Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 8

Review Article

ไมโครอิมัลชันทางเครื่องสําอางสําหรับเสนผม
Cosmetic Microemulsions for Hair
ประภาพร บุญมี1*, กฤติยา ศรีสุวรรณวิเชียร2 และ ณัฐธิดา ภัคพยัต1
1
ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
2
นักศึกษาชั้นปที่ 5 คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
* Corresponding author: prapaporn@pharmacy.psu.ac.th

บทคัดยอ
ไมโครอิมัลชันเปนรูปแบบผลิตภัณฑหนึ่งที่นิยมใชในอุตสาหกรรมเครื่องสําอางและเวชสําอาง ไดแก ผลิตภัณฑดูแลผิวหนังและเสนผม เนื่องจากเปนรูปแบบที่มี
ลักษณะสวยงาม สะดวกในการผลิตและการใช มีเสถียรภาพทางอุณหพลวัต และมีกําลังในการละลายสูง ในนิพนธปริทัศนนี้กลาวโดยสรุปเกี่ยวกับวงจรชีวิตและ
โครงสรางของเสนผม รวมถึงกลาวเนนเกี่ยวกับการประยุกตใชไมโครอิมัลชันในการตั้งสูตรตํารับเครื่องสําอางสําหรับเสนผม ไดแก ผลิตภัณฑทําความสะอาด
เสนผม ผลิตภัณฑบํารุงเสนผม ผลิตภัณฑจัดแตงทรงผม ผลิตภัณฑเปลี่ยนสีผม และผลิตภัณฑดัดผม
คําสําคัญ: ไมโครอิมัลชัน, เครื่องสําอาง, เสนผม, แชมพู, สีผม
ไทยเภสัชศาสตรและวิทยาการสุขภาพ 2553;5(2):185-192§

บทนํา
ไมโครอิมัลชัน (microemulsions; MEs, หรือ μe) เปน ตอเนื่องแบบคู (bicontinuous) ดังแสดงในรูปที่ 1 ซึ่งไมโคร-
ผลิ ต ภั ณ ฑ ข องเหลวที่ มี ลั ก ษณะเป น เนื้ อ เดี ย วใส ประกอบด ว ย อิมั ล ชั น ทุ ก ประเภทได รั บ ความนิ ย มในการศึ ก ษาวิ จั ย ทั้ ง ในเชิ ง
วัฏภาคน้ํา (water phase) และวัฏภาคน้ํามัน (oil phase) ซึ่งทําให คุณลักษณะและในเชิงประสิทธิภาพ เพื่อใชเปนตัวกลางในการ
เกิ ด เสถี ย รภาพโดยฟ ล ม ที่ ผิ ว ประจั น ของสารลดแรงตึ ง ผิ ว นําสงยาเขาสูรางกายทางตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งทางผิวหนัง1-7
(surfactant) โดยอาจเติ ม สารลดแรงตึ ง ผิ ว ร ว ม (cosurfactant) ปจจุบันพบวามีการประยุกตใชไมโครอิมัลชันในเครื่องสําอาง
ดวย เพื่อเพิ่มเสถียรภาพของระบบ โดยการเพิ่มความยืดหยุนใน และเวชสําอางสําหรับผิวหนังหลายชนิด เพื่อใหไดผลิตภัณฑที่มี
การโค ง ของฟ ล ม ที่ ผิ ว ประจั น ไมโครอิ มั ล ชั น จํ า แนกได เ ป น 3 คุณภาพดี มีประสิทธิภาพเชิงประจักษ และสนองตอบตอความ
ประเภท ตามลักษณะการกระจายตัวของวัฏภาคน้ําและวัฏภาค ตองการของผูบริโภค ซึ่งมีความคาดหวังตอผลลัพธจากการใช
น้ํามันในระบบ คือ ประเภทน้ํามันในน้ํา (oil-in-water; o/w หรือ เครื่องสําอางและเวชสําอางสูงขึ้น เหตุผลที่ทําใหไมโครอิมัลชัน
L1) ประเภทน้ําในน้ํามัน (water-in-oil, w/o หรือ L2) และประเภท เปนที่นิยมใชมากขึ้น ไดแก ไมโครอิมัลชันมีลักษณะที่ใสจึงดูนา

รูปที่ 1 แบบจําลองโครงสรางของไมโครอิมัลชัน: (ก) ประเภทน้ํามันในน้ํา (ข) ประเภทน้ําในน้ํามัน และ (ค) ประเภทตอเนือ่ งแบบคู

