Book Equilibrium

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

105

บทที$ 11
สมดุลเคมี

วัตถุประสงค์
1. เพื$อศึกษาอิทธิพลของความเข้มข้นและอุณหภูมิที$มีต่อปฏิกิริยาในภาวะสมดุล
2. เพื$อศึกษาสมดุลของเกลือที$ละลายนํHาได้นอ้ ย และสมดุลของไอออนเชิงซ้อน
3. เพื$อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ กับค่าคงตัวสมดุล และเอ็นทัลปี (enthalpy) ของ
ปฏิกิริยา

บทนํา
สมดุลเคมีเกิดขึHนในปฏิกิริยาที$ผนั กลับได้ และอยูใ่ นระบบปิ ด พิจารณาสมการ
aA(aq) + bB(aq) cC(aq) + dD(aq) .................(11.1)
เมื$อ A, B, C, D เป็ นโมเลกุลหรื อไอออนในสารละลาย a, b, c และ d เป็ นเลขสัมประสิ ทธิSแสดง
ปริ มาณสัมพันธ์ของสาร A, B, C และ D ตามลําดับ
ที$ภาวะสมดุลผลคูณของความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ หารด้วยผลคูณของความเข้มข้นของสารตัHง
ต้นที$เหลือ ความเข้มข้นแต่ละค่ายกกําลังด้วยเลขสัมประสิ ทธิSหน้าสารนัHน ๆ ในสมการที$ดุลแล้ว จะมี
ค่าคงที$เสมอเมื$ออุณหภูมิคงที$ ค่าคงที$นH ีคือค่าคงตัวสมดุล (equilibrium constant) หรื อ K
[C] c [D] d
K =
[A] a [B] b
[ ] คือความเข้มข้นของสารที$ภาวะสมดุล หน่วยเป็ น mol dm–3
ถ้ามีการกระทําบางอย่างที$เป็ นการรบกวนภาวะสมดุลของปฏิกิริยา เช่น การเพิ$มหรื อลดความ
เข้มข้นของสารใดสารหนึ$งในระบบ การเปลี$ยนอุณหภูมิหรื อความดัน ระบบจะปรับตัวไปในทิศทางที$ทาํ
ให้ปั จจัยที$ รบกวนนัHน ลดลง โดยเกิ ดปฏิ กิริยาไปข้างหน้ามากขึH น หรื อเกิ ดปฏิ กิริยาผัน กลับ มากขึH น
จนกระทั$ง อัต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าทัHง สองทิ ศ ทางเท่ า กัน ระบบกลับ เข้า สู่ ภ าวะสมดุ ล อี ก ครัH งหนึ$ ง
ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ส่ ว นใหญ่ เป็ นปฏิ กิ ริ ย าดู ด ความร้ อ น หรื อ ปฏิ กิ ริ ย าคายความร้ อ น ในการ
เปลี$ยนแปลงอุณหภูมิให้แก่ระบบอาจพิจารณาได้ 2 ลักษณะ
106

1. การเปลี$ยนแปลงความร้อนให้แก่ระบบแบบชัว$ คราว เมื$อเริ$ มเพิ$มหรื อลดอุณหภูมิให้แก่ระบบ


