Drsaisamornc, ($usergroup), 26-34

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

วารสารพยาบาลทหารบก

26 บทบาทพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคองในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ Journal of The Royal Thai Army Nurses

บทบาทพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคอง
ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ
Role of Palliative Care Nurses in Tertiary Hospitals

นิตยา ทรัพย์วงศ์เจริญ* ทีปทัศน์ ชินตาปัญญากุล
Nittaya Subwongcharoen Teepatad Chintapanyakun
โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย 10400
Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University, Bangkok, Thailand 10400

บทคัดย่อ
การดูแลแบบประคับประคองมีหลักการที่ส�ำคัญ คือ มุ่งให้ความสุขสบายแก่ผู้ป่วย โดยการช่วยลดความปวดและ
ความทุกข์ทรมานอย่างครอบคลุมถึงจิตวิญญาณ และตระหนักถึงการตายอย่างสมศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ อีกทั้งยังให้การดูแล
แบบองค์รวมซึ่งครอบคลุมถึงครอบครัวที่มีผู้ป่วยอยู่ในระยะท้าย และภายหลังผู้ป่วยเสียชีวิตแล้ว ซึ่งการดูแลแบบประคับประคอง
นี้มีเป้าหมายเพื่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดี ครอบคลุมความต้องการด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ส่งเสริมการรับรู้และ
การยอมรับการตายเป็นกระบวนการธรรมชาติและจากไปอย่างสงบ ดังนั้นบทบาทของพยาบาล ประกอบด้วย การเป็นผู้ประสาน
การดูแลและช่วยเหลือ การให้การพยาบาล การดูแลเพื่อบรรเทาความเจ็บป่วยทางด้านร่างกาย จิตใจและจิตวิญญาณ และการดูแล
ครอบครัวภายหลังการเสียชีวิตของผู้ป่วยจึงเป็นบทบาทที่ส�ำคัญอย่างยิ่งของการให้การพยาบาลและการดูแลแบบประคับประคอง

ค�ำส�ำคัญ: บทบาทพยาบาล, การดูแลแบบประคับประคอง, การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย

Abstract
The significant notion of palliative care is to establish comfort, diminish of pain, and relief of suffering,
which encompassed the holistic, spiritual, and humanize care to the patients. Promoting death-with-dignity to
the end-of-life patients and their family members are significant concerns either before and after the death of
those patients. Integrating comprehensive care—physical, psycho-social, and spiritual care—are not only
necessary to understand the nature of the deaths, but imperative to enhance the good life and the good dead.
Hence, either before or after the death, nursing’s roles as a coordinator or peer supporter in alleviating
physical or spiritual suffering and providing holistic care are vital keys to strengthen the quality of palliative
care.

Keywords: Nursing’s roles, Palliative care, End of life care

Corresponding Author: *E-mail: nidsub@hotmail.com

วันที่รับ (received) 14 ม.ค. 62 วันที่แก้ไขเสร็จ (revised) 19 มี.ค. 62 วันที่ตอบรับ (accepted) 18 มิ.ย. 62


ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2563
Vol. 21 No. 1 January - April 2020
วารสารพยาบาลทหารบก
Role of Palliative Care Nurses in Tertiary Hospitals Journal of The Royal Thai Army Nurses 27

บทนำ� คือ “end of life care” ว่าเป็นการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย


การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (palliative ผู้ป่วยมีการรับรู้ว่ามีระยะเวลาในการใช้ชีวิตที่เหลือไม่เกิน
care) เป็นบทบาททีท่ า้ ทายบุคลากรทางด้านสุขภาพ จะต้องใช้ 6 เดือนถึงจะเสียชีวิต ส�ำหรับ terminal care เป็นการดูแล
ความรู้ความสามารถ ทักษะการสื่อสารและมีจิตวิทยาการให้ ผู้ป่วยช่วงใกล้เสียชีวิต ประมาณ 1 สัปดาห์สุดท้าย จะเรียก
ค�ำปรึกษาและการแนะแนว1 ท�ำให้การดูแลผู้ป่วยแบบประคับ ช่วงนี้ว่า ระยะใกล้ตาย (dying)
ประคอง จะต้องท�ำงานร่วมกันเป็นทีม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ส่วนค�ำว่า “hospice care” เป็นการดูแลแบบ
พยาบาลวิชาชีพ เป็นบุคลากรในทีมสุขภาพที่อยู่ใกล้ชิดกับ ประคับประคองในระยะสุดท้ายของชีวิตซึ่งรักษาไม่ได้ แต่จะ
ผูป้ ว่ ยและญาติในทุกระดับของการให้บริการสุขภาพ ในปัจจุบนั ท�ำให้ผู้ป่วยมีความสุขสบายมากที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ ค�ำนึงถึง
ความทันสมัยและวิวัฒนาการทางการแพทย์ ท�ำให้เกิดวิธีการ คุณภาพชีวิตที่เหลืออยู่ และมุ่งเน้นการรักษาที่ยังคงรักษา
รักษาและการดูแลพยาบาลแนวใหม่ที่มีการวิจัยรองรับ ท�ำให้ คุณภาพชีวติ ของผูป้ ว่ ยเป็นหลัก ไม่มกี ารเร่งรัดหรือยืดความตาย
ผลลัพธ์การรักษาดีขึ้น อย่างไรก็ตาม ความก้าวหน้าทางการ ออกไปได้ ท�ำให้การดูแลแบบ hospice care จะต้องใช้บคุ ลากร
แพทย์จะมาพร้อมกับความคาดหวังของผู้รับบริการที่ต้องการ ทางการแพทย์ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข หรือหน่วยบริการที่เป็น
หายจากโรค หากเกิดผลลัพธ์ที่ไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง ท�ำให้ สถานพยาบาล หรือโรงพยาบาลทีจ่ ดั หอผูป้ ว่ ยให้มลี กั ษณะคล้าย
เกิดการยื้ออาการของโรคจนท�ำให้เกิดความทุกข์ทรมานทั้ง บ้านรับดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต (hospice unit) ขณะ
ตัวผูป้ ว่ ยเองและครอบครัวหรือญาติ ท�ำให้การดูแลแบบประคับ ที่ค�ำว่า “supportive care” เป็นการดูแลแบบบรรเทาอาการ2
ประคองในโรงพยาบาลที่ มี ศั ก ยภาพสู ง ทั้ ง ในระดั บ ตติ ย ภู ม ิ ซึ่งใช้ส�ำหรับการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะของโรครุนแรงและคุกคาม
หรือสูงกว่าระดับตติยภูมิจึงมีความส�ำคัญ พยาบาลซึ่งเป็น ชีวิต เช่น โรคมะเร็งระยะท้าย โรคหัวใจวายระยะท้าย เป็นต้น
บุคลากรทางการแพทย์ที่ส�ำคัญจะต้องมีความรู้หลักการดูแล มีเป้าหมายเพื่อบรรเทาอาการ การบรรเทาภาวะแทรกซ้อน
แบบประคับประคอง บทบาทและหน้าที่ในการดูแลผู้ป่วย จากการรักษาครอบคลุมการดูแลทางด้านจิตสังคม ด้านสังคม
ในระยะสุดท้ายที่มีโรคซับซ้อนแบบประคับประคอง และจิตวิญญาณของบุคคลที่ป่วยด้วยโรคที่รุนแรง
การดูแลผู้ป่วยในระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง ส�ำหรับค�ำสุดท้ายคือ “palliative care” เป็นการ
เป็นการบรรเทาความทุกข์ ทรมานทั้งทางร่างกาย และจิตใจ ดู แ ลผู ้ ป ่ ว ยที่ มี ภ าวะของโรคที่ รุ น แรงและคุ ก คามชี วิ ต และ
รวมทัง้ การเข้าใจถึงความต้องการทางด้านจิตวิญญาณของผูป้ ว่ ย คุณภาพชีวิต4,5 โดยบรรเทาความทุกข์ทรมาน มีการค้นหาวิธี
และญาติ และช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีในระยะสุดท้าย การบรรเทาความทุกทรมาน ประเมินแนวทางการรักษาและ
ของชีวิตและมีวาระสุดท้ายของชีวิตอย่างสมศักดิ์ศรี สอดคล้อง ดูแลเพื่อให้การบ�ำบัดรักษาอาการปวด อาการหายใจล�ำบาก
กับความเชื่อศาสนา สังคม วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของผู้ป่วย และอื่น ๆ รวมไปถึงการดูแลครอบครัวผู้ป่วย จะต้องมีลักษณะ
และครอบครัว2 สาระที่น�ำเสนอในบทความนี้ ประกอบด้วย เป็นองค์รวม 4 มิติ ได้แก่ ร่างกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ
ความหมายการดูแลผูป้ ว่ ยแบบประคับประคอง องค์ประกอบที่ ซึ่งมุมมองของจอนผะจง เพ็งจาด6 ได้อธิบายว่า การดูแล
ส�ำคัญของการดูแลผูป้ ว่ ยแบบประคับประคอง รูปแบบการดูแล ผู้ป่วยแบบประคับประคอง (palliative care) มีความหมาย
ผู้ป่วยแบบประคับประคอง หลักการดูแลแบบประคับประคอง ครอบคลุมการดูแลแบบบรรเทาอาการตามมาตรฐานการดูแล
บทบาทพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคอง และกรณี (supportive care) การดูแลแบบประคับประคองผู้ป่วยใน
ศึกษา ระยะสุ ด ท้ า ยของชี วิ ต และครอบครั ว ในระยะใกล้ เ สี ย ชี วิ ต
หรือภายหลังการเสียชีวติ (hospice care) การดูแลระยะสุดท้าย
ความหมายการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (end of life care) และการดูแลผู้ป่วยช่วงใกล้เสียชีวิต
การดูแลแบบประคับประคอง มีค�ำศัพท์ที่ใกล้เคียง (terminal care)
กัน คือ end of life care, terminal care, hospice care, ดั ง นั้ น การดู แ ลแบบประคั บ ประคอง หมายถึ ง
supportive care และ palliative care แต่มีความหมายที่ การดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรครักษาไม่หายขาด มีแนวโน้มว่าโรค
แตกต่างกัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ชัดเจน World Health จะมีความรุนแรงและคุกคามชีวิตผู้ป่วย ผู้ป่วยจะต้องได้รับ
Organization (WHO)3,4,5 ได้ให้ความหมายของแต่ละค�ำไว้ดงั นี้ การดูแลแบบองค์รวมครอบคลุมร่างกาย จิตใจ สังคมและ

ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2563


Vol. 21 No. 1 January - April 2020
วารสารพยาบาลทหารบก
28 บทบาทพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคองในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ Journal of The Royal Thai Army Nurses

จิตวิญญาณของผู้ป่วยและครอบครัว โดยมีเป้าหมายหลักคือ condition) เช่น การผ่าตัดแบบประคับประคอง (palliative


