Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 116

การปรับปรุงตัวประกอบกําลัง

Power Factor Correction

โดย

ผ.ศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 1
สารบัญ
1. บทนํา
2. กําลังไฟฟ้ า
3. นิยามของ Power Factor
4. พืน้ ฐานการปรับปรุง Power Factor
5. ประโยชน์ ของการปรับปรุง P.F.
6. Capacitors แรงดันตํา่
7. มาตรฐาน LV Capacitor
8. วิธีการปรับปรุง P.F. ( Method of Compensation )
9. การควบคุม Capacitors แบบอัตโนมัติ
10. Guide for Installation and Operation

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 2
1. บทนํา

- โหลดของระบบไฟฟ้ า
ต้องการใช้ กําลังไฟฟ้ าจริง ( kW )
และ กําลังไฟฟ้ า Reactive ( kVAR ) ในการทํางาน
- โดยทัวไป
่ P.F. ของระบบค่อนข้างตํา่
- P.F. ตํา่ มีผลเสียหลายอย่าง
เช่น กําลังสูญเสียเพิ่ม เป็ นต้น
- ระบบไฟฟ้ าจึง ต้องมีการปรับปรุง P.F. ให้สงู ขึน้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 3
การปรับปรุง P.F. ให้มีค่าสูงขึน้ ทําได้โดย

- การติดตัง้ Capacitors
ขนานเข้ากับระบบไฟฟ้ า

- ระบบไฟฟ้ าปัจจุบนั มี Non- linear Loads เพิ่มขึน้


การมี Harmonic อาจทําความเสียหายกับ Capacitors
จําเป็ นต้องพิจารณาเรื่องนี้ ในการปรับปรุง P.F. ด้วย

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 4
2. กําลังไฟฟ้ า

ใน ระบบไฟฟ้ า AC กําลังไฟฟ้ าแบ่งได้เป็ น 3 ส่วน

Real Power kW

Reactive Power kVAR

Apparent Power kVA

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 5
กําลังไฟฟ้ าทัง้ 3 นี้ มีความสัมพันธ์เป็ น
รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ดังรูป

2 2
kVA = kW + kVAR
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 6
ตัวอย่างที่ 1 โรงงานแห่งหนึ่ งมีโหลด 600 kW , 800 kVAR
กําลังไฟฟ้ าเสมือนจะเป็ นเท่าใด

วิธีทาํ
kVA = kW 2 + kVAR 2

= 600 2 + 800 2

= 1000

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 7
3. นิยามของ Power Factor

POWER FACTOR = kW / kVA

= cos φ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 8
หรือ
kW = kVA x cos φ

kVAR = kVA x sin φ

= kW x tan φ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 9
ตัวอย่างที่ 2 P.F. ของโรงงานตามตัวอย่างที่ 1 มีค่าเท่าใด

วิธีทาํ
P.F. = kW / kVA

= 600 / 1000

= 0.6
= 60 %
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 10
ตัวอย่างที่ 3 โรงงานแห่งหนึ่ งใช้ไฟ 380 V, 3 φ , 4 w
Balanced Load วัด กระแสได้ 1,000 A
และ กําลังไฟฟ้ าจริงได้ 400 kW
P.F มีค่าเท่าใด
วิธีทาํ
Real Power = 400 kW
Apparent Power = 3 × 380 × 1,000
1,000
= 658 kVA

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 11
P.F. = kW / kVA

= 400 / 658
= 0.61
= 61 %

P.F. 61 % ถือว่าค่อนข้างตํา่
จําเป็ นต้องปรับปรุง P. F. ให้ได้ไม่ตาํ่ กว่า 85 %
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 12
ระบบไฟฟ้ าที่มีโหลดหลายตัว

- สามารถคํานวณหา kW รวม , kVA รวม และ P.F. รวม ได้

- ในการคํานวณ ให้แตก โหลดแต่ละตัวเป็ น kW , kVAR

- แล้วนําแต่ละส่วนมารวมกันได้ kW รวม kVAR รวม

- จากนัน้ หา kVA รวม และ P.F. รวม ได้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 13
ตัวอย่างที่ 4 โรงงานแห่งหนึ่ ง
ใช้ระบบไฟฟ้ า 3 เฟส 4 สาย , 400 / 230 V
มีโหลดต่าง ๆ ดังนี้
- แสงสว่าง 120 kVA , P.F. 50 % Lagging
- มอเตอร์ 220 kW , P.F. 80 % Lagging
- ความร้อน 100 kW , P.F. 100 %
ให้คาํ นวณหา kVA รวม และ P.F.รวม