Thai Pharmaceutical and Health Science Journal, Vol. 5 No. 2, Apr. – Jun. 2010 185
ใช ดังตัวอยางในรูปที่ 2 โดยอาจนําไปใชในรูปหยด (drops) หรือ สํ า หรั บ ผิ ว หนั ง แล ว ไมโครอิ มั ล ชั น ยั ง ถู ก นํ า ไปประยุ ก ต ใ ช ใ น
สเปรย (sprays) หรือปรับรูปแบบโดยการเติมสารกอเจล (gelling เครื่องสําอางสําหรับเสนผมอยางกวางขวางดวย
agent) เพื่ อ เป น ผลิ ต ภั ณ ฑ กึ่ ง แข็ ง ในรู ป ไมโครอิ มั ล ชั น เจล
(microemulsion-based gel)
ไมโครอิ มั ล ชั น เป น ระบบที่ มี เ สถี ย รภาพทางอุ ณ หพลวั ต
(thermodynamic stability) จึงมีอายุคุณภาพสินคา (shelf life)
ยาวนาน ไมโครอิ มั ล ชั น สามารถเกิ ด ขึ้ น ได เ อง (spontaneous
formation) เมื่อระบบมีชนิดและความเขมขนของวัฏภาคน้ํา
วัฏภาคน้ํามัน สารลดแรงตึงผิว และสารลดแรงตึงผิวรวม (ถามี) ที่
เหมาะสม จึ ง ผลิ ต ได ง า ย การขยายกํ า ลั ง ผลิ ต จากระดั บ
หองปฏิบัติการไปสูระดับอุตสาหกรรมทําไดงาย ตัวอยางเชน ถา
ตองการเตรียมไมโครอิมัลชันที่ประกอบดวย Cetiol® OE (วัฏภาค
น้ํามัน), น้ํากลั่น (วัฏภาคน้ํา), Plantacare® 2000UP (สารลดแรง- รูปที่ 2 ลั ก ษณะที่ ม องเห็ น ด ว ยตาเปล า ของไมโครอิ มั ล ชั น :
ตึงผิว) และ Span® 20 (สารลดแรงตึงผิวรวม) สามารถทําไดโดย ประกอบดวย Cetiol® OE 6.33% w/w, น้ํากลั่น 40.43% w/w,
การผสมสารทั้ง 4 ชนิดนี้ในสัดสวนที่เหมาะสม นั่นคือในปริมาณที่ Plantacare® 2000UP 44.37% w/w และ Span® 20 8.87%
อยูในบริเวณที่เกิดไมโครอิมัลชัน (microemulsion region) ใน w/w
แผนภาพวัฏภาคไตรภาคเทียม (pseudoternary phase diagram)
(รูปที่ 3) กระบวนการผลิตใชเพียงการผสมธรรมดา (simple เสนผม (scalp hair) เปนสวนที่งอกพนหนังศีรษะมนุษย มี
mixing) ไมจําเปนตองใชพลังงานหรือเครื่องมือที่ซับซอน ไมโคร- หนาที่ปกปองหนังศีรษะจากแสงแดดและความเย็น อยางไรก็ตาม
อิมัลชันมีกําลังในการละลายสูง สงผลใหสามารถผสมเขากับสารได หน า ที่ นี้ ไ ม ไ ด สํ า คั ญ ในความคิ ด ของมนุ ษ ย ม ากนั ก แต บ ทบาท
หลากหลายทั้ ง สารที่ ช อบน้ํ า มั น และสารที่ ช อบน้ํ า รวมทั้ ง มี สําคัญกลับเปนการเสริมความงามและบุคลิกภาพ ดังนั้นสุขภาพ
โครงสรางระดับไมโคร (micro-structure) ที่ทําใหไมโครอิมัลชัน ผมที่ดี สะอาด เปนเงางาม และมีรูปทรงที่สวยงาม จึงเปนสิ่งพึง
สามารถนํ า ส ง สารสํ า คั ญ ทางเครื่ อ งสํ า อางและเวชสํ า อางเข า สู ปรารถนา สงผลใหเกิดการพัฒนาผลิตภัณฑเครื่องสําอางสําหรับ
ผิวหนังไดดีกวาตํารับในรูปแบบดั้งเดิม8-12 นอกจากเครื่องสําอาง เส น ผมที่ ห ลากหลาย รวมถึ ง การนํ า เทคโนโลยี ไ มโคร-

รูปที่ 3 แผนภาพวัฏภาคไตรภาคเทียมของระบบ: ประกอบดวย Cetiol®OE, น้ํากลั่น 40.43%, Plantacare®2000UP


