Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

-1-

เนื้ อหาวิ ชา : 58 : Short Circuit Calculation


ข้อที่ 293 :
• กระแสลัดวงจรเป็ นผลมาจากกระแสส่วนใด

• 1 : กระแส AC ซึ่งมีขนาดคงที่ ตลอดระยะเวลาการเกิดลัดวงจร


• 2 : กระแส DC ซึ่งมีค่าสูงสุดค่าหนึ่งและค่อยๆมีค่าลดลงจนเป็ นศูนย์
• 3 : กระแส AC ซึ่งมีค่าสูงสุดค่าหนึ่งและค่อยๆมีค่าลดลงจนเป็ นศูนย์
• 4 : กระแส AC ซึ่งมีขนาดคงที่ ตลอดระยะเวลาการเกิดลัดวงจร และ กระแส DC ซึ่งมีค่าสูงสุด ค่าหนึ่ง
และค่อย ๆ มีค่าลดลงจนเป็ นศูนย์
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 4
ข้อที่ 294 :
• กระแสลัดวงจรประเภทใดทีโ่ ดยทัวไปแล้
่ วก่อให้เกิดความเสียหายรุนแรงทีส่ ุด
• 1 : Line to Earth Short Circuit
• 2 : Three Phase Short Circuit
• 3 : Line to Line Short Circuit with Earth Connection
• 4 : Line to Line Short Circuit without Earth Connection
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 2
ข้อที่ 295 :
• กระแสลัดวงจรสมมาตรเริม่ ต้นตามนิยามของมาตรฐานการคานวณกระแสลัดวงจร IEC 60909 หมายถึง
อะไร
• 1 : ค่า RMS ของส่วนประกอบ AC ของกระแสลัดวงจรขณะเริม่ ลัดวงจร
• 2 : ค่าสูงสุดของกระแสลัดวงจร
• 3 : ค่า RMS ของกระแสลัดวงจรซึ่งยังคงมีอยู่หลังจากการลดลงของภาวะชัวครู
่ ่
• 4 : ค่า RMS ของส่วนประกอบ AC ของกระแสลัดวงจรขณะทีห่ น้าสัมผัสขัว้ แรกของบริภณ
ั ฑ์ สวิตชิง่
แยกออก
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 1
ข้อที่ 296 :
• กระแสลัดวงจรค่ายอด (peak) ตามนิยามของมาตรฐานการคานวณกระแสลัดวงจร IEC 60909 หมายถึง
อะไร
• 1 : ค่า RMS ของส่วนประกอบ AC ของกระแสลัดวงจรขณะเริม่ ลัดวงจร
• 2 : ค่าสูงสุดของกระแสลัดวงจร
• 3 : ค่า RMS ของกระแสลัดวงจรซึ่งยังคงมีอยู่หลังจากการลดลงของภาวะชัวครู
่ ่
• 4 : ค่า RMS ของส่วนประกอบ AC ของกระแสลัดวงจรขณะทีห่ น้าสัมผัสขัว้ แรกของบริภณ
ั ฑ์สวิตชิง่ แยก
ออก
-2-
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 2
ข้อที่ 297 :
• กระแสลัดวงจรอยู่ตวั (steady state) ตามนิยามของมาตรฐานการคานวณกระแสลัดวงจร IEC 60909
หมายถึงอะไร
• 1 : ค่า RMS ของส่วนประกอบ AC ของกระแสลัดวงจรขณะเริม่ ลัดวงจร
• 2 : ค่าสูงสุดของกระแสลัดวงจร
• 3 : ค่า RMS ของกระแสลัดวงจรซึ่งยังคงมีอยู่หลังจากการลดลงของภาวะชัวครู
่ ่
• 4 : ค่า RMS ของส่วนประกอบ AC ของกระแสลัดวงจร
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 4
ข้อที่ 298 :
• กระแสตัดวงจรแบบสมมาตรตามนิยามของมาตรฐานการคานวณกระแสลัดวงจร IEC 60909 หมายถึง
อะไร
• 1 : ค่า RMS ของส่วนประกอบ AC ของกระแสลัดวงจรขณะเริม่ ลัดวงจร
• 2 : ค่าสูงสุดของกระแสลัดวงจร
• 3 : ค่า RMS ของกระแสลัดวงจรซึ่งยังคงมีอยู่หลังจากการลดลงของภาวะชัวครู
่ ่
• 4 : ค่า RMS ของส่วนประกอบ AC ของกระแสลัดวงจรขณะทีห่ น้าสัมผัสขัว้ แรกของบริภณ
ั ฑ์สวิตชิง่ แยก
ออก
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 4
ข้อที่ 299 :
• การเกิดลัดวงจรจะทาให้เกิดภาวะใดในระบบไฟฟ้ า
