์
- เช่น การหลั่งเอนไซม์ของเซลล์กระเพาะอาหาร การหลั่งฮอร์โมนอินซูลินของเซลล์ใน
ตับอ่อนเข้าสู่กระแสเลือด หรือการนาของเสียออกจากเซลล์ของอะมีบา เป็นต้น
2. เอนโดไซโทซิส (Endocytosis)

เป็นการลาเลียงสารที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่จากสิ่งแวดล้อมภายนอกเข้าสู่ภายในเซลล์
1. ฟาโกไซโทซิส (Phagocytosis)
- เป็นการลาเลียงที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่และมีสถานะเป็นของแข็งเข้าสู่เซลล์
- เช่น การกินอาหารของอะมีบา การกินเชื้อโรคของเม็ดเลือดขาวบางชนิด
2. พิโนไซโทซิส (Pinocytosis)
- เป็นการลาเลียงสารทีม่ สี ถานะเป็นของเหลวเข้าสูเ่ ซลล์
- เช่น การนาสารเข้าสูเ่ ซลล์ทหี่ น่วยไต และการนาสารเข้าสูเ่ ซลล์ทเี่ ยือ่ บุลาไส้
กิจกรรม
คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนตารางเปรียบเทียบการลาเลียงสารชนิดต่างๆ ได้แก่ การแพร่แบบ
ธรรมดา การแพร่แบบฟาซิลิเทต การลาเลียงแบบใช้พลังงาน (Active Transports) การ
ลาเลียงสารโดยการสร้างเวสซิเคิลในประเด็นต่างๆ ดังนี้
ประเด็น การแพร่แบบธรรมดา การแพร่แบบฟาซิลิเทต Active Transport การสร้างเวสซิเคิล
กลไกการ เคลื่อนที่ผา่ นโมเลกุล ใช้โปรตีนลาเลียง ใช้โปรตีนลาเลียง สร้างถุงเวสซิเคิลจากเยื่อหุ้ม
ลาเลียง ของลิพิดที่เยื่อหุ้มเซลล์ เซลล์เพื่อล้อมรอบสารแล้ว
ปล่อยออกหรือเข้าเซลล์
ขนาดของสาร สารขนาดเล็กที่ผา่ น สารขนาดเล็กแต่ไม่ สารขนาดเล็กแต่ไม่ สารขนาดใหญ่ที่ไม่สามารถ
เยื่อหุ้มเซลล์ได้ สามารถผ่านเยื่อหุ้ม สามารถผ่านเยื่อหุ้ม ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์และโปรตีน
เซลล์ได้ เซลล์ได้ ได้
ทิศทางการ จากบริเวณที่มีความ จากบริเวณที่มีความ จากบริเวณที่มีความ สามารถลาเลียงได้ท้งั เข้า
ลาเลียง เข้มข้นของสารสูงไป เข้มข้นของสารสูงไปยัง เข้มข้นของสารต่าไป เซลล์และออกเซลล์ ถ้า
ยังบริเวณที่มีความ บริเวณที่มีความเข้มข้น ยังบริเวณที่มีความ ลาเลียงเข้าสู่เซลล์เรียกว่า
เข้มข้นของสารต่า ของสารต่า เข้มข้นของสารสูง “Endocytosis” ถ้าลาเลียง
ออกจากเซลล์เรียกว่า
“Exocytosis”
ประเด็น การแพร่แบบธรรมดา การแพร่แบบฟาซิลิเทต Active Transport การสร้างเวสซิเคิล
พลังงานจาก ATP ไม่ใช้ ไม่ใช้ ใช้ ใช้
ตัวอย่าง การแลกเปลีย่ นแก๊ส การลาเลียงกลูโคสเข้า -การหลั่งไฮโดรเจน -การนาแบคทีเรียเข้าสู่เซลล์
ออกซิเจนและ สู่เซลล์เม็ดเลือดแดง ไอออนจากเซลล์บุผิว เม็ดเลือดขาวกลุ่มฟาโกไซต์
คาร์บอนไดออกไซด์ท่ี และเซลล์กล้ามเนือ้ ของกระเพาะอาหาร
ถุงสมปอดและ เข้าสู่กระเพาะอาหาร
เนื้อเยื่อทั่วร่างกาย -Sodium-potassium
pump ที่เยื่อหุ้มเซลล์
หลังจากที่ได้เรียนกันครบทั้ง 2
สัปดาห์ นักเรียนมีอะไรจะบอก
ครูไหมเอ่ย? การสอนของครู
เป็นยังไงบ้าง? เล่าความรู้สึก
ให้ฟังหน่อยสิ?
Good Job!!

You might also like