และ Span®20 โดยบริเวณที่แรเงา หมายถึง บริเวณที่เกิดไมโครอิมัลชัน

186 Thai Pharmaceutical and Health Science Journal, Vol. 5 No. 2, Apr. – Jun. 2010
อิมัลชันมาใชดวย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ และเพื่อ โครงสรางของเสนผม
เป น ท า ง เ ลื อ กใ ห ม ใ ห แ ก ผู บริ โ ภ ค ซึ่ ง ส งผ ลถึ ง ก า ร เ พิ่ ม เมื่อนําเสนผมมาตัดตามขวาง พบวาแบงไดเปน 3 ชั้น13
ความสามารถในการเพิ่มสวนแบงทางการตลาดที่มีมูลคาสูงมาก ดังแสดงในแบบจําลองรูปที่ 4 เรียงจากชั้นนอกสุดมาในสุด ดังนี้
ในป ค.ศ. 1993 มีรายงานวามีการใชจายสําหรับแชมพู ผลิตภัณฑ 1. ผิวนอก (cuticle) ประกอบดวยเซลลที่มีลักษณะเปนแผน
บํารุงเสนผม และผลิตภัณฑจัดแตงทรงผมในสหรัฐอเมริกาและใน เรี ย งซอ นกั น คล ายกระเบื้ อ งมุง หลังคา โดยหุ ม รอบ ๆ เนื้ อ ของ
สหราชอาณาจักร รวมกันถึง 714 ลานปอนดตอป13 คอรเทกซ (cortical mass) เซลลผิวนอกแตละเซลลมีความหนา
ในนิ พ นธ ป ริ ทั ศ น นี้ ก ล า วโดยสรุ ป เกี่ ย วกั บ กายวิ ภ าคของ 0.5 - 1 ไมโครเมตรและยาวประมาณ 45 ไมโครเมตร ชั้นนี้มี
เส น ผม โดยครอบคลุ ม ถึ ง วงจรชี วิ ต และลั ก ษณะโครงสร า งของ บทบาทสําคัญในการปกปองเสนผม ถาเซลลในชั้นนี้เรียงตัวกัน
เสนผม และกลาวเนนเกี่ยวกับการประยุกตใชไมโครอิมัลชันในการ แนน จะทําใหเสนผมแลดูเรียบและเปนเงางาม ในทางตรงขาม ถา
ตั้งสูตรตํารับเครื่องสําอางสําหรับเสนผม ไดแก ผลิตภัณฑทําความ เซลลในชั้นนี้เปดออก จะมีผลใหเนื้อของคอรเทกซขาดสิ่งหุมและ
สะอาดเสนผม ผลิตภัณฑบํารุงเสนผม ผลิตภัณฑจัดแตงทรงผม แยกออกจากกัน ซึ่งเรียกโดยทั่วไปวาผมแตกปลาย เนื่องจากเปน
ผลิตภัณฑเปลี่ยนสีผม และผลิตภัณฑดัดผม สวนที่สามารถมองเห็นไดงาย แตอันที่จริงแลว เซลลของผิวนอก
อาจเปดออกที่สวนหนึ่งสวนใดของเสนผมก็ได และมีผลทําใหเนื้อ
วงจรชีวิตของเสนผม ของคอรเทกซที่บริเวณนั้นแยกออกจากกัน
มนุษยมีผมประมาณ 100,000-110,000 เสน เสนผมแตละ 2. คอรเทกซ (cortex) ประกอบดวยโครงสรางไฟเบอรรูป
เสนงอกยาวออกมาโดยเฉลี่ย 0.35 มิลลิเมตรตอวัน และอยูไดนาน กระสวย (spindle-shaped fibrous structures) ซึ่งมีความหนา 1 -
3 - 6 ป จากนั้นจะหลุดออกไปแลวมีผมเสนใหมขึ้นมาแทนที่ โดย 6 ไมโครเมตรและยาวประมาณ 100 ไมโครเมตร เรียงกันตามแนว
วงจรชีวิตของเสนผมแบงไดเปน 3 ระยะ13 ดังตอไปนี้ ยาว เปนชั้นที่มีสัดสวนมากที่สุดในเสนผม มีผลตอลักษณะตรง
1. ระยะเจริญเติบโต (anagen หรือ active growth phase) หรือหยิกของเสนผม นอกจากนี้ภายในชั้นนี้ยังประกอบดวยเม็ดสี
เปนระยะที่ผมงอกยาวจากเซลลตนกําเนิดของเสนผมที่เรียกวา 2 ชนิด คือ ยูเมลานิน (eumelanin) ซึ่งมีโทนสีน้ําตาลถึงดําและ
ปุมเล็ก (papilla) โดยมีการสังเคราะหโปรตีน (protein synthesis) ฟโอเมลานิน (pheomelanin) ซึ่งมีโทนสีแดง ปริมาณและการ
และการสรางเคอราทิน (keratinization) อยางตอเนื่อง เสนผมสวน กระจายตัวของเม็ดสี 2 ชนิดนี้สงผลใหเกิดเฉดสีผมที่แตกตางกัน
ใหญหรือประมาณ 90% ของเสนผมทั้งศีรษะอยูในระยะนี้ และผม 3. เมดัลลา (medulla) ประกอบดวยเซลลที่เรียงตัวกันอยาง
แตละเสนจะอยูในระยะนี้ประมาณ 3 - 6 ป หลวม ๆ และมีชองอากาศแทรก เปนชั้นที่มีสัดสวนนอยที่สุดใน
2. ระยะเปลี่ยนสถานะ (catagen หรือ transition phase) เปน เสนผม เปนชั้นที่ไมมีบทบาทสําคัญสําหรับมนุษย ในเสนผมและ
ระยะที่ ผ มหยุ ด งอก ฐานของต อ มรากผมเคลื่ อ นตั ว ขึ้ น มาบน ขนที่ออนและบางอาจไมพบเมดัลลา แตในเสนผมหรือขนที่หนามี
ผิวหนังศีรษะ และพรอมที่จะเขาสูระยะสุดทาย เสนผมประมาณ โอกาสพบเมดัลลาไดมากขึ้น
1 - 2% ของเสนผมทั้งศีรษะเทานั้นที่อยูในระยะนี้ โดยอยูใน
ระยะเวลาสั้นๆ เพียง 1 - 2 สัปดาห
3. ระยะสุดทาย (telogen หรือ resting phase) เปนระยะที่
ผมพร อมจะหลุ ด รว งออกจากหนั งศี รษะ เส น ผมประมาณ 10%
ของเสนผมทั้งศีรษะอยูในระยะนี้ โดยอาจอยูนาน 3 - 4 เดือน
จากนั้นหลุดรวงออกไปเอง หรือหลุดรวงเนื่องจากมีปจจัยภายนอก
ไปกระตุน เชน การหวีหรือแปรงผม ขณะเดียวกันที่ปุมเล็กมีการ
สรางและงอกยาวของผมเสนใหมขึ้นมาแทนที่
เส น ผมแต ล ะเส น อยู ใ นระยะต า ง ๆ ของวงจรชี วิ ต ไม
รูปที่ 4 แบบจําลองโครงสรางของเสนผมเมือ่ ตัดตามขวาง
เหมือนกัน ดังนั้นจึงมีอายุและการงอกยาวที่แตกตางกัน ทําใหไม
พบภาวะผลัดขน (ผม) ในมนุษย อยางไรก็ตาม มีปจจัยหลายอยาง
ที่สงผลกระทบต อวงจรชีวิตของเสนผม ทําใหเ กิดภาวะผมขาด การประยุ ก ต ใ ช ไ มโครอิ มั ล ชั น ในผลิ ต ภั ณ ฑ ทํ า ความ
หลุดรวงผิดปกติ ถารุนแรง อาจทําใหเกิดภาวะผมบางหรือศีรษะ สะอาดเสนผม
ล า นได ได แ ก ฮอร โ มน การขาดสารอาหาร โรคบางชนิ ด แชมพู เ ป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ทํ า ความสะอาดเส น ผมที่ ใ ช กั น ใน
ความเครียด มลภาวะ เปนตน ชีวิตประจําวัน และเปนผลิตภัณฑที่มีมูลคาทางการตลาดสูงที่สุด