บรรเทาอาการเจ็บปวดและทุกข์ทรมานจากโรค เพิ่มคุณภาพ surgery) เพื่อลดขนาดของก้อนมะเร็งในการกดเบียดอวัยวะ
ชีวติ ทีด่ ใี ห้กบั ผูป้ ว่ ยและครอบครัว ท�ำให้ผปู้ ว่ ยเสียชีวติ อย่างสงบ ภายในของผู้ป่วย ท�ำให้ผู้ป่วยสุขสบายมากยิ่งขึ้น และ 2) การ
สมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตลอดจนการดูแลครอบครัวของ รักษาแบบประคับประคอง (incurable condition) เช่น การ
ผู้ป่วยภายหลังการจากไปของผู้ป่วย (bereavement care) ให้รังสีรักษาเพื่อประคับประคอง (palliative radiotherapy)
หรือการให้ยาแคมีบ�ำบัดเพื่อประคับประคอง (palliative
องค์ ประกอบที่สำ�คัญ ของการดูแ ลผู้ป่ว ยแบบประคั บ chemotherapy) เพื่อลดขนาดของก้อนมะเร็ง และควบคุม
ประคอง ความปวดจากมะเร็งที่กระจาย
World Health Organization (WHO)4 ได้ระบุองค์ 3. การดู แ ลด้ า นจิ ต สั ง คม และจิ ต วิ ญ ญาณ
ประกอบที่ ส� ำ คั ญ ของการดู แ ลผู ้ ป ่ ว ยแบบประคั บ ประคอง (psychological and spiritual care) ส�ำหรับผู้ป่วยในระยะ
ประกอบด้วย การบ�ำบัดด้วยยา การพยาบาล การส่งเสริมสุข สุดท้ายการดูแลด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณถือว่าส�ำคัญมาก
ภาพจิต สังคม วัฒนธรรม และจิตวิญญาณ แต่จะต้องให้การ เช่นกัน การดูแลด้านจิตสังคม ได้แก่ บุคลิกลักษณะ ความสนใจ
ดูแลรักษาผู้ป่วยระยะสุดท้ายด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์7 งานอดิเรก ศาสนา อาชีพ ครอบครัว ความเชื่อ ความสัมพันธ์
(humanistic nursing) องค์ประกอบที่ส�ำคัญของการดูแล ส่วนการดูแลด้านจิตวิญญาณได้แก่ การค้นหาความหมาย
ผูป้ ว่ ยแบบประคับประคอง ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ การควบคุม ของชีวิต ความตาย คุณค่า การให้อภัย ความรัก ความเข้าใจ
อาการไม่ สุ ข สบาย (symptom control) การรั ก ษาโรค และความเชื่อทางศาสนา บทความ9 ได้จ�ำแนกการดูแลผู้ป่วย
(disease management) และการดูแลด้านจิตสังคมและ ระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง ตามความเชือ่ ทางศาสนาออก
จิตวิญญาณ8 (psychological and spiritual care) โดยแต่ละ เป็นศาสนาพุทธ ลัทธิขงจื๊อ ลัทธิเต๋า ศาสนาคริสต์ และศาสนา
องค์ประกอบมีสาระส�ำคัญ ดังนี้ อิสลาม สามารถสรุปได้ว่า ทุกศาสนาต่างต้องการให้ผู้ป่วย
1. การควบคุ ม อาการไม่ สุ ข สบาย (symptom ระยะสุดท้ายได้รับความสุขสบาย ไม่ทุกข์ทรมาน เพื่อให้เกิด
control) ผู้ป่วยในระยะสุดท้าย จะมีความเปราะบางและ ความสงบ และทุกศาสนาต่างมีความเชื่อร่วมกันคือ ความตาย
มีกลุ่มอาการต่าง ๆ ทางร่างกายที่ท�ำให้เกิดความไม่สุขสบาย ไม่ได้เป็นความทุกข์แต่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และ
การจั ด การอาการที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพจึ ง มี ค วามส� ำ คั ญ มาก ควรให้ครอบครัวหรือญาติดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดเมื่อผู้ป่วย
เพราะอาการต่าง ๆ เหล่านี้มีผลต่อคุณภาพชีวิตทั้งด้านร่างกาย เสียชีวิตจึงจะสามารถด�ำเนินการตามหลักศาสนาของแต่ละ
จิตใจและจิตวิญญาณของผู้ป่วย ซึ่งอาการที่พบได้บ่อยมาก ศาสนาได้อย่างถูกต้อง
ได้แก่ อาการปวด (pain) หายใจล�ำบาก (dyspnea) ถ่ายเหลว
หรื อ ท้ อ งผู ก (diarrhea/ constipation) อ่ อ นแรงหรื อ รูปแบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
เหนื่อยล้า (weakness/fatigue) มีความผิดปกติทางช่องปาก ปิยะวรรณ โภคพลากรณ์12 ได้สังเคราะห์รูปแบบ
เช่น เกิดแผลในปาก และปากแห้ง เป็นต้น9 ดังนัน้ พยาบาลต้อง การดู แ ลผู ้ ป ่ ว ยแบบประคั บ ประคองในระบบสุ ข ภาพ
มีความรู้และความสามารถในการดูแลเพื่อให้ได้รับการรักษาที่ ประเทศไทย พบว่า รูปแบบการดูแลแบบประคับประคองมี 4
เหมาะสม ควบคุมจัดการกับอาการต่าง ๆ ที่ท�ำให้เกิดความไม่ รู ป แบบ ประกอบด้ ว ย รู ป แบบการดู แ ลที่ ด� ำ เนิ น การโดย
สุขสบาย ช่วยเหลือการประกอบกิจวัตรประจ�ำวัน ดูแลให้เกิด องค์ ก รทางศาสนา (religious-based organization)
ความสุขสบาย ประเมินอาการและเฝ้าติดตามอาการอย่างต่อ รูปแบบการดูแลที่บ้าน/การดูแลโดยชุมชน (home-based/
เนื่อง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการจัดการกับกลุ่มอาการ community-based care) รูปแบบการดูแลแบบประคับ
ที่ก่อให้เกิดความไม่สุขสบายของผู้ป่วย10,11 ประคองในโรงพยาบาล (hospital-based services) และรูป
2. การรักษาโรค (disease management) ใหญ่ แบบสถานพยาบาลกึ่งบ้าน (hospice) โดยมีแนวคิด/หลักการ
เป็นบทบาทหน้าที่ของแพทย์ ที่จะจัดการกับตัวโรคหรือภาวะ เป้าหมาย จุดแข็ง/ข้อจ�ำกัด สามารถสรุปได้ดังตาราง 1
แทรกซ้ อ นที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยการจั ด การของแพทย์ แ บ่ ง ได้ เ ป็ น
2 ประเภท คือ 1) การรักษาในสภาวะที่แก้ไขได้ (reversible

ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2563


Vol. 21 No. 1 January - April 2020
วารสารพยาบาลทหารบก
Role of Palliative Care Nurses in Tertiary Hospitals Journal of The Royal Thai Army Nurses 29

ตาราง 1 แนวคิด เป้าหมาย และจุดแข็ง/ข้อจ�ำกัดของรูปแบบการดูแลแบบประคับประคองในประเทศไทย


