Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 36

1

สารบัญ
จำนวนจริง…………………………………………………………………………………..................................…............6
เซต.....................................................................................................................................................10
Expo & Log.......................................................................................................................................13
ตรรกศาสตร์........................................................................................................................................15
เมทริกซ์..............................................................................................................................................16
สถิติ....................................................................................................................................................17
ความน่าจะเป็น...................................................................................................................................20
เวกเตอร์..............................................................................................................................................23
การแจกแจงความน่าจะเป็น...............................................................................................................24
ลำดับและอนุกรม...............................................................................................................................25
แคลคูลัส.............................................................................................................................................27
จำนวนเชิงซ้อน...................................................................................................................................30
ตรีโกณมิติ...........................................................................................................................................33
เรขาคณิตวิเคราะห์.............................................................................................................................36

2
(twitter : @P_Est_)

3
(ig : _px.st)

4
1) จานวนจริง
⊗ สมการ กำลัง 2

ถ้ามีสมการ 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 โดยที่ 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็นจำนวนจริง

−𝑏+√𝑏 2 −4𝑎𝑐 −𝑏−√𝑏 2 −4𝑎𝑐


จะได้คำตอบ 𝑥1 = 2𝑎
และ 𝑥2 = 2𝑎

1) ถ้า 𝑏2 − 4𝑎𝑐 > 0 สรุปได้ว่า สมการมี 2 คำตอบ (แตกต่างกัน)


2) ถ้า 𝑏2 − 4𝑎𝑐 = 0 สรุปได้ว่า สมการมี 1 คำตอบ
3) ถ้า 𝑏2 − 4𝑎𝑐 < 0 สรุปได้ว่า สมการมี 0 คำตอบ
Concept: ถ้าเจอสมการในรูป 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 สามารถแทนสูตรเพื่อหาคำตอบได้
Ex. จงหาคำตอบสมการ 2𝑥 2 − 4𝑥 + 1 = 0 ขั้นแรกเทียบสัมประสิทธิ์ 𝑎, 𝑏, 𝑐
จะได้ 𝑎 = 2 , 𝑏 = -4 , 𝑐 = 1
−𝑏+√𝑏2 −4𝑎𝑐 −𝑏−√𝑏2 −4𝑎𝑐
แทนสูตร 𝑥1 = 2𝑎
และ 𝑥2 =
2𝑎

4+√(−4)2 −4(2)(1) 4−√(−4)2 −4(2)(1)


= =
2(2) 2(2)

4+√16−8 4−√16−8
= =
4 4
4+√8 4−√8
= =
4 4

ดังนั้น คำตอบของสมการคือ 4+4√8 และ 4−4√8

5
⊗ สูตรแยกตัวประกอบ

∎ กาลัง 2 สมบูรณ์
(𝑥 + 𝑦)2 = 𝑥 2 + 2𝑥𝑦 + 𝑦 2

(𝑥 − 𝑦)2 = 𝑥 2 − 2𝑥𝑦 + 𝑦 2

∎ กาลัง 3 สมบูรณ์
(𝑥 + 𝑦)3 = 𝑥 3 + 3𝑥 2 𝑦 + 3𝑥𝑦 2 + 𝑦 3

(𝑥 − 𝑦)3 = 𝑥 3 − 3𝑥 2 𝑦 + 3𝑥𝑦 2 − 𝑦 3

∎ ผลต่าง กาลัง 2
𝑥 2 + 𝑦 2 = แยกไม่ได้

𝑥 2 − 𝑦 2 = (𝑥 + 𝑦)(𝑥 − 𝑦)

∎ ผลต่าง กาลัง 3
𝑥 3 + 𝑦 3 = (𝑥 + 𝑦)(𝑥 2 − 𝑥𝑦 + 𝑦 2 )

𝑥 3 − 𝑦 3 = (𝑥 − 𝑦)(𝑥 2 + 𝑥𝑦 + 𝑦 2 )

6
Concept: สามารถใช้สตู รได้ 2 อย่างหลักๆ คือ “ใช้เพื่อกระจาย” และ “ใช้เพื่อจัดรูป”
Ex 1. ใช้เพื่อกระจาย (ใช้บ่อยในการแก้สมการ)
จงแก้สมการ (𝑥 − 2)2 = 𝑥 (ใช้สูตร (𝑥 − 𝑦)2 ในการกระจายออกมา)
𝑥 2 − 4𝑥 + 4 = 𝑥
𝑥 2 − 5𝑥 + 4 = 0
(𝑥 − 4)(𝑥 − 1) = 0