Thai Pharmaceutical and Health Science Journal, Vol. 5 No. 2, Apr. – Jun. 2010 187
ในกลุ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ สํ า หรั บ เส น ผม แชมพู ไ ด รั บ ออกแบบให มี ในไมโครอิมัลชัน มีประสิทธิภาพดีในการทําใหเสนผมนุมลื่นและ
หลากหลายรูปแบบ เชน แชมพูใส แชมพูผสมครีมนวดผม แชมพู จัดทรงงายหลังสระ ขอดีประการหนึ่งของการคนพบนี้ คือ ซิลิโคน
ขจัดรังแค แชมพูสําหรับผมทําสี แชมพูสําหรับผมดัด เปนตน เพื่อ ที่ผานการควบคุ มขนาดอนุภ าคแล วช วยให การผสมซิลิ โคนกั บ
ตอบสนองความตองการของผูบริโภค การนําเทคโนโลยีไมโคร- สวนประกอบอื่น ๆ ในตํารับทําไดงาย โดยไมตองใชกระบวนการที่
อิมัลชันมาใชในการผลิตแชมพู เปนอีกแนวทางหนึ่งที่ไดรับความ ตองใชแรงเฉือนสูง (high shear processing) ตัวอยางสูตรตํารับ
นิยมในการพัฒนาตํารับแชมพู แสดงในสูตรตํารับที่ 3
Hloucha และคณะ14 ไดศึกษาประสิทธิภาพของแชมพูไมโคร-
อิมัลชันและกรีนแชมพูไมโครอิมัลชัน ซึ่งคําวา “กรีน (green)” ใน
สูตรตํารับที่ 1 แชมพูไมโครอิมัลชัน14
ที่นี้ หมายถึง ความเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยหลีกเลี่ยงการใช
สารที่มีหมู sulfate และ ethoxylate ในสูตรตํารับ การศึกษานี้ได % w/w
ประเมินคางานที่คางในการหวีผม (residual combing work) หรือ Sodium laureth sulfate 12.9
Cocamidopropyl betaine 7.5
สัดสวนระหวางแรงที่ใชในการหวีผมหลังและกอนการใชผลิตภัณฑ Dicaprylyl ether (and) coco glucoside (and) glyceryl oleate 0 - 6.0*
ที่ทดสอบ หากคานี้ต่ํา แสดงวามีความเสียดทานระหวางหวีและ Polyquaternium-10 0.2
PEG/PPG-120/10 trimethylpropane trioleate (and) laureth-2 1.44
เสนผมลดลง หรือแปลความไดวาการใชผลิตภัณฑที่ทดสอบทําให Sodium chloride 1.0
สภาพเสนผมเรียบรื่นขึ้น โดยในการศึกษานี้ เปรียบเทีย บ Fragrance Qs
Preservative qs
ประสิทธิภาพในการทําใหปอยผม (hair tresses) เรียบรื่นหลังสระ Citric acid qs
เมื่ อ สระด ว ยแชมพู ธ รรมดา (แชมพู ที่ ไ ม มี ไ มโครอิ มั ล ชั น เป น Water qs to 100.0
สวนประกอบ) กับเมื่อสระดวยแชมพูไมโครอิมัลชัน (แชมพูที่มี * แปรผันปริมาณ
ไมโครอิมัลชันเปนสวนประกอบ) ดังแสดงในสูตรตํารับที่ 1 และ
เมื่อสระดวยกรีนแชมพูธรรมดา (กรีนแชมพูที่ไมมีไมโครอิมัลชัน
สูตรตํารับที่ 2 กรีนแชมพูไมโครอิมัลชัน14
เป น ส ว นประกอบ) กั บ เมื่ อ สระด ว ยกรี น แชมพู ไ มโครอิ มั ล ชั น
% w/w
(กรีนแชมพูที่มีไมโครอิมัลชันเปนสวนประกอบ) ดังแสดงในสูตร
Decyl glucoside 15.4
ตํารับที่ 2 โดยแปรผันปริมาณของไมโครอิมัลชัน Dicaprylyl ether Sodium coco-sulfate 5.2
(and) coco glucoside (and) glyceryl oleate (Plantasil® Micro) Cocamidopropyl betaine 5.2
Dicaprylyl ether (and) coco glucoside (and) glyceryl oleate 0 - 18.0*
ต า ง ๆ กั น ผลลั พ ธ ที่ ไ ด บ ง บอกว า แชมพู ไ มโครอิ มั ล ชั น และ Hydroxypropyl guar hydroxypropytrimonium chloride 0.2
กรีนแชมพูไมโครอิมัลชันมีสามารถลดแรงเสียดทานระหวางหวี Xanthan gum 1.0
Fragrance qs
และเสนผมไดดีกวาแชมพูธรรมดาและกรีนแชมพูธรรมดา โดยผล Preservative qs
การลดแรงเสี ย ดทานระหว า งหวี แ ละเส น ผมของแชมพู ไ มโคร- Citric acid qs
อิมัลชันและกรีนแชมพูไมโครอิมัลชันเห็นไดเดนชัดมากขึ้น เมื่อใน Water qs to 100.0
* แปรผันปริมาณ
ตํารับมีปริมาณของไมโครอิมัลชัน Dicaprylyl ether (and) coco
glucoside (and) glyceryl oleate ที่สูงขึ้น เนื่องจากไมโครอิมัลชัน
ทําใหเซลลผิวนอกของเสนผมปดเรียบมากขึ้น จึงทําใหปอยผม สูตรตํารับที่ 3 ตัวอยางสูตรตํารับแชมพูที่ประกอบดวยซิลิโคนใน
เรียบรื่นขึ้น นอกจากนี้ไมโครอิมัลชันยังมีผลตอความคงตัวของ รูปอิมัลชันและไมโครอิมัลชัน15
กรีนแชมพูดวย โดยพบวาสูตรตํารับที่ 2 ไมสามารถเตรียมเปน % w/w
กรีนแชมพูที่คงตัวไดถาไมมีไมโครอิมัลชันในตํารับ Sodium lauryl ether sulfate 2EO 12.0
นอกจากผลงานวิจัยในตัวอยางขางตนแลว ยังพบสิทธิบัตร Cocamidopropyl betaine 1.0
Guar hydroxypropyltrimonium chloride 0.1
เกี่ยวกับการนําเทคโนโลยีไมโครอิมัลชันมาใชในการผลิตแชมพู Cross-linked polyacrylate 0.5
ตั ว อย า งเช น Gallagher และคณะ 15 ค น พบว า แชมพู ที่ Silicone emulsion 0.83
Silicone microemulsion 1.6
ประกอบด ว ยน้ํ า สารลดแรงตึ ง ผิ ว ที่ มี ฤ ทธิ์ ทํ า ความสะอาด Zinc pyrithione 0.625
(cleansing surfactant) พอลิ เ มอร ที่ มี ป ระจุ บ วก (cationic Sodium chloride 2.0
deposition polymer) และซิลิโคน (silicone) ในรูปของของผสมทีม่ ี DL-panthenol 0.1
Vitamin E acetate 0.05
ขนาดอนุภาคระหวาง 0.15 ถึง 30 ไมโครเมตร ซึ่งกระจายตัวใน Preservative, pH adjuster, color, fragrance qs
อิมัลชัน กับขนาดอนุภาคเล็กกวา 0.10 ไมโครเมตร ซึ่งกระจายตัว Water to 100.0

