Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

เนื้ อหาวิ ชา : 59 : Coordination of Protective Devices

ข้อที่ 331 :
• เพราะเหตุใดจึงต้องมีการจัดลาดับการทางานของบริภณ
ั ฑ์ป้องกัน
• 1 : เพื่อให้บริภณ
ั ฑ์ป้องกันทีอ่ ยู่ใกล้ความผิดพร่องมากทีส่ ุดทางานก่อน
• 2 : เพื่อให้บริภณั ฑ์ป้องกันทีอ่ ยู่ไกลความผิดพร่องมากทีส่ ุดทางานก่อน
• 3 : เพื่อให้บริภณ ั ฑ์ป้องกันทีอ่ ยู่ถดั ไปทางานหากบริภณั ฑ์ป้องกันทีอ่ ยู่ไกลความผิดพร่องมาก
ทีส่ ุดไม่ทางาน
• 4 : เพื่อให้บริภณ ั ฑ์ป้องกันทีอ่ ยู่ใกล้ความผิดพร่องมากทีส่ ุดทางานก่อน หากบริภณ ั ฑ์ที่อยู่ใกล้
ทีส่ ุดไม่ทางาน บริภณ ั ฑ์ป้องกันตัวถัดไปจะต้องทางาน
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 4
ข้อที่ 332 :
• ลักษณะการทางานของ Fully Rated Protective System คือข้อใด
• 1 : Circuit Breaker ทุกตัวจะต้องมีพกิ ดั การตัดกระแสลัดวงจรเพียงพอสาหรับกระแสลัดวงจร
สูงสุดทีม่ ไี ด้ ณ จุดติดตัง้
• 2 : Circuit Breaker ทุกตัวจะต้องมีพกิ ดั การตัดกระแสลัดวงจรเพียงพอสาหรับกระแสลัดวงจร
สูงสุดทีม่ ไี ด้ ณ จุดติดตัง้ แต่เส้นโค้งลักษณะการตัดวงจรของ Circuit Breaker ทุกตัวจะต้อง
เลือกโดยไม่ให้มกี ารวางซ้อนทับกัน
• 3 : Circuit Breaker ประธานเท่านัน้ ทีม่ พี กิ ดั การตัดกระแสลัดวงจรเพียงพอสาหรับกระแส
ลัดวงจรสูงสุดทีม่ ไี ด้ ณ จุดติดตัง้
• 4 : Circuit Breaker ทีอ่ ยู่ถดั จาก Circuit Breaker ประธานเท่านัน้ ทีม่ พี กิ ดั การตัดกระแสลัดวงจร
เพียงพอสาหรับกระแสลัดวงจรสูงสุดทีม่ ไี ด้ ณ จุดติดตัง้
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 1
ข้อที่ 333 :
• ช่วงเวลาในการทา Coordination พิจารณาจากปั จจัยใดบ้าง
• 1 : ขนาดของกระแสผิดพร่อง
• 2 : ลักษณะสมบัตขิ องบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า
• 3 : แรงดัน
• 4 : ถูกทุกข้อ
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 1
ข้อที่ 334 :
• ลักษณะการทางานของ Selective Protective System คือข้อใด
• 1 : Circuit Breaker ทุกตัวจะต้องมีพกิ ดั การตัดกระแสลัดวงจรเพียงพอสาหรับกระแสลัดวงจร
สูงสุดทีม่ ไี ด้ ณ จุดติดตัง้ แต่เส้นโค้งลักษณะการตัดวงจรของ Circuit Breaker ทุกตัวจะต้อง
เลือกโดยไม่ให้มกี ารวางซ้อนทับกัน
• 2 : Circuit Breaker ประธานเท่านัน้ ทีม่ พี กิ ดั การตัดกระแสลัดวงจรเพียงพอสาหรับกระแส
ลัดวงจรสูงสุดทีม่ ไี ด้ ณ จุดติดตัง้
• 3 : Circuit Breaker ทีอ่ ยู่ถดั จาก Circuit Breaker ประธานเท่านัน้ ทีม่ พี กิ ดั การตัดกระแสลัดวงจร
เพียงพอสาหรับกระแสลัดวงจรสูงสุดทีม่ ไี ด้ ณ จุดติดตัง้
• 4 : Circuit Breaker ทุกตัวจะต้องมีพกิ ดั การตัดกระแสลัดวงจรเพียงพอสาหรับกระแสลัดวงจร
สูงสุดทีม่ ไี ด้ ณ จุดติดตัง้
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 1
ข้อที่ 335 :
• ลักษณะการทางานของ Cascade Protective System คือข้อใด
• 1 : Circuit Breaker ทุกตัวจะต้องมีพกิ ดั การตัดกระแสลัดวงจรเพียงพอสาหรับกระแสลัดวงจร
สูงสุดทีม่ ไี ด้ ณ จุดติดตัง้
• 2 : Circuit Breaker ทุกตัวจะต้องมีพกิ ดั การตัดกระแสลัดวงจรเพียงพอสาหรับกระแสลัดวงจร
สูงสุดทีม่ ไี ด้ ณ จุดติดตัง้ แต่เส้นโค้งลักษณะการตัดวงจรของ Circuit Breaker ทุกตัวจะต้อง
เลือกโดยไม่ให้มกี ารวางซ้อนทับกัน
• 3 : Circuit Breaker ประธานเท่านัน้ ทีม่ พี กิ ดั การตัดกระแสลัดวงจรเพียงพอสาหรับกระแส
ลัดวงจรสูงสุดทีม่ ไี ด้ ณ จุดติดตัง้
• 4 : Circuit Breakerทีอ่ ยู่ถดั จาก Circuit Breaker ประธานเท่านัน้ ทีม่ พี กิ ดั การตัดกระแสลัดวงจร
เพียงพอสาหรับกระแสลัดวงจรสูงสุดทีม่ ไี ด้ ณ จุดติดตัง้