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 14
แสงสว่าง
Real Power = 120 x 0.5 = 60 kW
Reactive Power = √ ( 1202 – 602 ) = 103.9 kVAR
มอเตอร์
Real Power = 220 kW
Apparent Power = 220 / 0.8 = 275 kVA
Reactive Power = √ ( 2752 – 2202) = 165 kVAR
ความร้อน
Real Power = 100 kW
Reactive Power = 0

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 15
Real Power ( kW ) Reactive Power ( kVAR )
แสงสว่าง 60 103.9
มอเตอร์ 220 165
ความร้อน 100 0
รวม 380 268.9

kVA = √ ( 3802 + 268.92 ) = 465.5

P.F = ( 380 / 465.5 ) x 100 = 81.6 %

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 16
Leading และ lagging Power Factor
I

V
Φ
Φ V

I
กระแสนําหน้ าแรงดัน กระแสตามหลังแรงดัน
P.F. Leading P.F. Lagging
โหลดของอุปกรณ์ส่วนมากและระบบไฟฟ้ าจะมี P.F. Lagging

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 17
4. พืน้ ฐานการปรับปรุง Power Factor

a) มอเตอร์รบั Active และ Reactive current จากแหล่งจ่ายไฟรวม 100 A


b) มอเตอร์รบั Active current 80A จากแหล่งจ่ายไฟ
Reactive current 60A จาก Capacitor
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 18
การคํานวณหาขนาด Capacitors เพื่อปรับปรุง P.F.

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 19
จากรูป
P.F. .ก่อนปรับปรุง = cos φ1
P.F. หลังปรับปรุง = cos φ2
kVAR = kW x tan φ
kVAR ที่ P.F. ก่อนปรับปรุง = kW x tanφ1
kVAR ที่ P.F. หลังปรับปรุง = kW x tanφ2
ดังนัน้
kVAR of Capacitors = kW x ( tan φ1 – tan φ2 )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 20
ตัวอย่างที่ 5 โรงงานแห่งหนึ่ งมี โหลด 400 kW,
P.F. 77 % lagging
ต้องการปรับปรุง P.F. ให้เป็ น 95 % lagging
จะต้องใช้ Capacitors ขนาดเท่าใด

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 21
วิธีทาํ
P.F. ก่อนปรับปรุง = cos φ1 = 0.77
φ1 = 39.7°
P.F. หลังปรับปรุง = cos φ2 = 0.95
φ2 = 18.2°
kVAR ของ Capacitors = 400 x ( tan 39.7° - tan 18.2° )
= 400 x ( 0.829 - 0.329 )
= 200
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 22
เพื่อความสะดวกอาจ ใช้ตาราง ได้

การใช้ตารางต้องทราบค่า

P.F. ก่อนปรับปรุง และ

P.F. ที่ต้องการ หรือ P.F. หลังปรับปรุง

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 23
ตารางการหาค่ าการปรั บปรุ ง P.F.

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 24
ตัวอย่างที่ 6 โรงงานมีโหลด 800 kW P.F 70% Lagging
ต้องการปรับปรุง P.F. ให้เป็ น 90% Lagging
วิธีทาํ จากตาราง
P.F. ( ใหม่ ) 90% Lagging
P.F. ( เดิม ) 70% Lagging
มี ตัวคูณ คือ 0.536

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 25
ขนาด CAPACITOR ( kVAR )
= 800 x 0.536
= 428.8 kVAR

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 26
ตัวอย่างที่ 7 โรงงานมีโหลด 1000 kVA ,
P.F 70 % Lagging
ต้องการปรับปรุง P.F. ให้เป็ น 100 %
วิธีทาํ จากตาราง
P.F. ( ใหม่ ) 100 %
P.F. ( เดิม ) 70 % Lagging

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 27
จากตาราง P.F. 70 % ปรับปรุงเป็ น P.F. 100 %
ตัวคูณ 1.020
Power = 1000 x 0.7
= 700 kW
Capacitor kVAR
= 1.02 x 700
= 714

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 28
5. ประโยชน์ ของการปรับปรุง P.F.
1. ระบบไฟฟ้ าสามารถรับโหลดได้เพิ่มขึน้