188 Thai Pharmaceutical and Health Science Journal, Vol. 5 No. 2, Apr. – Jun. 2010
การประยุกตใชไมโครอิมัลชันในผลิตภัณฑบํารุงเสนผม สูตรตํารับที่ 4 ผลิตภัณฑสําหรับบํารุงเสนผม ซึ่งใชในการศึกษา
Ostergaard และคณะ16 ไดรายงานเกี่ยวกับการประยุกตใช ของ Ostergaard และคณะ16
พอลิ เ มอร ซิ ลิ โ คนในรู ป แบบใหม คื อ silicone quaternary % w/w
microemulsion ซึ่งเปนไมโครอิมัลชันที่มี silicone quaternium-16 ก. Hydroxyethyl cellulose 1.5
Water, deionized 50.0
เปนสวนประกอบ ในผลิตภัณฑสําหรับบํารุงเสนผม โดยปกติสาร Cetrimonium chloride 0.3
silicone quaternium-16 เปนพอลิเมอรที่มีความหนืดสูง ทําให ข. Cetyl alcohol 1.0
ผสมเขากับตํารับตาง ๆ ไดยาก ซึ่งแกไขไดโดยละลายพอลิเมอรนี้ Benzophenone-3 1.0
ค. Silicone actives 2.0
ในตั ว ทํ า ละลายที่ ไ ด รั บ การยอมรั บ ทางเครื่ อ งสํ า อาง เช น 2- ง. Water, deionized up to 100.0
butyloctanol เพื่อลดความหนืดลง จากนั้นนําไปผสมกับตํารับที่มี Phenoxyethanol (and) paraben 0.1
Tocopherol acetate 0.1
น้ําเปนพื้น (water-based formulation) จะไดไมโครอิมัลชันใสที่มี Glycerin 1.0
พอลิเมอรนี้อยู 23% นําไมโครอิมัลชันที่ไดไปผสมในผลิตภัณฑ จ. Citric acid qs to pH 3.5
สําหรับบํารุงเสนผมในสูตรตํารับที่ 4 ซึ่งเปนตํารับครีมนวดผมทีย่ ดื
ระยะเวลาติดสียอมผม (color retention conditioner) จากนั้น นอกจากนี้คณะผูวิจัยกลุมนี้16 ยังไดคนพบวา silicone
นํ า ไปทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพในการยื ด ระยะเวลาติ ด สี ย อ มผม quaternary microemulsion สามารถทําใหเสนผมแลดูมีน้ําหนัก
เปรียบเทียบกับตํารับควบคุมที่ไมมีซิลิโคนและตํารับที่ใชซิลิโคนใน และลดแรงเสี ย ดทานระหว า งหวี แ ละเส น ผม เมื่ อ ผสมในตํ า รั บ
รูปแบบอื่น นั่นคือ silicone elastomer และ amino silicone ผลิตภัณฑสําหรับบํารุงเสนผมที่เหมาะสม
วิธีการเตรียมผลิตภัณฑสําหรับบํารุงเสนผมในสูตรตํารับที่ 4 ทํา Bergmann และคณะ17 ไดจดสิทธิบัตรไมโครอิมัลชันสําหรับ
โดยผสมสารในกลุม ก. เขาดวยกัน ใหความรอนจนถึง 75 oซ บํ า รุ ง เส น ผมที่ ป ระกอบด ว ยสารประกอบที่ มี ห มู อ ะมิ โ นและไม
จากนั้นผสมสารในกลุม ข. ลงในสารในกลุม ก. คนจนหลอมเขา ละลายน้ํา (water-insoluble amino-containing compound) เชน
ดวยกันและคนตอเนื่องจนอุณหภูมิลดลงเหลือ 40 oซ เติมสารใน เอมีน (amine) หรือซิลิโคนที่มีหมูอะมิโน (amino functionalized
กลุม ค. ลงไป เมื่อผสมใหเขากันดีแลวเติมสารในกลุม ง. ลงไป silicone) เกลือโลหะที่แตกตัวได (ionizable metal salt) โดยมี
ผสมใหเขากัน แลวปรับ pH ดวยสารในกลุม จ. การทดสอบ วาเลนซีอยางนอย 2 เชน magnesium chloride หรือ zinc
ประสิทธิภาพในการยืดระยะเวลาติดสียอมผมทําโดยการนําปอย chloride และสารประกอบเอสเทอร (ester compound) พบวา
ผมที่ผานการยอมดวยสียอมผมถาวร (permanent hair colorant) ไมโครอิมัลชันที่ไดมี pH ต่ํากวา 7 มีขนาดอนุภาคในชวงประมาณ
มาสระดวยแชมพูที่ไมมีซิลิโคนเปนสวนประกอบ แลวนวดปอยผม 0.1 ถึง 250 นาโนเมตร สามารถเกาะติดผมไดดีขึ้นและนานขึ้น
ที่ผานการสระแลวดวยผลิตภัณฑสําหรับบํารุงเสนผม 4 ชนิด คือ ชวยใหหวีผมทั้งขณะเปยกและแหงงายขึ้น ทําใหจัดทรงผมไดงาย
ผลิ ต ภั ณ ฑ สํ า หรั บ บํ า รุ ง เส น ผมที่ มี silicone quaternary เขารูปทรงและเปนเงางาม โดยสามารถนําไปใชในตํารับผลิตภัณฑ
microemulsion ผลิตภั ณฑ สําหรับบํ ารุง เสนผมที่ มี silicone ดู แ ลเส น ผมได ห ลากหลาย เช น แชมพู บํ า รุ ง ผม (conditioning
elastomer ผลิตภัณฑสําหรับบํารุงเสนผมที่มี amino silicone และ shampoos) ครี ม นวดผม (conditioners) มู ส (mousses) โลชั น
ผลิตภัณฑสําหรับบํารุงเสนผมที่ไมมีซิลิโคน (ตํารับควบคุม) แลว (lotions) สเปรย (sprays) และเจล (gels) เปนตน
ล า งออกแล ว ปล อ ยให ป อยผมแห ง จากนั้ น นํ า ไปสั ม ผั ส กั บ แสง ไมโครอิ มั ล ชั น ของซิ ลิ โ คนที่ มี ห มู อ ะมิ โ น (aminofunctional
อัลตราไวโอเลตเปนเวลา 7 ชั่วโมง แลวนําปอยผมไปวัดคา UE silicone microemulsions) สามารถนําไปใชเปนสวนประกอบใน
หรือ ปริมาณของสีที่เปลี่ยนไป ดวยเครื่อง spectrophotometer- ตํารับผลิตภัณฑสําหรับบํารุงเสนผมที่มีลักษณะใส (optically clear
colorimeter ผลการศึกษาพบวาผลิตภัณฑสําหรับบํารุงเสนผมที่มี hair conditioning compositions) โดยผสมไมโครอิมัลชันกับเกลือ
silicone quaternary microemulsion เปนสวนประกอบ ใหคา UE long-chain quaternary amine salt อยางนอยหนึ่งชนิดและน้ํา18
ต่ํ า กว า หรื อ สามารถยื ด ระยะเวลาติ ด สี ย อ มปอยผมได ดี ก ว า
ผลิตภัณฑสําหรับบํารุงเสนผมที่มี silicone elastomer ผลิตภัณฑ การประยุกตใชไมโครอิมัลชันในผลิตภัณฑจัดแตงทรง
สําหรับบํารุงเสนผมที่มี amino silicone และผลิตภัณฑสําหรับ ผม
บํารุงเสนผมที่ไมมีซิลิโคน (กลุมควบคุม) ตามลําดับ โดยผลการ ผลิตภัณฑจัดแตงทรงผมมักทําใหเสนผมแลดูแข็งตึง (stiff)
ยืดระยะเวลาติดสียอมปอยผมของผลิตภัณฑสําหรับบํารุงเสนผมที่ และเหนียว (sticky) Peffly และ Merritt19 คนพบวาผลิตภัณฑจัด
มี silicone quaternary microemulsion เห็นไดเดนชัดมากขึ้น แตงทรงผมที่ประกอบดวย polyorganosiloxane microemulsion
หลังจากที่ปอยผมไดรับการสระและนวดซ้ํามากครั้งขึ้น สามารถลดปญหานี้ได โดย polyorganosiloxane microemulsion