ระบบจะพยายามปรับตัวเข้าสู่ สมดุลใหม่โดยเกิดปฏิกิริยาไปข้างใดข้างหนึ$งมากขึHน จนกระทัง$ อุณหภูมิ
ของระบบมีค่าเท่าเดิม กรณี นH ีค่าคงตัวสมดุลของระบบมีค่าเท่าเดิม
2. การเปลี$ยนแปลงความร้อนให้แก่ระบบแบบถาวร ในการเปลี$ยนแปลงความร้อนแบบถาวรนีH
นอกจากระบบจะต้องปรับตัวเพื$อเข้าสู่ ภาวะสมดุลใหม่แล้ว ค่าคงตัวสมดุลของระบบยังจะเปลี$ยนแปลง
ไปด้วย ค่าคงตัวสมดุลของระบบที$เปลี$ยนแปลงไปจะมีค่ามากหรื อน้อยขึHนอยูก่ บั เอ็นทัลปี (DH) ของ
ปฏิ กิริยา สําหรั บปฏิ กิริยาดู ดความร้ อน (DH เป็ นบวก) การเพิ$ มอุณหภู มิจะทําให้ค่าคงตัวสมดุ ลของ
ระบบเพิ$มขึHน ส่ วนปฏิกิริยาคายความร้อน (DH เป็ นลบ) การเพิ$มอุณหภูมิจะทําให้ค่าคงตัวสมดุลของ
ระบบลดลง
มีเกลือบางชนิดละลายนํHาได้นอ้ ย ที$ภาวะสมดุลจะมีสมดุลระหว่างไอออนที$เกิดจากการแตกตัว
ของเกลือส่ วนที$ละลายไปกับเกลือส่ วนที$ไม่ละลาย
พิจารณาสมดุลในสารละลายอิ$มตัวของเกลือที$ละลายนํHาได้นอ้ ย B3A2
B3A2(s) 3B2+(aq) + 2A3–(aq) ....................(11.2)
[B2+]3 [A3– ]2
K =
[B3A2(s)]
K [B3A2(s)] = [B2+]3[A3– ]2
แต่ความเข้มข้นของของแข็งเป็ นค่าคงที$ เมื$อคูณกับค่า K จึงได้ค่าคงที$อีกค่าหนึ$งเรี ยกว่า ค่าคงตัวผลคูณ
สภาพละลายได้ (solubility product constant) หรื อ Ksp
\ Ksp = [B2+] 3 [A3– ] 2 ....................(11.3)
ค่า Ksp มีค่าคงที$เมื$ออุณหภูมิคงที$ ค่าทางขวามือของสมการที$ (11.3) เป็ นผลคูณของความเข้มข้น
ของไอออนแต่ละชนิดในสารละลาย ยกกําลังด้วยสัมประสิ ทธิSบอกจํานวนโมลของ ไอออนนัHน ผลคูณนีH
เรี ยกว่าผลคูณไอออน (ion product)
ในสารละลายอิ$มตัวที$มีของแข็งที$เป็ นตัวถูกละลายอยูม่ ากเกินพอ ผลคูณไอออนในสารละลายจะ
มีค่าเท่ากับค่า Ksp เกิดภาวะสมดุลแบบสมการที$ (11.2) แต่ถา้ ลดผลคูณไอออนลงให้นอ้ ยกว่าค่า Ksp
ของแข็งจะละลายได้อีกจนผลคูณไอออนเท่ากับค่า Ksp จึงจะหยุดละลาย การลดความเข้มข้นของไอออน
ลง นับว่าเป็ นการรบกวนภาวะสมดุลของระบบ ระบบจึงต้องปรับตัวใหม่เพื$อให้ภาวะสมดุลกลับคืนมา
โดยของแข็งจะละลายมากขึHน จนกระทัง$ ระบบกลับเข้าสู่ ภาวะสมดุลอีกครัHงหนี$ง
107

ในสารละลายที$ค่าผลคูณไอออนน้อยกว่าค่า Ksp จะไม่มีของแข็งหรื อตะกอนในสารละลายนัHน


และจะไม่มีสมดุลแบบสมการที$ (11.2) ถ้าต้องการให้เกิดของแข็งต้องเพิ$มความเข้มข้นของไอออนให้มาก
ขึHน จนกระทัง$ ผลคูณไอออนในสารละลายมีค่าเท่ากับ Ksp หรื อมีค่ามากกว่าค่า Ksp

อุปกรณ์ การทดลอง
หลอดทดลอง ขนาด 16 x 150 mm แท่งแก้วคน
กระบอกตวงขนาด 10 cm3 หลอดหยด
บีกเกอร์ขนาด 400 cm3 ตะเกียง สามขา ตะแกรงลวด

สารเคมีทใี: ช้
CoCl2.6H2O cobalt (II) chloride hexahydrate
0.3 M Pb(NO3)2 lead nitrate
0.3 M HCl hydrochloric acid
0.3 M Mg(NO3)2 magnesium nitrate
6 M NaOH sodium hydroxide
12 M HCl (conc.HCl) hydrochloric acid

วิธีทดลอง
1. สมดุลของไอออนเชิงซ้ อน
ไอออนของโลหะบางชนิดจะเสถียรในรู ปของไอออนเชิงซ้อน เช่น Co2+ จะเสถียรในรู ปไอออน
เชิงซ้อน [CoCl4]2– สี ฟ้า หรื ออยูใ่ นรู ป [Co(H2O)6]2+ สี ชมพู สมดุลระหว่างไอออนเชิงซ้อนทัHงสอง
ชนิดเป็ นไปตามสมการ
[Co(H2O)6]2+(aq) + 4Cl–(aq) [CoCl4]2–(aq) + 6H2O () ........……… (11.4)
ชมพู ฟ้า
1.1 หยดสารละลายอิ$มตัว CoCl2.6H2O 1 หยด ลงในหลอดทดลอง เติม 12 M HCl ปริ มาตร 1 cm3
ด้วยความระมัดระวัง สังเกตสี ของสารละลาย บันทึกลงในรายงาน
1.2 หยดนํHากลัน$ ปริ มาตร 1 cm3 ลงในหลอดทดลองจากข้อ 1.1 โดยหยดทีละหยดพร้อมทัHงคน
สังเกตการเปลี$ยนสี ของสารละลาย บันทึกลงในรายงาน
1.3 จุ่มหลอดทดลองลงในบีกเกอร์นH าํ เดือด สังเกตการเปลี$ยนแปลง ทําหลอดทดลองให้เย็น โดย
แช่ในนํHาประปาสังเกตการเปลี$ยนแปลง บันทึกลงในรายงาน
108