- P.F. สูงขึน้ kVA ของโหลดลดลง

- ทําให้ระบบสามารถจ่ายโหลดได้มากขึน้

- เครือ่ งกําเนิดไฟฟ้ า หม้อแปลง และสายไฟฟ้ า


จ่ายโหลดได้เพิ่มขึน้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 29
ตัวอย่างที่ 8
Real or Active Power ( kW )
ของโหลดเท่าเดิม Apparent Power ( kVA )
จะมีค่าลดลงเมื่อ P.F. เพิ่มขึน้ ดังตาราง
วิธีทาํ

Power Factor ( % ) 60 70 80 90 100


Real or Active Power ( kW ) 600 600 600 600 600
Reactive Power ( kVAR) 800 612 450 291 0
Apparent Power ( kVA) 1,000 857 750 667 600

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 30
ตัวอย่างที่ 9
ถ้า Apparent Power ( kVA ) ของระบบคงที่
ระบบจะสามารถจ่าย Real or Active Power ( kW )เพิ่มขึน้
ถ้า P.F.เพิ่มขึน้ ดังตาราง
วิธีทาํ

Power Factor ( % ) 60 70 80 90 100


Real or Active Power ( kW ) 360 420 480 540 600
Reactive Power ( kVAr ) 480 428 360 262 0
Apparent Power ( kVA ) 600 600 600 600 600

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 31
2. ระดับแรงดันเพิ่มขึน้
แรงดันตกระหว่างสายหาได้จาก
∆V = √3 I ( R cos φ + X sin φ )
โดยที่
I = กระแสสาย ( A )
R = ความต้านทานทางเดียว ( Ω )
X = รีแอกแตนซ์ทางเดียว ( Ω )
φ = มุมของ P.F

เมื่อปรับปรุง P.F. ให้สงู ขึน้ I จะลดลง φ จะมีค่าเล็กลง


ทําให้ ∆V มีค่าลดลง 32
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒั น์
ตัวอย่างที่ 10
มอเตอร์เหนี่ ยวนําชนิด 3 เฟส ขนาด 37 kW , 380 V
มีกระแสเต็มพิกดั 75 A P.F. 82 %
อยู่ห่างจากแหล่งจ่ายไฟฟ้ า 150 m
ใช้สายไฟฟ้ าขนาด 50 mm2 ถ้าปรับปรุง P.F.
ให้เป็ น 95 % จงหาแรงดันตกก่อนและหลังปรับปรุง P.F.
กําหนด R = 0.424 Ω / km
และ X = 0.284 Ω / km

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 33
วิธีทาํ

ก่อนปรับปรุง P.F.
cos φ1 = 0.82
sin φ1 = 0.572

0.424 0.284
ΔV = 3 X 75 X ( X 150 X 0.82 + X 150 X 0.572)
1000 1000

= 9.94 V

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 34
หลังปรับปรุง P.F.
I = 75 x 0.82 / 0.95
= 64.7 A
Cos φ2 = 0.95
Sin φ2 = 0.312
0.424 0.284
ΔV = 3 X 64.7 X ( X 150 X 0.95 + X 150 X 0.312)
1000 1000
= 8.26 V

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 35
แรงดันตกในหม้อแปลง

% ∆ V ( เพิ่มขึน้ )

% Transformer Imprdance
= Capacitors kVAR X
Tranformer kVA
U
t
= kVAR ×
kVA

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 36
ตัวอย่างที่ 11
ถ้าติดตัง้ Capacitors 200 kVAR เข้ากับหม้อแปลง 1,000 kVA
22 kV / 400 - 230 V , Ut = 6% แรงดันจะเพิ่มขึน้ เท่าใด
วิธีทาํ
kVAR x U
% ∆ V ( เพิ่มขึน้ ) = t
kVA
200× 6
=
1000
= 1.2 %
= 400 x .012 = 4.8 V
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 37
3. กําลังสูญเสียของระบบลดลง

กําลังสูญเสียในตัวนําไฟฟ้ าของระบบ
เป็ นสัดส่วนกําลังสอง ของกระแส
เมื่อปรับปรุง P.F. ให้สงู ขึน้ ทําให้กระแสลดลง
ดังนัน้ กําลังสูญเสีย จึงเป็ น สัดส่วนกลับกับ P.F. กําลังสอง

% Loss Reduction = 100 x [ 1 - ( P.F1 / P.F2 ) 2 ]

Loss Reduction = Loss at P.F.1 x [ 1 - ( P.F1 / P.F2 ) 2 ]

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 38
จากรูป ถ้าระบบเดิมมี P.F. = 0.6 ถ้าปรับปรุงเป็ น P.F. = 0.85
กําลังสูญเสียจะลดลง 50 %
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 39
ตัวอย่างที่ 12