รูปแบบการดูแล แนวคิด/หลักการ เป้าหมาย จุดแข็ง/ข้อจ�ำกัด
1. การดูแลที่ด�ำเนินการ • แนวคิดทางศาสนาพุทธมีความเชือ่ • การพั ฒ นาจิ ต วิ ญ ญาณของผู ้ จุดแข็ง: ผู้ป่วยและญาติมีความ
โดยองค์กรทางศาสนา ในเรือ่ งของการเกิด แก่ เจ็บ ตาย และ ป่วยและญาติให้สามารถเข้าใจกฎ สุ ข กายสบายใจ มี ค วามรู ้ สึ ก
กฎของไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง ของธรรมชาติ ยอมรับ และมอง ผ่อนคลาย และช่วยยกระดับจิต
และอนัตตา อีกนัยยะคือ ความไม่ ความตายเป็นเรื่องธรรมชาติ วิญญาณ ปล่อยวาง และมีความ
เที่ยงแท้แน่นอน ความทุกข์ และ • ผู้ป่วยอยู่กับโรคที่เป็นอย่างมี ตั้งใจที่จะต่อสู้กับโรค
ความไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตน โดยความตาย ความสุข และตายอย่างสงบหรือ
ในมุมมองของทางศาสนาพุทธเป็น เรี ย กว่ า การตายดี (good
เรื่องของกฎตามธรรมชาติ death)
• มีความเชื่อของหลักการก�ำหนด
จิตใจก่อนเสียชีวติ เพือ่ น�ำไปสูภ่ พภูมิ
ที่ดีหลังการเสียชีวิต
2. การดู แ ลที่ บ ้ า น/การ • ผู้ป่วยและญาติสามารถเข้าถึงได้ เพื่อให้การดูแลผู้ป่วยมีคุณภาพ จุดแข็ง: มีการติดตามเยี่ยมบ้าน
ดูแลโดยชุมชน ดู แ ลในบริ บ ทของครอบครั ว และ และเหมาะสม ผ่านระบบการช่วย โดยทีมสหสาขาวิชาชีพทางการ
ชุมชนที่เน้นการมีส่วนร่วมของคนใน เหลือสนับสนุนผูป้ ว่ ยและครอบครัว แพทย์ ท�ำให้ผู้ป่วยและญาติมี
ชุมชนเป็นศูนย์กลาง เป็นรูปแบบ ที่ เ น้ น การมี ส ่ ว นร่ ว มของชุ ม ชน ความพึงพอใจ สามารถจัดการ
บริการทีต่ อบสนองความต้องการของ เพือ่ เพิม่ ความ สามารถในการดูแล กับกลุ่มอาการต่าง ๆ ได้ เช่น
ผู ้ ป ่ ว ยและญาติ คนในชุ ม ชนและ ตนเอง มีความเป็นอิสระในการใช้ ความปวด ท้องอืด เป็นต้น และ
สอดคล้องกับวิถีชุมชน ชีวิตและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ประหยัดค่าใช้จ่าย
• การให้บริการสุขภาพอาจเป็นเจ้า
หน้าที่สุขภาพโรงพยาบาลหรืออาสา
สมัครในการออกเยี่ยมดูแลผู้ป่วยที่
บ้าน เน้นการให้บริการขั้นพื้นฐาน
3. การดูแลแบบประคับ • ให้การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน การจั ด การหรื อ การรั ก ษาเพื่ อ ข้อจ�ำกัด: ก�ำหนดการเข้าเยี่ยม
ประคองในโรงพยาบาล โรค การรักษา และการฟื้นฟูสภาพผู้ บรรเทาอาการต่าง ๆ ทีไ่ ม่สามารถ ของญาติ ท�ำให้การท�ำกิจกรรม
ป่วยระยะท้ายที่มารับการรักษาใน ให้การดูแลที่บ้านได้ จะต้องได้รับ ร่วมกันระหว่างผู้ป่วยกับญาติไม่
โรงพยาบาล โดยส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะ การดู แ ลรั ก ษาจากที ม สหสาขา สอดคล้องกับหลักการดูแล และ
รักษาตามอาการ เช่น รังสีบ�ำบัด ยา วิชาชีพทั้งแพทย์และพยาบาล ความต้องการทางด้านจิตใจและ
เคมีบ�ำบัด จิตวิญญาณของผู้ป่วยและญาติ
• มีการดูแล 2 แบบ คือ การให้ค�ำ และเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มมากยิ่งขึ้น
ปรึกษารายบุคคล และหอผูป้ ว่ ยแบบ
ประคับประคอง
4. สถานพยาบาลกึ่งบ้าน ผู ้ ป ่ ว ยระยะสุ ด ท้ า ยแบบประคั บ เน้นการดูแลเพื่อให้มีคุณภาพชีวิต จุดแข็ง: ผู้ป่วยมีความสุขสบาย
ประคองได้รับการดูแลในหน่วยหนึ่ง ที่สอดคล้องกับความรุนแรงของ สามารถจัดการกับอาการทีไ่ ม่พงึ
ในโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาล โรคผู้ป่วยระยะสุดท้าย บรรเทา ประสงค์ มีคุณภาพการตายที่ดี
ในภาครัฐและเอกชน โดยผูป้ ว่ ยจะได้ ควบคุมอาการเจ็บปวด โดยไม่เน้น และลดค่าใช้จ่ายในการรักษา
รั บ การดู แ ลอย่ า งต่ อ เนื่ อ งโดยที ม การรักษาให้หาย แต่ให้เกิดความ
แพทย์และพยาบาล ที่ไม่ยื้อความ สุขสบายทั้งกายและจิตกับผู้ป่วย
ตาย แต่ส่งเสริมการใช้ชีวิตในระยะ และครอบครัว
ท้ายอย่างมีความสุข

ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2563


Vol. 21 No. 1 January - April 2020
วารสารพยาบาลทหารบก
30 บทบาทพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคองในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ Journal of The Royal Thai Army Nurses

หลักการดูแลแบบประคับประคอง ความตายให้ เ ร็ ว ขึ้ น หรื อ ยื ด ระยะเวลาความตายออกไปให้