2. สมดุลของเกลือทีล: ะลายนําE ได้ น้อย


2.1 สมดุลการละลายของ PbCl2
PbCl2 เป็ นเกลือที$ละลายนํHาได้นอ้ ย สมดุลการละลายเป็ นดังนีH
PbCl2(s) Pb2+(aq) + 2Cl– (aq) ...................(11.5)
Ksp = [Pb2+ ] [Cl– ]2 = 1.6 x 10–5 ที$ 25 ◌Cํ

2.1.1 ศึกษาสมดุลการละลายของ PbCl2 ด้วย Virtual Lab


ดูวธิ ีทาํ ในแบบฟอร์มรายงาน

2.1.2 ศึกษาสมดุลการละลายของ PbCl2 ในห้องปฏิบตั ิการ

2.1.2 (ก) เทสารละลาย 0.3 M Pb(NO3)2 ปริ มาตร 3.0 cm3 และ 0.3 M HCl ปริ มาตร 1.0 cm3
ลงในหลอดทดลอง คนสารละลายให้ทวั$ ทิHงไว้ประมาณ 15 วินาที สังเกตการเปลี$ยน แปลงที$เกิดขึHน
2.1.2 (ข) เติมสารละลาย 0.3 M HCl ลงในหลอดทดลองจากข้อ 2.1.1 ทีละหยด จนมองเห็น
ตะกอนขาวของ PbCl2 บันทึกปริ มาตรทัHงหมดของ 0.3 M HCl ที$เติมลงไป
2.1.3 (ค) ต้มหลอดทดลองที$มีตะกอนขาว PbCl2 ในบีกเกอร์ นH าํ เดือด คนชัว$ ขณะหนึ$ ง สังเกต
การ เปลี$ ยนแปลงที$ เกิ ดขึHน ทําหลอดทดลองให้เย็นโดยการจุ่มในบี กเกอร์ นH าํ ประปา สังเกตการ
เปลี$ยนแปลง
2.1.4 (ง) เติมนํHากลัน$ ครัHงละ 1 cm3 ลงในหลอดทดลองจากข้อ 2.1.3 คนสารละลายให้ทวั$ หลัง
จากเติมนํHาแต่ละครัHง เติมนํHาจนกระทัง$ ตะกอนขาวละลาย บันทึกปริ มาตรนํHาทัHงหมดที$เติมลงไป
109

2.2 สมดุลการละลายของ Zn(OH)2 และ Mg(OH)2


Zn(OH)2 และ Mg(OH)2 เป็ นเกลือที$ละลายนํHาได้นอ้ ยมาก สมดุลการละลายของ Zn(OH)2
และ Mg(OH)2 เป็ นดังนีH
Zn(OH)2(s) Zn2+ (aq) + 2OH– (aq)
Ksp = [Zn2+] [OH– ]2 = 5 x 10–17 ที$ 25 o C
Mg(OH)2 (s) Mg2+ (aq) + 2OH– (aq)
Ksp = [Mg2+] [OH– ]2 = 1.1 x 10–11 ที$ 25 o C

Zn2+ เกิดไอออนเชิงซ้อนได้ในสารละลายที$มี OH– มากเกินพอ ส่ วน Mg2+ จะไม่เกิดไอออน


เชิงซ้อนกับ OH– แม้จะมี OH– มากเกินพอก็ตาม

Zn2+(aq) + 4OH– (aq) [Zn(OH)4]2– (aq) K = 3 x 10–15 ที$ 25 o C


2.2.1 นําหลอดทดลองมา 2 หลอด หลอดที$ 1 ใส่ สารละลาย 0.1 M Zn(NO3)2 ปริ มาตร
2.0 cm หลอดที$ 2 ใส่ สารละลาย 0.1 M Mg(NO3)2 ปริ มาตร 2.0 cm3
3

2.2.2 หยดสารละลาย 6 M NaOH ลงในหลอดทดลองทัHงสองจากข้อ 2.2.1 หลอดละ


1 หยด คนสารละลาย สังเกตการเปลี$ยนแปลง
2.2.3 หยดสารละลาย 6 M NaOH ในหลอดทดลองทัHงสองต่อไปเรื$ อย ๆ ทีละ 1 หยด จน
ครบหลอดละ 20 หยด คนสารละลาย สังเกตการเปลี$ยนแปลง
2.2.4 นําหลอดทดลองที$มีตะกอนในข้อ 2.2.3 มาเติมสารละลาย 6 M HCl ทีละหยด
จนครบ 30 หยด คนสารละลาย สังเกตการเปลี$ยนแปลง

You might also like