Thai Pharmaceutical and Health Science Journal, Vol. 5 No. 2, Apr. – Jun. 2010 189
ประกอบดวยอนุภาค polyorganosiloxane ที่มีขนาดเล็กกวา 150 สูตรตํารับที่ 6 น้ํายาสียอมผม23
นาโนเมตร ระบบสารลดแรงตึ ง ผิ ว และระบบตั ว ทํ า ละลาย % w/w
กระจายตัวในไมโครอิมัลชัน Ammonium lauryl sulfate 2.00
นอกจากนี้ ยั ง พบการนํ า เทคโนโลยี ไ มโครอิ มั ล ชั น มาใช ใ น Propylene glycol 4.00
Ethoxydiglycol 2.00
ผลิ ต ภั ณ ฑ จั ด แต ง ทรงผมรู ป แบบต า ง ๆ เช น ในรู ป สเปรย 20,21 Monoethanolamine 5.00
Berthiaume และ Merrifield22 ไดจดสิทธิบัตรตํารับไมโครอิมัลชัน Seaweed extract 0.80
EDTA 0.80
ที่ประกอบดวยอะมิโนซิลิโคนที่มีความหนืดสูง (high viscosity Isoascorbic acid 0.20
amino silicone fluids) สารลดแรงตึงผิวที่มีอุณหภูมิในการกลับ Sodium sulfite 0.50
Primary intermediates and couplers 5.00
วัฏภาคสูง (high phase inversion temperature) และน้ํา ซึ่ง Oleic acid 12.50
ไมโครอิมัลชันนี้สามารถนํามาใชประโยชนไดหลากหลาย เชน ใช Cetearyl alcohol 4.00
ในผลิตภัณฑจัดแตงทรงผมในรูปแบบมูสหรือเจลแตงผม ใชใน Emulsifying wax 2.00
Oleth-20 1.00
ผลิตภัณฑดูแลผิวพรรณ รวมถึงใชในเครื่องสําอางแตงแตมสีสัน Steareth-21 0.70
(color cosmetics) Meadowfoam seed oil 0.75
Oleyl alcohol 0.40
Polyquaternium-10 0.20
การประยุกตใชไมโครอิมัลชันในผลิตภัณฑเปลี่ยนสีผม Polyquaternium-28 0.50
Mica/titanium dioxide 0.30
น้ํายายอมสีผมชนิดถาวรโดยทั่วไปมักมีสาร 2 ขวดรวมกันอยู Hydrolyzed wheat protein 1.00
ในกล อ งเดี ย ว ขวดหนึ่ ง เป น น้ํ า ยาสี ย อ ม อี ก ขวดเป น oxidizing Sodium isobutyl benzotriazole sulfonate 1.00
Fragrance 0.75
agent ซึ่งสารที่นิยมใช คือ ไฮโดรเจนเปอออกไซด (hydrogen Ammonium hydroxide 5.00
peroxide) เวลาใช ผ ลิ ต ภั ณ ฑ จ ะต อ งผสมน้ํ า ยาทั้ ง 2 ขวดเข า Wheat amino acids 1.00
Water qs
ดวยกันกอนแลวจึงนํามาทาที่เสนผม ทิ้งไวประมาณ 20 ถึง 60
นาที ลางออกด วยน้ํา ซึ่ง ขั้น ตอนดังกลาวตอ งใชเวลานาน
Narasimhan และคณะ23 ไดคิดคนตํารับไมโครอิมัลชันชนิดน้ําใน สูตรตํารับที่ 7 สารละลายดางที่ใชในการฟอกสีผม23
น้ํามันของสารไฮโดรเจนเปอรออกไซด (w/o microemulsion
% w/w
peroxide composition) ซึ่งประกอบดวยวัฏภาคน้ํา 1 - 99% โดย Erythrobic acid 0.20
กระจายตัวอยูเปนหยดเล็ก ๆ ขนาดอนุภาค 100 ถึง 1,500 Sodium sulfite 0.50
Propylene glycol 4.00
อังสตรอม วัฏภาคน้ํามัน 0.1 - 75% และสารลดแรงตึงผิวอินทรีย Ethoxydiglycol 2.00
(organic surfactant) 1 - 65% ผลิตภัณฑนี้ชวยใหผูใชสามารถทํา Tetrasodium EDTA (38% aqueous solution) 0.80
การยอมสีหรือฟอกสีผมไดภายใน 5 ถึง 10 นาที ซึ่งทําใหผูบริโภค Ethanolamine 5.00
Hypnea musciformis extract / gellidiela acerosa extract / 0.80
มีความพึงพอใจเพราะงายตอการใช เชน เมื่อผสมไมโครอิมัลชัน sargassum filipendula extract / sorbitol
ชนิดน้ําในน้ํามันของสารไฮโดรเจนเปอออกไซดดังตัวอยางในสูตร Sodium benzotriazole sulfonate/ buteth-3/ propane tricarboxylic acid 1.00
ตํารับที่ 5 ในปริมาณ 1.5 สวน กับน้ํายาสียอมผมดังตัวอยางใน Ammonium lauryl sulfate (28% aqueous solution) 2.00
Oleic acid 12.50
สูตรตํารับที่ 6 ในปริมาณ 1 สวน ทาบนเสนผมสีน้ําตาลออน Cetearyl alcohol 4.00
ธรรมชาติ (natural light brown hair) แลวทิ้งไว 5 นาที ลางออก Emulsifying wax 2.00
Oleth-20 1.00
Stearath-21 0.70
สูตรตํารับที่ 5 ไ ม โ ค ร อิ มั ล ชั น ช นิ ด น้ํ า ใ น น้ํ า มั น ข อ ง ส า ร Meadowfoam seed oil 0.75
Oleyl alcohol 0.40
ไฮโดรเจนเปอออกไซด23 Polyquaternium-10 0.20
% w/w Polyquaternium-28 0.50
Mica/titanium dioxide (67:33) 0.30
Water 12.0 Hydrolyzed wheat protein 1.00
Hydrogen peroxide (35% aqueous solution) 18.0
Tween 80 30.0 Wheat amino acids 1.00
Isopropyl myristate 20.0 Fragrance 0.75
Benzyl alcohol 15.0 Ammonium hydroxide (27.5% aqueous solution) 5.00
Water qs
Ethoxy diglycol 5.0