หลั ก การของการดู แ ลแบบประคั บ ประคอง คื อ ยาวนานขึ้น เพียงรักษาตามอาการ
การ บูรณาการแนวทางการดูแลตั้งแต่มีอาการของโรคเริ่ม 6. การดูแลผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง เป็นการให้บริการ
รุ น แรงมากขึ้ น และลุ ก ลามจนไม่ ส ามารถรั ก ษาให้ ห ายขาด ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายและญาติที่สอดคล้องกับคุณค่า ความ
และให้การดูแลรักษาตามอาการจนผู้ป่วยเข้าสาระยะสุดท้าย ต้องการจ�ำเป็น ความปรารถนาของผู้ป่วย โดยปรึกษาร่วมกัน
โดยวิธกี ารดูแลจะต้องให้การดูแลแบบองค์รวม เพือ่ จัดการแก้ไข ระหว่างทีมสหสาขาวิชาชีพ ผู้ป่วย และครอบครัว/ญาติ รวมทั้ง
ปัญหาความทุกข์ทรมานของผูป้ ว่ ยในทุกมิติ พยาบาลเป็นบุคคล ให้ผปู้ ว่ ยตระหนักในคุณค่าชีวติ และศักดิศ์ รีของตนเอง พยาบาล
ส�ำคัญทีใ่ ห้การพยาบาลผูป้ ว่ ยระยะสุดท้ายทีใ่ กล้ชดิ มากทีส่ ดุ จะ และญาติจะช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าชีวิตของผู้ป่วยมีความหมาย
ต้องทราบหลักการดูแลแบบประคับประคองจากการสังเคราะห์ และมีค่าแม้จะมีเวลาน้อยแล้วก็ตาม
เอกสารวิชาการ เสนอหลักการส�ำคัญที่พยาบาลสามารถน�ำมา 7. การประสานความร่วมมือกับระบบสนับสนุนทาง
ใช้เป็นหลักการดูแลผู้ป่วยได้ มีดังนี2,5,6,13,14
้ ด้านสุขภาพและสังคม เชื่อมการดูแลที่โรงพยาบาล การดูแล
1. การสร้างสัมพันธภาพทีด่ แี ละความเชือ่ มัน่ ในการ ผู ้ ป ่ ว ยระยะสุ ด ท้ า ยภายหลั ง จากการจ� ำ หน่ า ยออกจากโรง
รักษาพยาบาลให้ผปู้ ว่ ยไว้วางใจ และมัน่ ใจว่าผูป้ ว่ ยจะไม่ถกู ทอด พยาบาล การเพิ่มศักยภาพการดูแลของทีมงานในแต่ละระดับ
ทิ้งให้รู้สึกหวาดกลัว เจ็บปวด หรือว้าเหว่อยู่ผู้เดียว พยาบาล จัดให้มีถึงระบบส�ำหรับช่วยเหลือแก่ผู้ป่วยให้สามารถใช้ชีวิตได้
สามารถให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยได้จนวาระสุดท้ายของชีวิต อย่างเป็นปกติสขุ ได้มากสุดเท่าทีจ่ ะกระท�ำได้จนถึงวาระสุดท้าย
2. การให้ ผู ้ ป ่ ว ยคลายจากความเจ็ บ ปวดและ ของชีวิต รวมถึงช่วยเหลือแก่ครอบครัวผู้ป่วยภายหลังผู้ป่วย
ความไม่สุขสบายที่จะเกิดขึ้น โดยมีหลักการพิจารณาคือ ผู้ป่วย เสียชีวิตอย่างสงบ
ที่มีความปวด แพทย์และพยาบาลจะเริ่มจากการใช้ยากลุ่ม 8. การดูแลต่อเนื่องที่เชื่อมโยงการดูแลที่บ้าน โดย
non-opioid และยาเสริม (adjuvant drug) ซึ่งมีการออกฤทธิ์ ประสานงานกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล โรงพยาบาล
ระงับปวดไม่แรง ไม่เสพติด และมีภาวะแทรกซ้อนน้อย หาก ใกล้บ้านหรือสถานบริการสุขภาพอื่นที่ผู้ป่วยระยะสุดท้ายหรือ
อาการปวดไม่เบา (persistent and increasing pain) ให้ ครอบครัวแจ้งความประสงค์ไว้เข้ารับบริการ เมือ่ มีความจ�ำเป็น
พิจารณาใช้ยากลุม่ weak opioid ร่วมกับยาเสริม และถ้าอาการ ทางสุขภาพ จากอาการป่วยที่กลับไปกลับมา อาการอาจดีขึ้น
ปวดยังคงอยู่ (resistant) ให้พจิ ารณายาในกลุม่ strong opioid ทรงตัว และก้าวหน้าไปตามการด�ำเนินการของโรค
ร่วมกับยาเสริม ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการให้ยาแก้ปวด 9. ความเชื่อ ศาสนา และปรัชญาชีวิตของผู้ป่วย
3. การบูรณาการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังพร้อม ๆ กับ และครอบครัวที่มีอิทธิพลต่อความตายของผู้ป่วย พยาบาลจะ
การรักษา เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะของโรค ได้ประเมินถึงสิง่ เหล่านีจ้ ากผูป้ ว่ ยเพือ่ ความเข้าใจและให้การช่วย
และสามารถจัดการภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้ดีขึ้น พยาบาล เหลือได้อย่างถูกต้องตามความเชือ่ ทีไ่ ม่ขดั ต่อการรักษาพยาบาล
จะต้องมีความรู้ในการดูแลโรคของผู้ป่วย สามารถจัดการกับ ควรมีส่วนร่วมช่วยเหลือให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสงบทั้งกายจิต
อาการผิดปกติทางกายและจิตทีเ่ กิดกับผูป้ ว่ ยได้ อธิบายให้ผปู้ ว่ ย วิญญาณ ตามแนวทางของแต่ละศาสนา รวมทั้งอาจมีส่วนร่วม
และญาติทราบถึงแนวทางการรักษาและใช้การมีส่วนร่วมเพื่อ ในการวางแผนการพยาบาลเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ
ตัดสินใจในการรักษา1 ของผู้ป่วยและญาติในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
4. การดูแลแบบองค์รวม ครอบคลุมทัง้ ด้านร่างกาย จากที่กล่าวมาแล้วข้างต้น หลักการส�ำคัญของการ
จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ การดูแลทางกายโดยเฉพาะ ดูแลแบบประคับประคอง พยาบาลจะต้องเชื่อมโยงการดูแล
การบรรเทาความปวดและอาการที่ก่อให้เกิดความไม่สุขสบาย ผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองอย่างองค์รวม ซึ่ง
รวมถึงการเอาใจใส่ความรู้สึกของผู้ป่วย ครอบครัวและญาติ ประกอบด้วยร่างกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ
เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
5. การสนับสนุนให้ครอบครัวเข้ามามีสว่ นร่วมในการ
ตัดสินใจแก้ปญ ั หาเกีย่ วกับภาวะโรคของผูป้ ว่ ยให้ลดน้อยลงหรือ
หมดไป โดยใช้หลักการการดูแลแบบประคับประคองทีจ่ ะไม่เร่ง

ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2563


Vol. 21 No. 1 January - April 2020
วารสารพยาบาลทหารบก
Role of Palliative Care Nurses in Tertiary Hospitals Journal of The Royal Thai Army Nurses 31

บทบาทพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคองในโรง 2.2 การดูแลระยะสุดท้ายในผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่