โรงงานแห่งหนึ่ งใช้หม้อแปลงขนาด
1,000 kVA , 22 kV/400-230 V
จ่ายโหลด 600 kW , 800 kVAR
เมื่อปรับปรุง P.F. ให้ได้ 95 %
จะลดกําลังสูญในหม้อแปลงได้เท่าใด
กําหนดให้กาํ ลังสูญเสียในหม้อแปลง
ที่ก่อนการปรับปรุง P.F. = 13,500 W

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 40
วิธีทาํ
ก่อนการปรับปรุง P.F.
kVA = 2 2
kW + kVAR
= 2 2
600 + 800
= 1,000
P.F.1 = kW / kVA
= 600 / 1000
= 0.60

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 41
หลังการปรับปรุง P.F.

P.F2 = 0.95
กําลังสูญลดลง = Loss Reduction
= Loss at P.F1 x [ 1 - ( P.F1 / P.F2 )2 ]
= 13,500 x [ 1 - ( 0 .60 / 0.95 )2 ]
= 8,115 W

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 42
6. Capacitors แรงดันตํา่
- ปัจจุบนั นิยมใช้แบบ Dry Type Capacitors
- ภายในประกอบด้วย Dielectric ทําด้วย
Polypropylene Foil
- ฉาบด้วย( Metallized Film )
- เป็ นแบบ Self – Healing
- กําลังสูญเสียตํา่

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 43
พิกดั LV Capacitors

- Capacitors พิกดั ขึน้ อยู่กบั ค่า Capacitance


- Capacitance ของ Capacitors มีหน่ วยเป็ น F ( Farad )
หรือ µ F ( Micro Farad )

1
XC =
2π f C

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 44
Ic = Uc = 2π f CUc
Xc

VAR = UC IC = 2π f C U2C
2
2π f C U C
kVAR =
1000
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 45
- ในไฟฟ้ ากําลังนิยมคิด
ขนาด Capacitor เป็ บ kVAR
- การคิดขนาด ขนาด Capacitor เป็ บ kVAR นัน้
ต้องระบุแรงดันด้วยเสมอ
- ขนาด Capacitor จะ แปรตามแรงดันกําลังสอง

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 46
ตัวอย่างที่ 13 Capacitor
50 kVAR , 400 V , ต่อแบบ ∆
จงคํานวณหา IC , XC , C per phase

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 47
IC = 50 x 1000 / ( √ 3 x 400 )
= 72.2 A

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 48
การหาค่า Per Phase ต้องเปลี่ยนเป็ นการต่อแบบ Wye
XC = VC / IC
= ( 400 / √ 3 ) / 72.2
= 3.2 Ω / ph
C = 1 / ( 2π x f x XC )
= 1 / ( 2π x 50 x 3.2 )
= 995 µ F ( Y )
ค่า C ต่อแบบ Delta = ( 1 / 3 ) ของการต่อ แบบ Wye
= 332 µ F ( ∆)
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 49
- Reactive Power ของ Capacitors
หน่ วยเป็ น kVAR

- แปรตาม แรงดันยกกําลังสอง

kVAR2 = kVAR1 ( U2 / U1)2

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 50
ตัวอย่างที่ 14
Capacitors พิกดั 80 kVAR , 525 V.

ใช้งานที่แรงดัน 430 V

กําลังไฟฟ้ า Reactive จะเป็ นเท่าใด

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 51
วิธีทาํ

kVAR2 = kVAR1 ( U2 / U1 ) 2

= 80 ( 430 / 525 ) 2

= 53.7 kVAR

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 52
7. มาตรฐาน IEC 831-1
- Capacitor ใช้สาํ หรับปรับปรุง P.F. ของระบบไฟฟ้ า
ให้สงู ขึน้
- ทําให้ระบบไฟฟ้ าทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ
- Capacitor นับว่าเป็ นอุปกรณ์ที่สาํ คัญ จึงต้องมี
มาตรฐานควบคุมอยู่
- สําหรับ LV Capacitor มาตรฐานที่สาํ คัญคือ
IEC 831 - 1

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 53
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 54
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 55
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 56
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 57
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 58
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 59
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 60
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 61
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 62
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 63
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 64
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 65
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 66
8. วิธีการปรับปรุง P.F. ( Method of Compensation )
Capacitors เพื่อปรับปรุง P.F. อาจติดตัง้ ได้ 4 ลักษณะคือ