• 1 : กระแสไหลมากกว่ากระแสปกติหลายเท่าเพียงอย่างเดียว
• 2 : เกิดเฉพาะความเครียดทางกลและทางไฟฟ้ า
• 3 : กระแสไหลมากกว่ากระแสปกติหลายเท่า เกิดความเครียดทางกลและทางไฟฟ้ า และเกิดความร้อนสูง
• 4 : เกิดแสงจ้าและความร้อนสูง
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 3
ข้อที่ 300 :
• หากต้องการคานวณกระแสลัดวงจรแบบสามเฟสสมดุล (balanced three-phase short circuit) จะต้อง
นา Sequencial Impedance ใดมาใช้
• 1 : Positive Sequence Impedance เพียงอย่างเดียว
• 2 : Negative Sequence Impedance เพียงอย่างเดียว
• 3 : Zero Sequence Impedance เพียงอย่างเดียว
• 4 : Positive Sequence Impedance และ Negative Sequence Impedance
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 1
-3-
ข้อที่ 301 :
• หากต้องการคานวณกระแสลัดวงจรแบบสายถึงดิน (line to earth short circuit)จะต้องนา Sequencial
Impedance ใดมาใช้
• 1 : Positive Sequence Impedance เพียงอย่างเดียว
• 2 : Negative Sequence Impedance เพียงอย่างเดียว
• 3 : Zero Sequence Impedance เพียงอย่างเดียว
• 4 : ทัง้ Positive Sequence Impedance , Negative Sequence Impedance และ Zero Sequence
Impedance
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 4
ข้อที่ 302 :
• หากต้องการคานวณกระแสลัดวงจรแบบสายถึงสายต่อกับดิน ( line to line short circuit with earth
connection ) จะต้องนา Sequencial Impedance ใดมาใช้
• 1 : Positive Sequence Impedance เพียงอย่างเดียว
• 2 : Negative Sequence Impedance เพียงอย่างเดียว
• 3 : Zero Sequence Impedance เพียงอย่างเดียว
• 4 : ทัง้ Positive Sequence Impedance , Negative Sequence Impedance และ Zero Sequence
Impedance
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 4
ข้อที่ 303 :
• หากต้องการคานวณกระแสลัดวงจรแบบสายถึงสายไม่ต่อกับดิน ( line to line short circuit without
earth connection ) จะต้องนา Sequencial Impedance ใดมาใช้
• 1 : Positive Sequence Impedance เพียงอย่างเดียว
• 2 : Negative Sequence Impedance เพียงอย่างเดียว
• 3 : Zero Sequence Impedance เพียงอย่างเดียว
• 4 : Positive Sequence Impedance และ Negative Sequence Impedance
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 4
ข้อที่ 304 :
• กระแสลัดวงจรประเภทใดเกิดบ่อยทีส่ ุดสาหรับระบบไฟฟ้ าทีม่ กี ารต่อลงดิน
• 1 : Line to Earth Short Circuit
• 2 : Three Phase Short Circuit
• 3 : Line to Line Short Circuit with Earth Connection
• 4 : Line to Line Short Circuit without Earth Connection
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 1
-4-
ข้อที่ 305 :
• เมื่อเกิดลัดวงจรขึน้ ในระบบไฟฟ้ าจะเกิดความเครียดอะไรขึน้
• 1 : ความเครียดทางความร้อน ( thermal stress ) เพียงอย่างเดียว
• 2 : ความเครียดทางกล ( mechanical stress ) เพียงอย่างเดียว
• 3 : ความเครียดทางความร้อนและความเครียดทางกล
• 4 : ความเครียดทางไฟฟ้ า
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 3
ข้อที่ 306 :