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 3
ข้อที่ 336 :
• การเลือกขอบเขตการป้ องกันของบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า ทาได้โดยพิจารณาปั จจัยใดบ้าง
• 1 : การป้ องกันอย่างต่า
• 2 : ความคงทนของบริภณ ั ฑ์ไฟฟ้ า
• 3 : ลักษณะสมบัตขิ องบริภณ ั ฑ์ไฟฟ้ า
• 4 : ถูกทุกข้อ
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 4
ข้อที่ 337 :
• Circuit Breaker แรงต่าแบบ Thermal-Magnetic มีคุณสมบัตอิ ย่างไร
• 1 : เมื่อ Overload มีค่าน้อยจะใช้ Bimetal Device เป็ นตัว Trip แต่ถ้า Overload มีค่ามากจะใช้
Electromagnetic Device เป็ นตัว Trip
• 2 : เมื่อ Overload มีค่าน้อยจะใช้ Electromagnetic Device เป็ นตัว Trip แต่ถ้า Overload มีค่า
มากจะใช้จะใช้ Bimetal Device เป็ นตัว Trip
• 3 : เมื่อเกิด Overload ไม่ว่าจะมากหรือน้อยจะใช้ Electromagnetic Device เป็ นตัว Trip
• 4 : เมื่อเกิด Overload ไม่ว่าจะมากหรือน้อยจะใช้ Bimetal Device เป็ นตัว Trip
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 1
ข้อที่ 338 :
• Circuit Breaker แรงต่าแบบ Solid State มีคุณสมบัตอิ ย่างไร
• 1 : ใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์เข้ามาช่วยร่วมกับหม้อแปลงกระแส
• 2 : วงจรอิเล็กทรอนิกส์และหม้อแปลงกระแสทาหน้าทีเ่ ปรียบเทียบค่ากระแสในวงจรกับค่าทีต่ งั ้
ไว้หากกระแสในวงจรสูงกว่าค่าทีต่ งั ้ ไว้กจ็ ะทาการตัดวงจร
• 3 : มีความแม่นยาและน่าเชื่อถือสูง
• 4 : ถูกทุกข้อ
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 4
ข้อที่ 339 :
• Circuit Breaker ป้ องกันทางด้านแรงต่าของหม้อแปลงจะต้องปรับตัง้ ไม่เกินร้อยละเท่าใดของ
กระแสพิกดั หม้อแปลง
• 1 : 80 %
• 2 : 100 %
• 3 : 125 %
• 4 : 150 %
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 3
ข้อที่ 340 :
• Fuse ป้ องกันทางด้านแรงสูงของหม้อแปลงจะต้องมีพกิ ดั ปรับตัง้ ไม่เกินร้อยละเท่าใดของกระแส
พิกดั หม้อแปลง
• 1 : 100 %
• 2 : 200 %
• 3 : 300 %
• 4 : 400 %
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 3
ข้อที่ 341 :
• Ground Fault Protection สาหรับบริภณ
ั ฑ์ประธานใช้กบั ระบบทีก่ ระแสตัง้ แต่เท่าใด
• 1 : 800 A
• 2 : 1,000 A
• 3 : 1,200 A
• 4 : 1,400 A
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 2
ข้อที่ 342 :
• การปรับตัง้ Ground Fault Protection ของสายประธานต้องไม่เกินเท่าใด
• 1 : 800 A
• 2 : 1,000 A
• 3 : 1,200 A
• 4 : 1,400 A
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 3
ข้อที่ 343 :
• ข้อใดมิใช่ลกั ษณะการทางานของรีเลย์กระแสเกิน
• 1 : Short Time Inverse
• 2 : Long Time Inverse
• 3 : Very Inverse
• 4 : Extremely Inverse
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 1
ข้อที่ 344 :
• การป้ องกันการเกิดลัดวงจรลงดินสาหรับวงจรสายป้ อนควรปรับตัง้ เวลาการทางานของ Ground
Fault Protection ไว้ทปี่ ระมาณเท่าใด
• 1 : ทางานทันทีทนั ใด
• 2 : 0.1-0.2 s
• 3 : 0.2-0.5 s
• 4 : 0.5-0.7 s
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 2
ข้อที่ 345 :
• การ Coordination ของ Ground Fault Protection แบบใดทีจ่ ดั ให้มกี ารหน่วงเวลาระหว่าง
Ground Fault Protection ทีต่ ่ออนุกรมกัน เพื่อให้ตวั ที่อยู่ใกล้กระแสผิดพร่องทางานก่อน และ
หากตัวทีอ่ ยู่ใกล้ไม่ทางาน ตัวที่อยู่ถดั ไปต้องทางานต่อมาเป็ นลาดับเสมอ
• 1 : Zone Selective Interlock
• 2 : Time Current Band Selective
• 3 : Distance Selective
• 4 : Voltage Band Selective
• คาตอบทีถ่ ูกต้อง : 2

You might also like