190 Thai Pharmaceutical and Health Science Journal, Vol. 5 No. 2, Apr. – Jun. 2010
ดวยน้ํา จะทําใหไดสีผมที่แลดูสวางขึ้นและมีหลายเฉด (lightened สรุป
several shades) นอกจากนี้ในกรณีที่ตองการฟอกสีผม สามารถ การนําเทคโนโลยีไมโครอิมัลชันมาใชในเครื่องสําอางสําหรับ
ทําไดโดยผสมไมโครอิมัลชันชนิดน้ําในน้ํามันของสารไฮโดรเจน เสนผมมีแนวโนมไดรับความนิยมมากขึ้น เนื่องจากมีประสิทธิภาพ
เปอออกไซดดังตัวอยางในสูตรตํารับที่ 5 ในปริมาณ 1.5 สวน กับ เชิงประจักษ เชน การนําไมโครอิมัลชันมาใชในผลิตภัณฑทําความ
สารละลายดางดังตัวอยางในสูตรตํารับที่ 7 ในปริมาณ 1 สวน ทา สะอาดเสนผม ชวยลดแรงในการแปรงผมทั้งขณะผมเปยกและ
บนเสนผมสีน้ําตาล (brown hair) แลวทิ้งไว 5 ถึง 10 นาที ลาง ผมแหง ใชในผลิตภัณฑบํารุงเสนผมชวยเพิ่มความมีน้ําหนัก ชวย
ออกดวยน้ํา จะทําใหไดสีผมที่แลดูสวางขึ้นเทียบเทากับการฟอกสี ใหสีผมที่ผานการทําสีติดทนขึ้น และชวยใหผมสวยงามขึ้น บํารุง
ดวยตํารับฟอกสีผมดั้งเดิม 45 นาที เสนผมไดดี ในผลิตภัณฑจัดแตงทรงผมชวยใหจัดทรงผมไดงาย
โดยไมทําใหแลดูแข็งตึงหรือเหนียว ในผลิตภัณฑเปลี่ยนสีผมชวย
การประยุกตใชไมโครอิมัลชันในผลิตภัณฑดัดผม ลดระยะเวลาในการยอมหรือฟอกสีผม และในผลิตภัณฑดัดผม
หลักการในการดัดผม คือ การทําใหพันธะ disulfide bond ใน สามารถนําสงสารสําคัญในการดัดผม คือ thioglycolic acid เขาสู
เสนผมแตกออก ดวยสาร reducing agent เชน thioglycolic acid, เสนผมได ดังนั้นไมโครอิมัลชันทางเครื่องสําอางสําหรับเสนผมจึง
ammonium thioglycolate เปนตน จากนั้นมวนผมใหหยิกเปน เปนอีกทางเลือกหนึ่งสําหรับผูผลิตในการตั้งสูตรตํารับรูปแบบใหม
ลอนตามตองการ แลวทําใหเกิดพันธะ disulfide bond ใหมดวย ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเชิ ง ประจั ก ษ และสามารถตอบสนองความ
oxidizing agent เชน ไฮโดรเจนเปอออกไซด เพื่อใหไดผมหยิกที่ ตองการของผูบริโภค ปจจุบันพบวามีรายการสิทธิบัตรที่เกี่ยวกับ
คงรูป24 ดังแสดงในแบบจําลองรูปที่ 5 ไมโครอิ มั ล ชั น ทางเครื่ อ งสํ า อางสํ า หรั บ เส น ผมจํ า นวนมาก
พอสมควร โดยพบสิ ท ธิ บั ต รเกี่ ย วกั บ ไมโครอิ มั ล ชั น ทาง
เครื่องสําอางสําหรับเสนผมมากกวา 3,200 เรื่อง (สืบคนที่
www.freepatentsonline.com ณ เดื อ นพฤษภาคม พ.ศ. 2553)
รวมถึงมีผลิตภัณฑไมโครอิมัลชันทางเครื่องสําอางสําหรับเสนผม
จําหนายทางการคาหลากหลายยี่หอ ซึ่งแสดงใหเห็นถึงแนวโนม
ความเปนไปไดในการนําเทคโนโลยีไมโครอิมัลชันมาประยุกตใชใน
เครื่องสําอางสําหรับเสนผมในเชิงพาณิชย