1. Individual Compensation

2. Group Compensation

3. Central Compensation

4. Combined Compensation
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 67
วิธีการปรับปรุง P.F.

คะแปซิเตอร์สามารถติดตัง้ ตามจุดต่างๆ
ในระบบไฟฟ้ าซึ่งอาจแยก
เป็ น 4 ลักษณะของการปรับปรุง P.F. คือ

- การปรับปรุงที่ตวั อุปกรณ์ ( Individual Compensation )

- การปรับปรุงเป็ นกลุ่ม ( Group Compensation )

- การปรับปรุงรวม ( Central Compensation )


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 68
การติดตัง้ Capacitors แบบต่างๆ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 69
1. การปรับปรุงที่ตวั อุปกรณ์ ( Individual Compensation )

- ใช้กบั อุปกรณ์ไฟฟ้ าที่สาํ คัญ


ที่ต้องการ Reactive Power ที่แน่ นอน เช่น
หม้อแปลง มอเตอร์ เป็ นต้น

- กําลังสูญเสียที่สายไฟที่เข้าอุปกรณ์ลดลง

- สามารถจ่าย Reactive Power ไปที่โหลดที่ต้องการจริงๆ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 70
2. การปรับปรุงเป็ นกลุ่ม ( Group Compensation )

- ถ้าโหลดสามารถรวมเป็ นกลุ่มที่ใช้งานพร้อมๆกัน

- สามารถปรับปรุง P.F. ได้โดยติดตัง้ Capacitors ชุดเดียว

- เช่น มอเตอร์ขนาดเล็กหลาย ๆ ตัวทํางานพร้อมกัน

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 71
3. การปรับปรุงแบบรวม (Central Compensation)

- ใช้กบั สถานประกอบการขนาดใหญ่
ที่มีอปุ กรณ์ไฟฟ้ าจํานวนมากที่ทาํ งานไม่พร้อมกัน
- ความต้องการ Reactive Power เปลียนแปลงตลอดเวลา
- การปรับปรุง P.F. ทําได้ต่อ Capacitors
เข้าที่แผงสวิตช์ไฟใหญ่
- การควบคุม ทําได้ด้วย
Manual Control
Automatic Control

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 72
4. การปรับปรุงผสม ( Combined Compensation )

- ปรับปรุง P.F. ที่อปุ กรณ์หลักแบบ


Individual Compensation

- ปรับปรุง P.F. ที่เป็ นกลุ่ม


Group Compensation

- ปรับปรุง P.F. รวมของโหลดที่เหลือ


ที่ทาํ งานไม่ต่อเนื่ อง และ ไม่พร้อมกัน

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 73
9. การควบคุม Capacitors แบบอัตโนมัติ

- ใช้สาํ หรับการปรับปรุง P.F.


ของโหลดที่ไม่คงที่
และต้องการ Reactive Power ไม่คงที่

- ระบบจะตัดต่อ Capacitors เข้า ให้เหมาะสม


กับโหลดตลอดเวลา

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 74
ระบบควบคุม Capacitors แบบอัตโนมัติ
มีประกอบที่สาํ คัญดังนี้
- Capacitors หลายตัว ต่อขนานกัน
- Power Factor Controller ( P.F.C. )
- คอนแทคเตอร์
- ฟิวส์ หรือ เซอร์กิตเบรคเกอร์

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 75
การปรับปรุง P.F. แบบ Automatic
มี Capacitors 50 kVAR 6 ชุด
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 76
โปรแกรมการตัดต่อ Capacitors
1) การทํางานแบบหลายขัน้ ( Multi Step Operation )

- มี Capacitors ขนาดเท่ากันหรือต่างกันหลายชุด

- การสับ Capacitors เข้าออกตาม Program ที่ตงั ้ ไว้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 77
โปรแกรม 1: 1: 1: 1: 1: 1
Stage
1 2 3 4 5 6
Capacitor
1 10 X X X X X X
2 10 X X X X X
3 10 X X X X
4 10 X X X
5 10 X X
10 X

kVAR 10 20 30 40 50 60

- Capacitors ทุกตัวมีขนาดเท่ากัน
- การสับเข้าเป็ นไปตามลําดับ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 78
โปรแกรม 1 : 2 : 2 : 2 : 2 : 2
Stage
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
Capacitor
1 10 X X X X X X
2 20 X X X X X X X X X X
3 20 X X X X X X X X
4 20 X X X X X X
5 20 X X X X
6 20 X X
kVA
R 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 110