𝑥= 1, 4
ดังนั้น คำตอบของสมการคือ 1 และ 4

Ex 2. ใช้เพื่อจัดรูป (ใช้บ่อยในบทภาคตัดกรวย)
จงหาจุดศูนย์กลางของวงกลม 𝑥 2 + 4𝑥 + 𝑦 2 − 2𝑦 = 11
𝑥 2 + 4𝑥 + 4 + 𝑦 2 − 2𝑦 + 1 = 11 + 4 + 1
(𝑥 2 + 2(𝑥)(2) + 22 ) + (𝑦 2 − 2(𝑦)(1) + 12 ) = 16
(𝑥 + 2)2 + (𝑦 − 1)2 = 42

ดังนั้น จุดศูนย์กลางของวงกลมคือ (-2, 1) รัศมี 4 หน่วย

7
⊗ อสมการค่าสัมบูรณ์

|𝑥 | ≥ 𝑎 ถอดได้ 𝑥≥𝑎 หรือ 𝑥 ≤ −𝑎

|𝑥 | ≤ 𝑎 ถอดได้ −𝑎 ≤ 𝑥 ≤ 𝑎

( 𝑎 สามารถเป็นได้ทั้ง ตัวเลขและตัวแปร )
ข้อสังเกต: ให้ยึดฝั่ง “แอพ” เป็นหลัก
โดย 𝑎 ≤ |𝑥| (อ่านว่า แอพมากกว่า...) จะถอดได้เหมือนสูตรแรก
𝑎 ≥ |𝑥 | (อ่านว่า แอพน้อยกว่า...) จะถอดได้เหมือนสูตรสอง

Concept: ก่อนใช้จะต้องจัดรูปให้ “ฝั่งซ้าย = แอพ” และ “ฝั่งขวา = ตัวเลข/ตัวแปร”


Ex. จงหาเซตคำตอบของ |2𝑥 + 4| − 𝑥 > 5
|2𝑥 + 4| > 𝑥 + 5 (ใช้สูตร |𝑥| ≥ 𝑎)
ถอดได้ 2𝑥 + 4 > 𝑥 + 5 หรือ 2𝑥 + 4 < −(𝑥 + 5)

2𝑥 − 𝑥 > 5 − 4 2𝑥 + 4 < −𝑥 − 5
𝑥>1 2𝑥 + 𝑥 < −5 − 4
𝑥>1 3𝑥 < −9
𝑥>1 𝑥 < −3
ดังนั้น เซตคำตอบของสมการคือ (−∞, −3) ∪ (1, ∞)

8
2) เซต
⊗ สูตรหาจำนวนสมาชิก

∎ สูตร 2 เซต

𝑛(𝐴 ∪ 𝐵) = 𝑛(𝐴) + 𝑛(𝐵) - 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵)

∎ สูตร 3 เซต

𝑛(𝐴 ∪ 𝐵 ∪ 𝐶) = 𝑛(𝐴) + 𝑛(𝐵) + 𝑛(𝐶)

- 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵) - 𝑛(𝐴 ∩ 𝐶) - 𝑛(𝐵 ∩ 𝐶)


+ 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵 ∩ 𝐶)
Concept: แทนค่าตรงๆเลย Ex. โจทย์บอก 𝑛(𝐴 ∪ 𝐵), 𝑛(𝐴), 𝑛(𝐵) แล้วหา 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵)

⊗ สมบัติยอดฮิต

∎ 𝐴∪𝐵 = 𝐵∪𝐴

∎ (𝐴 ∩ 𝐵)′ = 𝐴′ ∪ 𝐵′

∎ 𝐴 − 𝐵 = 𝐴 ∩ 𝐵′

Concept: ถ้าเราเจอ “เซตที่ซับซ้อน” การใช้สมบัติเหล่านี้จะช่วยน้องได้


Ex. ถ้าเจอเซต 𝐴′ ∪ 𝐵′ แบบนี้ถือว่าซับซ้อน แนะนำให้ใช้สมบัติ
จะได้ 𝐴′ ∪ 𝐵′ = (𝐴 ∩ 𝐵)′ (แทนที่จะหาฝั่งซ้ายไปหาเซตฝั่งขวาง่ายกว่าเยอะ)