พยาบาลระดับตติยภูมิ การดูแลควรให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรค
จากประสบการณ์ของผู้เขียนที่เป็นพยาบาลปฏิบัติ การด�ำเนินของโรค อาการที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตกับผู้ป่วย
งานในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยที่อยู่ในระดับตติยภูมิ เป็น หรือครอบครัว และให้ผู้ป่วยและครอบครัวเข้ามามีส่วนร่วมใน
โรงพยาบาลที่มุ่งเน้นการรักษาตัวโรคและการใช้เทคโนโลยียืด ทุกกระบวนการดูแลผู้ป่วยตามความต้องการได้ เพื่อให้มีความ
ชีวิตให้ผู้ป่วยอยู่ได้นานที่สุด หากเป็นความประสงค์ของผู้ป่วย รู้สึกว่าได้รับเกียรติ และส่งเสริมสัมพันธภาพ และความผูกพัน
และครอบครัว/ญาติผปู้ ว่ ย อย่างไรก็ตาม แม้วา่ จะมีวธิ กี ารรักษา ในระยะสุดท้ายของผู้ป่วยกับครอบครัว ซึ่งเป็นการพยาบาลที่
หรือเทคโนโลยีทางการแพทย์ใหม่ ๆ ช่วยในการรักษา แต่ เน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
บางครัง้ ผูป้ ว่ ยกลับมีความทุกข์ทรมานจากตัวโรคและการรักษา 2.3 การดู แ ลระยะท้ า ยในผู ้ ป ่ ว ยวั ย สู ง อายุ
จนเมื่อโรคอยู่ในระยะที่เกินกว่าจะรักษาได้ จึงหันมาดูแลแบบ การดูแลต้องให้สมาชิกครอบครัวมีสว่ นร่วมในการช่วยเหลือดูแล
ประคับประคองแทน พยาบาลเป็นบุคลากรทางการแพทย์ทอี่ ยู่ หรือมาเยีย่ มเยียนบ่อย ๆ ต้องมีความรูเ้ กีย่ วกับทฤษฎีความเสือ่ ม
ใกล้ชิดผู้ป่วยและครอบครัวผู้ป่วยมากที่สุด พยาบาลจะต้องมี ถอยของผู้สูงอายุ ให้ความเคารพอ่อนน้อมให้ผู้ป่วย จะท�ำให้ผู้
ความรู้เกี่ยวกับโรค ทัศนคติที่ดีต่อการดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในระยะ ป่วยรู้สึกว่าตนเป็นที่รักไม่ท�ำให้รู้สึกว่าผู้ป่วยเป็นภาระกับผู้อื่น
ท้ายของการเจ็บป่วย รู้หลักการดูแลแบบประคับประคอง มีการพูดคุยกับผูป้ ว่ ยเป็นระยะให้เปลีย่ นเสมือนญาติผใู้ หญ่ของ
ดังนั้น บทบาทของพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคอง พยาบาล และกิจกรรมทีพ่ ยาบาลควรปฏิบตั อิ ย่างยิง่ คือ ให้ผปู้ ว่ ย
มีดังนี้ ปฏิบัติกิจวัตรต่าง ๆ ด้วยตนเองตามก�ำลังความสามารถที่มีอยู่
1. การเป็ น ผู ้ ป ระสานการดู แ ลและช่ ว ยเหลื อ และควรมีผู้ดูแลเป็นผู้คอยให้ความช่วยเหลือ
พยาบาลเป็ น สมาชิ ก ในที ม สหสาขาวิ ช าชี พ ในโรงพยาบาล 3. การดู แ ลเพื่ อ บรรเทาความเจ็ บ ป่ ว ยทางด้ า น
ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูป้ ระสานความร่วมมือร่วมวางแผนการดูแลผูป้ ว่ ย ร่างกาย การดูแลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ จากที่กล่าวมาแล้ว
ระยะสุดท้ายกับทีมแพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักสังคมสงเคราะห์ ข้ า งต้ น ว่ า ผู ้ ป ่ ว ยจะมี ค วามเจ็ บ ปวดและความไม่ สุ ข สบาย
ฯลฯ รวมถึงบันทึกและรายงานถึงความต้องการของผู้ป่วย เมือ่ อาการของโรคมีความรุนแรงมากขึน้ พยาบาลจะต้องมีความ
และครอบครัว และค้นหาอุปสรรคต่อคุณภาพของการดูแล รูแ้ ละมีการใช้ผลงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องสูก่ ารปฏิบตั หิ รือใช้หลักฐาน
ผู้ป่วยที่มาจากทีมสหสาขาวิชาชีพ และในระยะท้ายของชีวิต เชิงประจักษ์ในการดูแลผูป้ ว่ ยแบบประคับประคอง1 เพือ่ ควบคุม
ผู้ป่วยมักมีปัญหาและความต้องการหลายด้าน การประสาน และจัดการกับกลุ่มอาการต่าง ๆ ที่ท�ำให้ไม่สุขสบายให้ดีขึ้น
ความช่วยเหลือต่าง ๆ จึงเป็นหัวใจส�ำคัญในการดูแลแบบประ และช่ ว ยเหลื อ กิ จ วั ต รประจ� ำ วั น ส่ ว นการดู แ ลด้ า นจิ ต ใจ 6
คับประคอง เพือ่ การท�ำงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย สามารถ พยาบาลมีบทบาทในการช่วยให้ผู้ป่วยและครอบครัวเข้าใจถึง
บริหารจัดการได้ตามความต้องการของผู้ป่วยและญาติ6,15,16 การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจภาวะที่มีการเจ็บป่วยระยะสุดท้าย
2. การให้การพยาบาล การพยาบาลที่มีคุณภาพ การให้ผู้ป่วยและญาติได้ระบายอารมณ์และความรู้สึก จะช่วย
จะต้องมีพยาบาลมีคุณลักษณะส�ำคัญคือ เป็นผู้มีความรู้ความ ให้เกิดความผ่อนคลาย และบรรเทาความเครียดลงได้ การรับ
สามารถเกี่ยวกับโรค พยาธิสภาพของโรค อาการและอาการ ฟังที่ดีจะท�ำให้ผู้ป่วยและครอบครัวรู้สึกว่าพยาบาลมีความเห็น
แสดง มีทศั นคติทดี่ เี กีย่ วกับการดูแลแบบประคับประคอง มีการ อกเห็นใจ18
ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นโดยเฉพาะผู้ป่วยและญาติ1,16,17 ส� ำ หรั บ การดู แ ลด้ า นจิ ต วิ ญ ญาณ 19 ผู ้ ป ่ ว ยระยะ
อย่างไรก็ตาม การพยาบาลจะมีความแตกต่างกันตามช่วงวัย สุดท้ายมีความต้องการด้านจิตวิญญาณของตนเอง เช่น ความ
พยาบาลควรตระหนักถึง14 ต้องการเกี่ยวกับศาสนา ได้แก่ ต้องการสวดมนต์ ฟังเทปธรรมะ
2.1 การดูแลระยะสุดท้ายในผูป้ ว่ ยเด็ก การดูแล อ่านคัมภีร์ทางศาสนา ต้องการตัดสินใจในการด�ำเนินชีวิตด้วย
ควรให้ ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ พยาธิ ส ภาพของเด็ ก กั บ ตนเอง หรือช่วยเหลือตนเองเท่าทีจ่ ะท�ำได้ มีความต้องการออก
ผู้ปกครองหรือครอบครัว โดยใช้การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ไปสัมผัสกับธรรมชาติภายนอกบ้าง ไม่อยู่แต่ในห้องผู้ป่วย และ
แสดงออกถึงความเห็นอกเห็นใจ ให้ครอบครัวเข้ามามีส่วนร่วม ต้องการพูดคุยกับคนทีร่ จู้ กั และระลึกสิง่ ทีด่ งี ามและเคยกระท�ำ
ในการดูแลเด็กในระยะสุดท้าย ในอดีต เป็นต้น ดังนั้น พยาบาลจะต้องมีการส่งเสริมและมีส่วน

ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2563


Vol. 21 No. 1 January - April 2020
วารสารพยาบาลทหารบก
32 บทบาทพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคองในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ Journal of The Royal Thai Army Nurses