- Capacitor ตัวแรกมีขนาด 1หน่ วย ตัวที่เหลือมีขนาด 2 หน่ วย


- การสับเข้าตาม kVAR ที่ต้องการ
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 79
โปรแกรม 1 : 2 : 4 : 4 : 4
Stage
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
Capacitor
1 10 X X X X X X X X
2 20 X X X X X X X X
3 40 X X X X X X X X X X X X
4 40 X X X X X X X X
5 40 X X X X

kVAR 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 110 120 130 140 150

- Capacitor ตัวแรกมีขนาด 1 หน่ วย ตัวที่สองขนาด 2 หน่ วย


ตัวที่เหลือมีขนาด 4 หน่ วย
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 80
2.) การทํางานแบบวงรอบ ( Cyclic Operation )

รูป แสดงการทํางานแบบวงรอบ (Cyclic Operation)


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 81
Cyclic Operation
- Capacitor ตัวที่เข้าก่อน ต้องออกก่อน
- ถ้า P.F. ของระบบมีค่าตํา่ กว่าที่ตงั ้ ไว้ PFC จะสังให้
่ Capacitor
ตัวที่ 1 , 2 , 3 เข้าตามลําดับ
- ถ้าโหลดลดลง ความต้องการ Reactive Power ลดลง
PFC จะสังให้่ ปลด Capacitor ตัวที่ 1 ออก
- ต่อมาถ้าโหลดเพิ่มขึน้ ความต้องการ Reactive Power มากขึน้
PFC จะสังให้ ่ ต่อตัวที่ 4 , 5 เข้าตามลําดับ
- และถ้าโหลดลดลง PFC จะสังปลดตั ่ วที่ 2 , 3 ออกตามลําดับ
- ดังนัน้ Capacitors ทุกตัวจะมีโอกาสใช้งานพอ ๆกัน

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 82
การหา ขนาด สาย CB , Fuse สําหรับ Capacitors

ขนาดสาย
IC = 1.3 x 1.1 x In
= 1.43 In
โดยที่
IC = ขนาดสายไฟฟ้ า (A)
In = พิกดั กระแสของ Capacitors (A)

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 83
ขนาด CB , Fuse

ICB = IFuse = 1.3 x 1.15 x In

= 1.495 In

= 1.50 In

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 84
ตัวอย่างที่ 15
Capacitors ขนาด 50 kVAR , 400 V
จะต้องใช้สายไฟฟ้ า และ Fuse เท่าใด
วิธีทาํ
In = ( 50 x1000 ) / (√ 3 x 400 )
= 72 A
IC = 1.43 x 72
= 103 A

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 85
สายไฟฟ้ า

ใช้สาย 3 x 50 mm2 ( 119 A )

Fuse , CB

IFuse = 1.50 x 72
= 108 A
ใช้ Fuse ขนาด 125 A

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 86
ตัวอย่างที่ 16
หม้อแปลง 1000 kVA, P.F. ของโหลด 70 % Lagging
ต้องปรับปรุงให้ได้
- 85 % Lagging
- 90 % Lagging
- 95 % Lagging

จะต้องใช้ Capacitors ขนาดรวมเท่าใด

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 87
วิธีทาํ
ก่อนปรับปรุง
P.F. = 70 % Lagging
φ = cos-1 0.7
= 45.6°

kW = kVA x P.F.
= 1000 x 0.7
= 700

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 88
ปรับปรุงให้ได้ 85 % Lagging

P.F. 85 % Lagging = cosφ2


φ2 = cos-1 0.85 = 31.8°
∴ kVAR of Capacitor = kW x ( tan 45.6° – tan 31.8° )
= 700 x ( tan 45.6° – tan 31.8° )
= 280 kVAR

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 89
ปรับปรุงให้ได้ 90 % Lagging

P.F. 90% Lagging = cosφ2


φ2 = cos-1 0.90 = 25.8°
∴ kVAR of Capacitor = kW x ( tan 45.6° – tan 25.8° )
= 700 x ( tan 45.6° – tan 25.8° )
= 375 kVAR

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 90
ปรับปรุงให้ได้ 95 % Lagging

P.F. 95% Lagging = cosφ2


φ2 = cos-1 0.95 = 18.2°
∴ kVAR of Capacitor = kW x ( tan 45.6° – tan 18.2° )
= 700 x ( tan 45.6° – tan 18.2° )
= 484 kVAR

