Osa 1

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 4

คำถาม : การนอนตะแคงในผู้ป่วยที่มีภาวะการนอนกรน

หรือหยุดหายใจขณะนอนหลับ สามารถลดการเกิดความดัน
หลอดเลือดปอดสูงได้แตกต่างกับการนอนหงาย

ความสำคัญ

เนื่องจากปั ญหาการนอนกรนพบได้มากขึน
้ ในเวชปฏิบัติ โดย
เฉพาะเพศชายที่มีอายุเพิ่มมากขึน
้ จะพบได้มากกว่าเพศหญิง
จากอุบัติการณ์การนอนกรนและภาวะหยุดหายใจในต่างประเทศ
การนอนกรนในช่วงอายุ 30-35 ปี พบในเพศชายประมาณร้อยละ
20 เพศหญิงประมาณร้อยละ 5 เมื่ออายุ 60 ปี ขึน
้ ไปพบในเพศชาย
ประมาณร้อยละ 60 และเพศหญิงประมาณร้อยละ 40 ส่วนภาวะ
หยุดหายใจพบในเพศชายประมาณร้อยละ 4 และในเพศหญิง
ประมาณร้อยละ 2 เมื่ออร่างกายมีการหยุดหายใจบ่อยขณะนอน
หลับส่งผลต่อสุขภาพทางร่างกายหลายอย่าง เช่น ง่วงนอนมาก
ผิดปกติในช่วงกลางวัน ความจำถดถอย หรือเสี่ยงต่อภาวะ
แทรกซ้อนต่างๆ อย่างความดันในปอดสูงซึง่ เสี่ยงที่จะทำให้เกิด
ภาวะหัวใจล้มเหลวได้ ดังนัน
้ จึงควรลดการเกิดภาวะดังกล่าว ซึ่งมี
การรักษาแบ่งเป็ นการผ่าตัดอาจจะเป็ นทางเลือกสำหรับผู้ป่วยที่
พร้อมเข้ารับการรักษา ส่วนการไม่ผ่าตัดอาจทำได้โดยการลดน้ำ
หนัก การใช้เครื่องมือช่วย หรือการปรับเปลี่ยนท่าทางในการนอน
เป็ นต้น
ความรู้เบื้องต้น

พื้นฐานการนอนหลับในช่วง REM sleep จะมีความตึงตัวของ


กล้ามเนื้อลดลง โดยเฉพาพกล้ามเนื้อ genioglossus ทำให้ลน
ิ ้ ตกอยู่
ด้านหลัง เกิดการอุดกัน
้ ทางเดินหายใจได้ง่าย ทำให้เกิดการคั่ง
ของคาร์บอนไดออกไซด์สูงขึน
้ ในเลือด กระตุ้นการ chemoreceptor

ทำให้ผู้ป่วยสะดุ้งตื่นกลางดึก และการที่ออกซิเจนเข้าสู่ปอดลดลง
ยังทำให้เส้นเลือดที่ปอดหดตัวซึ่งเสีย
่ งทำให้เกิดความดันหลอด
เลือดปอดปอดสูงตามมา และอาจเกิดโรคหัวใจล้มเหลวได้

คำจำกัดความ

Pulmonary hypertension (ความดันหลอดเลือดปอดสูง) คือ


ภาวะที่หลอดเลือดในปอดมีความต้านทานเพิ่มขึน
้ ทำให้ความดัน
เฉลี่ยนหลอดเลือดแดงปอด(mean arterial pulmonary pressure;
mPAP) เท่ากับหรือสูงกว่า 25 มม.ปรอทขณะพักโดยวินิจฉัยได้จาก
การตรวจสวนหัวใจห้องขวา(right heart catheterization; RHC)

ภาวะความดันหลอดเลือดแดงปอดสูง (pulmonary arterial

hypertention;PAH) คือภาวะที่มีความดันเฉลี่ยหลอดเลือดแดงปอด
(mPAP) เท่ากับหรือสูงกว่า 25 มม.ปรอทขณะพัก โดยมีค่า
pulmonary capillary wedge pressure (PCWP) ไม่เกิน 15 มม.ปรอท มี
ค่า pulmonary vascular resistance (PVR) มากกว่า 3 wood units
วินิจฉัยได้จากกาตรวจสวนหัวใจห้องขวา (right heart
catheterization; RHC)

การวินิจฉัยความดันหลอดเลือดปอดสูง

Population : ผู้ป่วยเพศชายช่วงอายุ ที่มีภาวะการนอนกรน


หรือหยุดหายใจขณะนอนหลับ

Intervention : ท่าทางการนอน การนอนตะแคง

Comparison: ท่าทางการนอน การนอนหงาย


O: การนอนตะแคงในผู้ป่วยที่มีภาวะการนอนกรนหรือหยุด
หายใจขณะนอนหลับ สามารถลดการเกิดความดันหลอดเลือด
ปอดสูงได้แตกต่างกับการนอนหงาย

You might also like