• เมื่อเกิดลัดวงจรขึน้ ในระบบไฟฟ้ า กระแสลัดวงจรตอนเริม่ ต้นประกอบด้วยอะไรบ้าง
• 1 : ส่วนประกอบ AC เพียงอย่างเดียว
• 2 : ส่วนประกอบ DC เพียงอย่างเดียว
• 3 : ส่วนประกอบ AC ด้านบวกเพียงอย่างเดียว
• 4 : มี 2 ส่วน คือ ส่วนประกอบ AC และ DC
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 4
ข้อที่ 307 :
• การคานวณกระแสลัดวงจรต้องทาตามมาตรฐานอะไร
• 1 : IEC 60898
• 2 : IEC 60947-2
• 3 : IEC 60439-1
• 4 : IEC 60909
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 4
ข้อที่ 308 :
• การลัดวงจรแบบทีไ่ กลจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าตามมาตรฐาน IEC 60909 คืออะไร
• 1 : แหล่งจ่ายไฟเปลีย่ นตามเวลาการลัดวงจร
• 2 : ค่าอิมพีแดนซ์เปลีย่ นตามเวลาการลัดวงจร
• 3 : แหล่งจ่ายไฟมีค่าคงทีแ่ ต่อมิ พีแดนซ์เปลีย่ นไปตามเวลาการลัดวงจร
• 4 : แหล่งจ่ายไฟและอิมพีแดนซ์มคี ่าคงทีต่ ลอดเวลาการลัดวงจร
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 4
ข้อที่ 309 :
• ถ้ากระแสลัดวงจรแบบ 3 เฟสสมดุลเป็ น 10 kA ทีแ่ รงดัน 22 kV จงคานวณหากาลังไฟฟ้ าลัดวงจรแบบ
สมมาตร
• 1 : 281 MVA
• 2 : 381 MVA
-5-
• 3 : 481 MVA
• 4 : 581 MVA
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 2
ข้อที่ 310 :
• ถ้ากระแสลัดวงจรแบบ 3 เฟสสมดุลเป็ น 10 kA ทีแ่ รงดัน 230 kV จงคานวณหากาลังไฟฟ้ าลัดวงจรแบบ
สมมาตรจะเป็ นเท่าใด
• 1 : 1,984 MVA
• 2 : 2,984 MVA
• 3 : 3,984 MVA
• 4 : 4,984 MVA
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 3
ข้อที่ 311 :
• หม้อแปลง 3 phase 1,000 kVA, 24kV/230-400 V, Impedance Voltage 6%, ต้องใส่ Circuit Breakerที่
มีขนาด IC (Interrupting Capacity) ไม่น้อยกว่าเท่าใด ให้เลือกข้อทีถ่ ูกต้องมากที่สุด
• 1 : 50 kA
• 2 : 40 kA
• 3 : 30 kA
• 4 : 20 kA
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 3
ข้อที่ 312 :
• ถ้ากระแสลัดวงจรแบบ 3 เฟสสมดุลเป็ น 10 kA ทีแ่ รงดัน 115 kV จงคานวณหากาลังไฟฟ้ าลัดวงจรแบบ
สมมาตรจะเป็ นเท่าใด
• 1 : 3,992 MVA
• 2 : 2,992 MVA
• 3 : 1,992 MVA
• 4 : 992 MVA
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 3
ข้อที่ 313 :
• จงอธิบายความหมายของ I”k3 ตามมาตรฐาน IEC 60909
• 1 : กระแสลัดวงจรสมมาตรเริม่ ต้นแบบสายถึงดิน
• 2 : กระแสลัดวงจรสมมาตรเริม่ ต้นแบบสายถึงสายไม่ลงดิน
• 3 : กระแสลัดวงจรสมมาตรเริม่ ต้นแบบสายถึงสายลงดิน
• 4 : กระแสลัดวงจรสมมาตรเริม่ ต้นแบบสามเฟสสมดุล
-6-
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 4
ข้อที่ 314 :
• จงอธิบายความหมายของ I”k1 ตามมาตรฐาน IEC 60909
• 1 : กระแสลัดวงจรสมมาตรเริม่ ต้นแบบสามเฟสสมดุล
• 2 : กระแสลัดวงจรสมมาตรเริม่ ต้นแบบสายถึงดิน
• 3 : กระแสลัดวงจรสมมาตรเริม่ ต้นแบบสายถึงสายไม่ลงดิน
• 4 : กระแสลัดวงจรสมมาตรเริม่ ต้นแบบสายถึงสายลงดิน
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 2
ข้อที่ 315 :
• ระบบไฟฟ้ าแรงดันปานกลาง 22kV 3 phase มีค่า S''kQ = 500 MVA จงคานวณหาค่าของกระแสลัดวงจร