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 91
จะเห็นได้ว่า ขนาดรวมของ Capacitor
ที่ใช้ในการปรับปรุง Power Factor นัน้ ขึน้ อยู่กบั
- ขนาดของ Load
- P.F. เดิม ซึ่งโดยทัวไปไม่
่ ทราบค่า อาจ 0.7 – 0.8 Lagging
- P. F. ใหม่ที่ ต้องการ อาจ 0.85 – 0.95 Lagging

ดังนัน้ ถ้าใช้ประมาณ 30 – 40 % ของพิกดั หม้อแปลง


ก็จะใช้ได้

kVAR ( Cap ) = 30 - 40 % kVA ( Tr )


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 92
ตัวอย่างที่ 17
สถานประกอบการแห่งหนึ่ ง
ใช้หม้อแปลงขนาด 1600 kVA
จะต้องใช้ Capacitors พิกดั รวมเท่าใด
ในการปรับปรุงตัวประกอบกําลัง

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 93
วิธีทาํ
kVAR of Capacitor = 30 % ของพิกดั หม้อแปลง
= 0.30 x 1600
= 480 kVAR

ใช้ Capacitors ตัวละ 50 kVAR รวม 10 ตัว

50 x 10 = 500 kVAR

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 94
10. Guide for Installation and Operation
ตาม IEC 831 - 1 Section 6
- Capacitor เมื่อนําไปใช้งาน เพื่อให้อายุ
การใช้งานยาว จะต้องคํานึ งถึงพิกดั และสภาพ
หลายอย่าง เช่น
Rated Voltage
Operating Temperature
เป็ นต้น
- Guide นี้ จะให้ข้อแนะนําที่ดี

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 95
1. General
- Shunt Capacitors เมื่อถูก Energized
จะทํางาน อย่างต่อเนื่ องที่ Full Load
หรือ Load ที่ แตกต่างไปเนื่ องจาก
ผลของ Voltage และ Frequency
- Overstressing ( แรงดันและกระแสเกิน )
และ Overheating จะทําให้ Capacitor
มีอายุการ ใช้งานสัน้ ลง

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 96
∴ Operating Conditions
( Temp , Voltage , Current )
จะต้องควบคุมอย่างใกล้ชิด
- ให้สงั เกตว่าการที่มี Capacitances ( จาก Capacitor )
ปริมาณมากในระบบอาจทําให้เกิด Unsatisfactory
Operating Condition
เช่นการขยายของ Harmonic ,
Sub-execitation ของ Machines ,
Overvoltage เนื่ องจาก Switching เป็ นต้น
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 97
2. Choice of the Rated Voltage
- Rated Voltage ของ Capacitor จะต้อง
อย่างน้ อยเท่ากับ Service Voltage
- ใน Networks บางแห่งจะมีค่าต่างกัน
พอสมควรระหว่าง Service และ
Rated Voltage ของ Network
- ค่านี้ จะต้องพิจารณาเลือกให้ดีเนื่ องจาก
Performance และอายุของ Capacitor
จะได้อิทธิพลอย่างมากจาก
การเพิ่ม ของ Voltage ที่คร่อม Capacitor Dielectric
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 98
- เมื่อมีการต่อ Reactor อนุกรมกับ Capacitor
เพื่อ ลดผลของ Harmonic จะทําให้
แรงดันที่ขวั ้ ของ Capacitor เพิ่มขึน้
จึงจําเป็ นต้องเพิ่ม Rated Voltage ของ Capacitor

- ในการที่จะกําหนด Voltage
ที่คาดว่าจะปรากฏที่ขวั ้ ของ Capacitor
จะต้องพิจารณาดังนี้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 99
a.) Shunt Capacitor จะให้ Voltage เพื่มขึน้
ที่จดุ ที่มนั ต่ออยู่
Voltage Rise นี้ อาจมีค่าเพิ่มขึน้ อีก
เนื่ องจาก Harmonics
ดังนัน้ Capacitor จะต้องทํางาน
ที่ Voltage สูงกว่าค่าที่ได้
ก่อนติดตัง้ Capacitor

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 100
b.) Voltage ที่ขวั ้ Capacitor จะมีค่าสูง
ในเวลาของ Light Load ( โหลดน้ อย )
ในขณะเช่นนี้ ควรจะตัด Capacitor บางส่วน
หรือทัง้ หมดออกจากระบบ
เพื่อ ป้ องกัน Overstressing ของ Capacitor