ร่วมกับผู้ป่วยและครอบครัวในการตอบสนองความต้องการ กรณีศึกษาเรื่องเล่าจากประสบการณ์การทำ�งาน
ของผู้ป่วยระยะสุดท้ายเพื่อให้ครบมิติในด้านจิตวิญญาณ ชายไทย วัยสูงอายุ อายุ 80 ปี สถานภาพคู่ วินิจฉัย
4. การดู แ ลครอบครั ว ภายหลั ง การเสี ย ชี วิ ต ของ เป็นโรคมะเร็งตับระยะสุดท้าย (hepatocellular carcinoma:
ผู้ป่วย พยาบาลเปิดโอกาสให้ญาติได้ใกล้ชิดผู้ป่วยมากที่สุดเท่า HCC) มาโรงพยาบาลด้วยปัญหาไข้สงู 39oC มีอาการอ่อนเพลีย
ที่จะท�ำได้ โดยยืดหยุ่นกฎระเบียบต่าง ๆ ของโรงพยาบาล ตัวตาเหลือง รับประทานอาหารได้น้อย หลังได้รับยาปฏิชีวนะ
บางครัง้ ญาติผปู้ ว่ ยหนักจะพบกับความคับข้องใจในกฎระเบียบ ครบ 3 วั น ไข้ ล ดลงเหลื อ 38 oC แต่ มี ป ั ญ หา hepatic
ของการเยี่ยมอย่างมาก เช่น ใช้กฎการเยี่ยมเหมือนกับผู้ป่วย encephalopathy จากภาวะของเสียคั่งในร่างกาย แพทย์
ทั่วไป โดยไม่ค�ำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ระหว่าง เจ้าของไข้ ทีมแพทย์ผใู้ ห้การรักษา และพยาบาลมีความเห็นตรง
ครอบครัว ผู้ป่วยหนักบางรายจะมีอาการสงบเมื่อภรรยาหรือ กันว่าผู้ป่วยควรได้รับการดูแลแบบประคับประคอง แพทย์
บุตรหลานมาเยีย่ ม การยืดหยุน่ กฎระเบียบของการเยีย่ มจึงเป็น เจ้าของไข้จงึ นัดญาติผปู้ ว่ ย ซึง่ เป็นภรรยาผูป้ ว่ ยทีใ่ ห้การดูแลใกล้
สิ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่ง หากญาติไม่ได้อยู่เฝ้าผู้ป่วยพยาบาลควร ชิดตลอดเวลา แพทย์ได้ให้ข้อมูลทางสุขภาพของผู้ป่วยว่าอยู่ใน
สอบถามญาติว่าจะติดต่อกับใคร พร้อมขอเบอร์โทรศัพท์ติดต่อ ระยะสุดท้าย ไม่มียาแผนปัจจุบันใดสามารถรักษาได้ อาการที่
รวมถึงการช่วยเหลือและให้ก�ำลังใจแก่สมาชิกในครอบครัวให้ จะเกิดขึ้นต่อไปคือ อาการหายใจล�ำบาก ปวด และซึมมากขึ้น
ด�ำเนินชีวิตต่อไปตามปกติโดยให้การช่วยเหลือตามที่สามารถ ภรรยาและบุตรยอมรับอาการของผู้ป่วย แต่ยังมีความหวังว่า
ท�ำได้ เช่น เมื่อผู้ป่วยเสียชีวิตแล้วพยาบาลให้การช่วยเหลือ ผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้นและสามารถกลับบ้านได้ แพทย์จึงได้
ในการแต่งศพ เป็นที่ปรึกษาในการรับศพ การเคลื่อนย้ายศพ ประสานงานกับพยาบาลทีม่ คี วามรูแ้ ละความเชีย่ วชาญด้านการ
การติดต่อสถานที่ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง พยาบาลจะช่วยเหลือญาติ ดูแลแบบประคับประคอง เพือ่ ให้คำ� แนะน�ำดูแลผูป้ ว่ ยและญาติ
ให้เข้มแข็งขึ้น สามารถเผชิญกับการสูญเสียได้ ในหอผูป้ ว่ ย การดูแลผูป้ ว่ ยแบบประคับประคองและญาติผปู้ ว่ ย
ตามบทบาทของพยาบาล ดังตาราง 2 โดยประยุกต์ใช้รูปแบบ
การดูแลแบบประคับประคองในโรงพยาบาล ซึง่ ได้กล่าวมาแล้ว
ในตาราง 1

ตาราง 2 กรณีศึกษาผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ
บทบาทของพยาบาล การดูแลและค�ำแนะน�ำ
1. การเป็นผู้ประสานการดูแลและช่วยเหลือ 1.1 พยาบาลคอยสอบถามความต้องการของผู้ป่วยและญาติเป็นระยะ ๆ และ
ประสานงานกับแพทย์เจ้าของไข้ เมื่อญาติผู้ป่วยต้องการสอบถามอาการของผู้
ป่วยและการจัดการกับอาการที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยที่ก่อให้เกิดความไม่สุข
สบาย
1.2 ประสานงานกับพยาบาลในทีม เพื่อผ่อนคลายกฎระเบียบการเข้าเยี่ยมใน
หอผูป้ ว่ ยกับญาติผปู้ ว่ ย เป็นการส่งเสริมความใกล้ชดิ ในระยะท้ายของชีวติ ผูป้ ว่ ย
กับครอบครัว
2. ดูแลระยะท้ายในผู้ป่วยวัยสูงอายุ 2.1 พยาบาลสร้างสัมพันธภาพที่ดีและเป็นกันเองกับผู้ป่วยวัยสูงอายุ เพื่อให้
ผู้ป่วยเกิดความไว้วางใจ ท�ำให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองเป็นที่รักของบุคคลรอบข้าง
2.2 แนะน�ำให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย และตอบสนองความต้องการ
ของผูป้ ว่ ยตามความชืน่ ชอบ ผูป้ ว่ ยจะเกิดก�ำลังใจทีด่ แี ละมีความสุขกับครอบครัว
2.3 ส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ ป ่ ว ยช่ ว ยเหลื อ ตนเองตามความสามารถของตนเอง เช่ น
สวมเสื้อผ้า รับประทานอาหารเอง เป็นต้น และให้แรงเสริมเพื่อให้ผู้ป่วยมีก�ำลัง
ใจที่ดี และอยากปฏิบัติต่อไป

ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2563


Vol. 21 No. 1 January - April 2020
วารสารพยาบาลทหารบก
Role of Palliative Care Nurses in Tertiary Hospitals Journal of The Royal Thai Army Nurses 33

ตาราง 2 กรณีศึกษาผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ (ต่อ)