สมมาตรเริม่ ต้นแบบสามเฟสสมดุล
• 1 : 10.1 kA
• 2 : 13.1 kA
• 3 : 16.1 kA
• 4 : 21.1 kA
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 2
ข้อที่ 316 :
• ระบบไฟฟ้ าแรงดันสูง 115 kV 3 phase มีค่า S''kQ = 5000 MVA จงคานวณหาค่าของกระแสลัดวงจร
สมมาตรเริม่ ต้นแบบสามเฟสสมดุล
• 1 : 20.1 kA
• 2 : 22.1 kA
• 3 : 25.1 kA
• 4 : 28.1 kA
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 3
ข้อที่ 317 :
• หม้อแปลง 3,150 kVA, 22 kV/230-400V, มี Impedance Voltage = 8 % หากต่อหม้อแปลงนี้เข้ากับ
ระบบไฟฟ้ าขนาดใหญ่มาก (Infinite Bus) จงคานวณหากระแสลัดวงจรแบบสามเฟสทางด้านแรงต่า
• 1 : 39.8 kA
• 2 : 49.8 kA
• 3 : 56.8 kA
• 4 : 69.8 kA
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 3
ข้อที่ 318 :
-7-
• หม้อแปลง 2,000 kVA, 33 kV/230-400V, มี Impedance Voltage = 6.5 %, หากต่อหม้อแปลงนี้เข้ากับ
ระบบไฟฟ้ าขนาดใหญ่มาก (Infinite Bus) จงคานวณหากระแสลัดวงจรแบบสามเฟสสมดุลทางด้านแรง
ต่า
• 1 : 44.4 kA
• 2 : 56.4 kA
• 3 : 66.4 kA
• 4 : 76.4 kA
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 1
ข้อที่ 319 :
• หม้อแปลง 20 MVA , 115kV / 22 kV , Impedance Voltage = 10 % ต่อเข้ากับ Infinite Bus เมื่อเกิด
ลัดวงจรทางด้าน MV จงคานวณหากระแสลัดวงจร
• 1 : 2.3 kA
• 2 : 3.3 kA
• 3 : 4.3 kA
• 4 : 5.3 kA
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 4
ข้อที่ 320 :
• หม้อแปลง 40 MVA , 115kV / 22 kV , Impedance Voltage = 12 % ต่อเข้ากับ Infinite Bus เมื่อเกิด
ลัดวงจรทางด้าน MV จงคานวณหากระแสลัดวงจร
• 1 : 4.7 kA
• 2 : 6.7 kA
• 3 : 8.7 kA
• 4 : 10.7 kA
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 3
ข้อที่ 321 :
• หม้อแปลง 3 phase 1,600 kVA, 22 kV/230-400V, Impedance Voltage 6%, ต้องใส่ Circuit Breaker
ทีม่ ขี นาด IC ( interrupting capacity ) ต่ าที่สุดเท่าใด
• 1 : 60 kA
• 2 : 50 kA
• 3 : 35 kA
• 4 : 25 kA
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 2
ข้อที่ 322 :
-8-
• ถ้ากระแสลัดวงจรแบบ 3 เฟสสมดุลเป็ น 20 kA ทีแ่ รงดัน 22 kV จงคานวณหากาลังไฟฟ้ าลัดวงจรแบบ
สมมาตร
• 1 : 562 MVA
• 2 : 762 MVA
• 3 : 962 MVA
• 4 : 1,162 MVA
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 2
ข้อที่ 323 :
• จงอธิบายความหมายของ I”k2 ตามมาตรฐาน IEC 60909
• 1 : กระแสลัดวงจรสมมาตรเริม่ ต้นแบบสามเฟสสมดุล
• 2 : กระแสลัดวงจรสมมาตรเริม่ ต้นแบบสายถึงดิน
• 3 : กระแสลัดวงจรสมมาตรเริม่ ต้นแบบสายถึงสายไม่ลงดิน
• 4 : กระแสลัดวงจรสมมาตรเริม่ ต้นแบบสายถึงสายลงดิน
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 3
ข้อที่ 324 :
• ระบบไฟฟ้ าแรงดัน 22 kV 3 phase โดยมีค่า S''kQ = 350 MVA, X / R = 8 และมีหม้อแปลงทาหน้าที่
เปลีย่ นแรงดัน จาก 22 kV 3 phase เป็ น 230/400 V, 3 phase 4 wires, จงคานวณหาค่าของ RQt,
XQt อ้างอิงมาทางด้านแรงต่า
• 1 : RQt = 0.062 milliohm, XQt = 0.820 milliohm
• 2 : RQt = 0.062 milliohm, XQt = 0.499 milliohm