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 101
- ไม่ควรใช้ Safety Margin มากเกินไป
ในการเลือก Rated Voltage UN
เนื่ องจากจะทําให้
Output ของ Capacitor ลดลง

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 102
3. Operating Temperature

- ควรให้ความสนใจกับ
Operating Temperature ของ Capacitor
เนื่ องจากอุณหภูมิมีอิทธิพลอย่างมาก
ต่ออายุการใช้งาน

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 103
การติดตัง้
- Capacitors จะต้องติดตัง้ ในที่ที่มีการระบาย
ความร้อนที่เกิดจากการกําลังสูญเสีย
ของ Capacitor
- การระบายความร้อนของห้องและการจัดเรียง
Capacitor Units จะต้องให้มีอากาศหมุนเวียน
รอบแต่ละ Unit การกระทําเช่นนี้ มีความสําคัญ
เป็ นพิเศษสําหรับ Units ที่เรียงเป็ นชัน้ ๆ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 104
- Temperature ของ Capacitors
ที่ติดตัง้ และได้รบั Radiation จากพระอาทิตย์
หรือจาก Any High Temperature Surface
จะเพิ่มขึน้ ต้องแก้ไขโดยวิธีการต่อไปนี้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 105
a.) ป้ องกัน Capacitor จาก Radiation
b.) เลือก Capacitor ที่ออกแบบสําหรับ
High Ambient Air Temperature
เช่น เลือกใช้ Category - 5 / B ( 45o )
แทน ” - 5 / A ( 40o )
c.) ใช้ Capacitor ที่มี Rated Voltage ที่สงู ขึน้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 106
4. High Ambient Air Temperature
- Capacitor Symbol C เหมาะที่จะใช้ในเขตร้อน
แต่ในสถาที่ Ambient Temperature อาจสูงมาก
จนต้องใช้ Symbol D
- Symbol D ขะต้องใช้กบั งานซึ่ง
Capacitors จะต้องถูกแสงแดด
เป็ นเวลาหลายชัวโมง

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 107
5. Overvoltage
Admissible Voltage Levels
Voltage Factor Maximum
ชนิด x UN Duration
Power Frequency 1.00 Continuous
Power Frequency 1.10 8h in Every 24h
Power Frequency 1.15 30 min iEvery24 h
Power Frequency 1.20 5 min
Power Frequency 1.30 1 min
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ
ั น์ 108
6. Overcurrent
- Capacitor สามารถใช้งานต่อเนื่ องที่
กระแส RMS = 1.3 In

- Overload Current อาจเกิดจาก


Excessive Voltage ที่ Fundamental Frequency
หรือ Harmonics หรือทัง้ 2 อย่าง

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 109
- แหล่งกําเนิดของ Harmonic
คือ
Rectifier ,
Power Electronics ,
Saturated Transformer Cores
เป็ นต้น

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 110
- ถ้า Voltage Rise ขณะ Light Load เพิ่มขึน้
โดย Capacitors จะทําให้เกิด Saturation
ที่ Core ของ หม้อแปลง
- ในกรณี เช่นนี้ จะทําให้เกิด Harmonics ขึน้
และถูกขยายโดย Resonance ระหว่าง
Transformer และ Capacitor
นี่ เป็ นเหตุที่แนะนําให้ตดั Capacitor
ออกขณะ Light Load

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 111
วิธีแก้ Overload Current คือ
a.) ย้าย Capacitors บางส่วนหรือทัง้ หมด
ไปที่ส่วนอื่นของระบบ
b.) ใช้ Reactor ต่ออนุกรมกับ Capacitor เพื่อ
Lower Resonance Frequency
ของวงจรเป็ นค่าตํา่ กว่า Harmonic
c.) เพิ่ม Capacitance เมื่อต่อ Capacitor
ใกล้กบั Power Semi Conductors

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 112
7. Switch and Protective Devices and Connection

- เนื่ องจากค่า Capacitance ของ Capacitor


อาจมีค่า 1.15 Cn
และ Capacitor ออกแบบให้นํากระแส 1.3 In

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 113
∴ Switching & Protection Device & Connection

ต้องมีพิกดั

Icb = 1.3 x 1.15 In


= 1.495 In
= 1.50 In

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 114
- นอกเหนื อจากที่กล่าวมาแล้ว
ถ้ามี Harmonic Components
มันอาจทําให้เกิด Heating Effect
มากกว่ากระแสขนาดเดียวกับ
ของ Fundamental เนื่ องจาก Skin Effect

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 115
The END

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย์พฒ


ั น์ 116

You might also like