บทบาทของพยาบาล การดูแลและค�ำแนะน�ำ
3. การดูแลเพือ่ บรรเทาความเจ็บป่วยทางด้านร่างกาย 3.1 บริหารจัดการยาเพื่อลดอาการที่ไม่สุขสบายของผู้ป่วยในระยะสุดท้ายให้
การดูแลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ ทุเลา และให้ข้อมูลกับญาติผู้ป่วยเป็นระยะ ๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและความ
ก้าวหน้าของโรคผู้ป่วย
3.2 ให้ญาติสามารถปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาตามความเชื่อของผู้ป่วยและ
ครอบครัว เช่น นิมนต์พระสงฆ์มาสวดมนต์และถวายสังฆทานในหอผู้ป่วย หรือ
ให้บาทหลวงมาท�ำพิธีทางศาสนาและไถ่บาปของผู้ป่วย เป็นต้น
3.3 คอยพูดคุยกับผู้ป่วยและญาติเป็นระยะ ๆ เพื่อประเมินความเครียดและ
ความวิตกกังวล พร้อมทัง้ ให้กำ� ลังใจ สร้างเสริมการคิดบวก ทัศนคติทดี่ ตี อ่ ภาวะ
การเจ็บป่วย
3.4 กระตุ้นให้ผู้ป่วยระลึกสิ่งที่ดีงามในอดีต เพื่อเป็นก�ำลังใจให้กับผู้ป่วย
4. การดูแลครอบครัวภายหลังการเสียชีวิตของผู้ป่วย 4.1 พยาบาลอนุญาตให้ญาติผู้ป่วยเข้ามาดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เมื่อผู้ป่วยอยู่
ในระยะสุดท้ายของชีวิตและมีแนวโน้มว่าจะเสียชีวิตในระยะเวลาอันใกล้
4.2 เป็นผูป้ ระสานงานการติดต่อเอกสารส�ำคัญทางราชการ เมือ่ ผูป้ ว่ ยเสียชีวติ
และอ�ำนวยความสะดวกในการประสานงานให้กบั ญาติ เช่น การติดต่อใบมรณะ
บัตรจากส�ำนักงานเขต โดยโรงพยาบาลจะด�ำเนินการให้
4.3 แนะน�ำแหล่งข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ผูเ้ สียชีวติ ให้กบั ญาติ เช่น การเคลือ่ น
ย้ายศพไปต่างจังหวัด การติดต่อวัด เป็นต้น

สรุป References
การดูแลผู้ป่วยระยะประคับประคองในปัจจุบันมี 1. Schroeder K, Lorenz K. Nursing and the future
ความซั บ ซ้ อ นมากยิ่ ง ขึ้ น เนื่ อ งจากความก้ า วหน้ า ทางด้ า น of palliative care. Asia Pac J Oncol Nurs.
เทคโนโลยีทางการแพทย์โดยเฉพาะโรงพยาบาลในระดับตติย 2018;5(1):4–8.
ภูมิ ท�ำให้ผู้ป่วยมีความคาดหวังว่าจะหายจากโรคและมีชีวิตที่ 2. Kitreerawutiwong N, Kitreerawutiwong N,
ยาวมากขึ้น อย่างไรก็ตาม เมื่อผลลัพธ์ทางการรักษาไม่เป็นไป Mekrungrongwong S, Keeratisiroj O,
ตามที่คาดหวังไว้ เกิดความทุกข์ทรมานจากการรักษา มีความ Hangsuntea J. Palliative Care in District
รุนแรงของโรคที่ลุกลาม น�ำไปสู่การดูแลแบบประคับประคอง Health System. Journal of Nursing and Health
พยาบาลเป็นบุคลากรทางการแพทย์ที่ส�ำคัญ อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วย Sciences. 2018;12(1S): 1-12. (in Thai).
และครอบครัวมากทีส่ ดุ พยาบาลจ�ำเป็นต้องมีความรูแ้ ละทักษะ 3. Van Mechelen W, Aertgeerts B, De Ceulaer K,
การดูแลผู้ป่วย มีทัศนคติและเจคติท่ีดีต่อการดูแลผู้ป่วยแบบ Thoonsen B, Vermandere M, Warmenhoven F,
ประคับประคอง มีการดูแลผูป้ ว่ ยอย่างองค์รวม ดังนัน้ พยาบาล et al. Defining the palliative care patient: A
จึ ง มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการดู แ ลและช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ่ ว ยและ systematic review. Palliative Medicine. 2013;
ครอบครัว การพยาบาลทีม่ คี ณ ุ ภาพนับเป็นสิง่ ส�ำคัญ และมีความ 27(3): 197-208.
จ�ำเป็นส�ำหรับผู้ป่วยระยะประคับประคองและระยะสุดท้าย 4. Worldwide Palliative Care Alliance. Global atlas
of palliative care at the end of life. Geneva:
World Health Organization; 2014.

ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2563


Vol. 21 No. 1 January - April 2020
วารสารพยาบาลทหารบก
34 บทบาทพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคองในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ Journal of The Royal Thai Army Nurses

5. World Health Organization. Planning and 13. Jevon P. Care of the dying and deceased patient:
implementing palliative care services. A guide A practical guide for nurses. Oxford: Blackwell
for programme managers. Geneva: World Publishing Ltd; 2010.
Health Organization; 2016. 14. Sittipreechachan P. Sharing experience of palliative
6. Phengjard J. Nurse’s role in palliative care. care. J Nurs Sci.2013;31(3)3:18-26. (in Thai).
Journal of Boromarajonani College of Nursing, 15. Walker DK, Edwards RL, Bagcivan G, Bakitas MA.
Bangkok. 2014;30(1): 100-9. (in Thai). Cancer and palliative care in the United
7. Wu HL, Volker DL. Humanistic nursing theory: States, Turkey, and Malawi: Developing
Application to hospice and palliative care. global collaborations. Asia Pac J Oncol Nurs.
J Adv Nurs. 2012;68(2):471-9. 2017;4(3):209–219.
8. Pairojkul S. Palliative care: What, why, when and 16. Sekse RJT, Hunskår I, Ellingsen S. The nurse’s role
how? What is palliative care?. Department in palliative care: A qualitative meta-synthesis.
of Medical Service Journal. 2014; 41(1):19-23. J Clin Nurs. 2018;27(1-2):e21-e38.
(in Thai). 17. Robinson J, Gott M, Gardiner C, Ingleton C.
9. Onsri P. Role of nurses toward taking care of Specialist palliative care nursing and the
patients with the end of life based on religious philosophy of palliative care: A critical
beliefs. Journal of The Royal Thai Army discussion. Int J Palliat Nurs. 2017;23(7):352-8.
Nurses. 2014;15(2): 39-43. (in Thai). 18. Ezer T, Lohman D, de Luca GB. Palliative care
10. Nilmanat K. A Way forward for palliative care and human rights: A decade of evolution
nursing. Pacific Rim Int J Nurs Res. 2019;23(2): in standards. J Pain Symptom Manage. 2018;
101-5. (in Thai). 55(2S):S163-9.
11. Dobrina R, Tenze M, Palese A. An overview of 19. Hermann CP. Spiritual needs of dying patients:
hospice and palliative care nursing models A qualitative study. Oncology Nursing Forum.
and theories. Int J Palliat Nurs. 2014;20(2): 2001;28(1):67-72.
75-81.
12. Pokpalagon P. Palliative care model in Thailand.
Nursing Journal of The Ministry of Public
Health. 2016; 26(3):41-51. (in Thai).

ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2563


Vol. 21 No. 1 January - April 2020

You might also like