• 3 : RQt = 0.049 milliohm, XQt = 0.392 milliohm
• 4 : RQt = 0.049 milliohm, XQt = 0.499 milliohm
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 2
ข้อที่ 325 :
• ระบบไฟฟ้ าแรงดันปานกลาง 33 kV 3 phase โดยมีค่า S”kQ = 750 MVA และมีหม้อแปลงทาหน้าที่
แปลงแรงดันจาก 33 kV 3 phase เป็ น 230/400 V, 3 phase 4 wires จงคานวนหาค่าของ Short Circuit
Impedance (ZQt) อ้างอิงมาทางด้านแรงต่า
• 1 : ZQt = 0.235 milliohm
• 2 : ZQt = 0.435 milliohm
• 3 : ZQt = 0.535 milliohm
• 4 : ZQt = 0.635 milliohm
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 1
ข้อที่ 326 :
-9-
• ระบบไฟฟ้ าแรงดัน 33 kV 3 phase โดยมีค่า S”kQ = 750 MVA, X/R = 10 และมีหม้อแปลงทาหน้าที่
แปลงแรงดันจาก 33 kV 3 phase เป็ น 230/400 V, 3 phase 4 wires จงคานวนหาค่าของ RQt , XQt
อ้างอิงมาทางด้านแรงต่า
• 1 : RQt = 0.035 milliohm, XQt = 0.35 milliohm
• 2 : RQt = 0.0435 milliohm, XQt = 0.455 milliohm
• 3 : RQt = 0.053 milliohm, XQt = 0.53 milliohm
• 4 : RQt = 0.0235 milliohm, XQt = 0.235 milliohm
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 4
ข้อที่ 327 :
• หม้อแปลง 1600 kVA, 22 kV/230-400 V, มี Short Circuit Impedance อ้างอิงทางด้านแรงต่า (Zkt) =
1.20 + j5.70 milliohm หากต่อหม้อแปลงนี้เข้ากับระบบไฟฟ้ าขนาดใหญ่มาก (Infinite Bus) และมี
สายไฟฟ้ า (ZL = 0.37 + j0.10 ohm/km.) ยาว 10 m. ไปยังตู้ SDB ให้หากระแสลัดวงจรทีต่ ู้ SDB

• 1 : 19.2 kA
• 2 : 22.9 kA
• 3 : 29.2 kA
• 4 : 35.9 kA
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 3
ข้อที่ 328 :
• หม้อแปลง 1600 kVA, 22 kV / 230-400 V, มี Short Circuit Impedance อ้างอิงทางด้านแรงต่า (Zkt)=
1.20 + j5.70 milliohm หากต่อหม้อแปลงนี้เข้ากับระบบไฟฟ้ าขนาดใหญ่มาก (Infinite Bus) และมี
Busway (ZL= 0.07 + j0.02 ohm/km.) ยาว 50 m ไปยังตู้ SDB ให้หากกระแสลัดวงจรทีต่ ู้ SDB
• 1 : 8.2 kA
• 2 : 18.2 kA
• 3 : 31.65 kA
• 4 : 46.2 kA
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 3
ข้อที่ 329 :
• หม้อแปลง 1,600 kVA, 22 kV/230-400 V, มี Short Circuit Impedance อ้างอิงทางด้านแรงต่า (Zkt) =
1.20 + j5.70 milliohm หากต่อหม้อแปลงนี้เข้ากับระบบไฟฟ้ าขนาดใหญ่มาก (Infinite Bus) และมี
สายไฟฟ้ า (ZL = 4.63 + j0.14 ohm/km.) ยาว 10 m. ต่ออยู่ให้หากระแสลัดวงจรทีป่ ลายสาย

• 1 : 3.4 kA
• 2 : 5.1 kA
• 3 : 7.1 kA
-10-
• 4 : 10.5 kA
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 2
ข้อที่ 330 :
• หม้อแปลง 2,000 kVA, 22 kV/230-400 V, มี Short Circuit Impedance อ้างอิงทางด้านแรงต่า (Zkt) =
0.92 + j4.53 milliohm หากต่อหม้อแปลงนี้เข้ากับระบบไฟฟ้ าขนาดใหญ่มาก (Infinite Bus) และมี
Busway (ZL = 0.07 + j0.02 ohm/km.) ยาว 50 m. ไปยังตู้ SDB ให้หากระแสลัดวงจรทีต่ ู้ SDB
• 1 : 34.3 kA
• 2 : 38.8 kA
• 3 : 44.3 kA
• 4 : 48.8 kA
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 1

You might also like