เอกสารอางอิง
1. Junyaprasert VB, Boonme P. Microemulsions for topical drug
delivery. J Ind Pharm 2002;5:21-29.
รูปที่ 5 แบบจําลองกระบวนการดัดผม 2. Boonme P, Songkro S, Junyaprasert VB. Effects of polyhydroxy
compounds on the formation of microemulsions of isopropyl
Solans และคณะ25 ไดสรางแผนภาพวัฏภาคไตรภาคเทียม myristate, water and Brij®97. Mahidol Univ J Pharm Sci 2004;31:8-
13.
ของระบบที่ประกอบดวยน้ํา, sodium dodecylsulfate, n-
3. Boonme P, Krauel K, Graf A, Rades T, Junyaprasert VB.
pentanol, n-dodecane โดยมี thioglycolic acid ความเขมขน 3% Characterization of microemulsion structures in the pseudoternary
โดยน้ําหนักเปนสารสําคัญ พบวาไมโครอิมัลชันชนิดน้ําในน้ํามัน phase diagram of isopropyl palmitate/water/Brij 97:1-butanol.
จากระบบนี้สามารถนําสงสาร thioglycolic acid เขาสูเสนผมได AAPS PharmSciTech 2006;7:Article 45.
และไดรายงานวาสัดสวนของสวนประกอบในระบบ เชน สัดสวน 4. Boonme P, Krauel K, Graf A, Rades T, Junyaprasert VB.
ของวัฏภาคน้ํา วัฏภาคน้ํามัน และสารลดแรงตึงผิว มีผลกระทบตอ Characterisation of microstructures formed in isopropyl
palmitate/water/Aerosol®OT:1-butanol (2:1) system. Pharmazie
ความไวปฏิกิริยา (reactivity) ของ cystine ภายในเสนผม25,26 ซึ่ง
2006;61:927-932.
cystine เปนกรดอะมิโนที่สําคัญตอลักษณะโครงสรางของเสนผม 5. Junyaprasert VB, Boonme P, Songkro S, Krauel K, Rades T.
เนื่องจากเปนสารที่ใหหมูซัลเฟอรในการเกิดพันธะ disulfide bond Transdermal delivery of hydrophobic and hydrophilic local
ดังนั้นไมโครอิมัลชันจึงอาจเปนทางเลือกอีกรูปแบบหนึ่งสําหรับ anesthetics from o/w and w/o Brij 97-based microemulsions. J
ประยุกตใชในผลิตภัณฑดัดผม Pharm Pharmaceut Sci 2007;10:288-298.

Thai Pharmaceutical and Health Science Journal, Vol. 5 No. 2, Apr. – Jun. 2010 191
6. Junyaprasert VB, Boonme P, Wurster DE, Rades T. Aerosol OT 16. Ostergaard T, Gomes A, Quackenbush K, Johnson B. Silicone
microemulsions as carriers for transdermal delivery of hydrophobic quaternary microemulsion: a multifunctional product for hair care.
and hydrophilic local anesthetics. Drug Deliv 2008;15:323-330. Cosmetics & Toiletries 2004;119:45-52.
7. ประภาพร บุญมี. ไมโครอิมัลชัน. วารสารสมาคมสงเสริมการวิจัย 2553; 17. Bergmann W, Bees J. Hair-treating microemulsion composition
1:7-15. and method of preparing and using the same. US Patent 5077040
8. Boonme P. Applications of microemulsions in cosmetics. J Cosmet 1991.
Dermat 2007;6:223-228. 18. Halloran DJ. Optically clear hair conditioning aminofunctional
9. Junyaprasert VB, Boonsaner P, Leatwimonlak S, Boonme P. silicone microemulsion. US Patent 6147038 2000.
Enhancement of the skin permeation of clindamycin phosphate by 19. Peffly MM, Merritt JR. Personal care compositions. US Patent
Aerosol OT/1-butanol microemulsions. Drug Dev Ind Pharm 5997886 1999.
2007;33:874-880. 20. Malawer EG, Narayanan KS, Cullen JP, Rocafort CM. 0% VOC,
10. Boonme P. Uses of microemulsions as novel vehicles in skin care single phase hair spray composition. US Patent 5458871 1995.
products. HPC Today 2009;3:18-20. 21. Malawer EG, Narayanan KS, Cullen JP, Rocafort CM. Low VOC
11. Boonme P, Junyaprasert VB, Suksawad N, Songkro S. Micro- hair spray composition. US Patent 5597551 1997.
emulsions and nanoemulsions: novel vehicles for whitening 22. Berthiaume MD, Merrifield JH. Microemulsions for high viscosity
cosmeceuticals. J Biomed Nanotech 2009;5:373-383. amino silicone fluids and gums and their preparation. US Patent
12. Souto EB, Boonme P. Nanoemulsions and lipid nanoparticles 5578298 1996.
based gels for transdermal active pharmaceutical ingredients 23. Narasimhan S, Chan AC, Duffer DI, Hawkins GR. Water in oil
delivery. In Bukowskiy LF, (Ed.). Skin Anatomy and Physiology microemulsion peroxide compositions for use in coloring hair and
Research Developments. New York. Nova Science Publishers, related methods. US Patent 6315989 2001.
2009. pp. 1-24. 24. Hefford B. Hair products. Luton. Society of Cosmetic Science,
13. Rushton H. Hair structure. Luton. Society of Cosmetic Science, 2008.
2008. 25. Solans C, Parra JL, Erra P, Azemar N, Clausse M, Touraud D.
14. Hloucha M, Hake H, Pellon G. Green microemulsion for improved Influence of microemulsion structure on cystine reactivity with
conditioning performance of shampoos. Cosmetics & Toiletries keratin fibres. Int J Cosmet Sci 1987;9215-9222.
2009;124:58-69. 26. Erra P, Solans C, Azemar N, Parra JL, Touraud D, Clausse M.
15. Gallagher P, Kreu-Nopakun T, Murray AM. Shampoo composition Reactivity of hair cystine in microemulsion media. Int J Cosmet Sci
comprising and emulsified silicone an a microemulsified silicone. 1990;12:71-80.
US Patent 6706258 2004.

____________________________________________________________________________________________________________________________________

Review Article

Cosmetic Microemulsions for Hair


Prapaporn Boonme1*, Kritiya Srisuwanvichien2 and Natthida Pakpayat1
1
Department of Pharmaceutical Technology, Faculty of Pharmaceutical Sciences, Prince of Songkla University
2 th
5 Year Student, Faculty of Pharmaceutical Sciences, Prince of Songkla University
* Corresponding author: prapaporn@pharmacy.psu.ac.th

ABSTRACT
Microemulsions are one of favorite product forms used in cosmetic and cosmeceutical industries such as skin-care and hair-care products. This is
because microemulsions possess aesthetic appearance, ease of preparation, thermodynamic stability and high solubilization power. In this review
article, life cycle and structure of scalp hair were briefed. In addition, applications of microemulsions in hair-care products such as hair-cleaning
products, hair-treatment products, hair-styling products, hair-colorant products and hair-perm products were focused.
Key words: microemulsions, cosmetic, scalp hair, shampoo, hair color
Thai Pharm Health Sci J 2010;5(2):185-192

192 Thai Pharmaceutical and Health Science Journal, Vol. 5 No. 2, Apr. – Jun. 2010

You might also like