9
⊗ ปฏิบัติการของเซต

1. ยูเนี่ ยน (union)
𝐴 ∪ 𝐵 คือ เซตทีไ่ ด้จากการนำเซต 𝐴, 𝐵 มารวมเข้าด้วยกัน
A B
𝐴∪𝐵 =
C
2. อินเตอร์เซกชัน (intersection)
𝐵∩𝐶 คือ เซตทีไ่ ด้จากการนำเซต 𝐵, 𝐶 หาส่วนซ้ำ
A B
𝐵∩𝐶 =
C
3. ผลต่าง (difference)
𝐴−𝐶 คือ เซตทีไ่ ด้จากการนำเซต 𝐴 เป็นตัวตั้ง แล้วหักออกด้วยเซต 𝐶
A B
𝐴−𝐶 =
C
4. คอมพลีเมนต์ (complement)
𝐵′ คือ เซตทีไ่ ด้จากการปิดเซต 𝐵 แล้วเอาทีเ่ หลือทั้งหมด
A B
𝐵′ =
C
10
⊗ การประยุกต์ของเซต
A B C
จากการสำรวจนักเรียนห้องหนึ่งที่ชอบเล่น ฟุตบอล, บาสเกตบอล และวอลเลย์บอล
A B
1 2 3
4 5 6
7
8
C

หมายเลข 1 = นักเรียนที่ชอบฟุตบอลเพียงอย่างเดียว

หมายเลข 3 = นักเรียนที่ชอบบาสเกตบอลเพียงอย่างเดียว

หมายเลข 7 = นักเรียนที่ชอบวอลเลย์บอลเพียงอย่างเดียว

หมายเลข 2 = นักเรียนที่ชอบฟุตบอลและบาสเกตบอลแต่ไม่ชอบวอลเลย์บอล

หมายเลข 4 = นักเรียนที่ชอบฟุตบอลและวอลเลย์บอลแต่ไม่ชอบบาสเกตบอล

หมายเลข 6 = นักเรียนที่ชอบบาสเกตบอลและวอลเลย์บอลแต่ไม่ชอบฟุตบอล

หมายเลข 5 = นักเรียนที่ชอบกีฬาทั้ง 3 ชนิด

หมายเลข 8 = นักเรียนที่ไม่ชอบกีฬาทั้ง 3 ชนิด

Concept: การประยุกต์ควรเน้นฝึก “การใช้คำ” ในแต่ละพื้นที่ของแผนภาพเวนน์

11
3) Expo & Log
⊗ สมบัติ (Expo)

∎ 𝑎0 =1
∎ ( 𝑎 𝑚 )𝑛 = 𝑎𝑚𝑛
1 𝑛
∎𝑎 −𝑛
= (𝑎)
𝑚 𝑚
∎ 𝑎𝑛 = ( 𝑛√𝑎)
𝑚
∎ 𝑎𝑚+𝑛 = (𝑎𝑚 )(𝑎𝑛 ) และ 𝑎𝑚−𝑛 = 𝑎𝑎𝑛
𝑎 𝑛 𝑎𝑛
∎ (𝑎𝑏 )𝑛 =𝑎 𝑛 𝑛
𝑏 และ (𝑏 ) = 𝑏𝑛
Concept: สมบัตเิ หล่านี้ใช้ในการ “จัดรูป” เพื่อนำไป “แก้สมการ” ได้ง่ายขึ้น

Ex. ถ้าน้องเจอ 32+𝑥 ซึ่งยังไม่สามารถจัดรูปได้ จำเป็นต้องใช้สมบัติก่อน


จะได้ 32+𝑥 = (32 )(3𝑥 ) (แทน 3𝑥 เป็น 𝐴 เพื่อแก้สมการในขัน้ ต่อไป)
= 9𝐴

12
⊗ สมบัติ (Log)

∎ 𝑙𝑜𝑔𝑎 1 =0
∎ 𝑙𝑜𝑔𝑎 𝑎 =1
∎ 𝑙𝑜𝑔𝑏 𝑎𝑚 = 𝑚 𝑙𝑜𝑔𝑏 𝑎 และ 𝑙𝑜𝑔𝑏𝑛 𝑎 = 𝑛1 𝑙𝑜𝑔𝑏 𝑎
𝑥
∎ 𝑙𝑜𝑔𝑎 (𝑥𝑦) = 𝑙𝑜𝑔𝑎 𝑥 + 𝑙𝑜𝑔𝑎 𝑦 และ 𝑙𝑜𝑔𝑎 ( ) = 𝑙𝑜𝑔𝑎 𝑥 − 𝑙𝑜𝑔𝑎 𝑦
𝑦

Concept: สมบัติเหล่านี้ใช้ในการ “จัดรูป” เพื่อนำไป “แก้สมการ” ได้ง่ายขึ้น

Ex. ถ้าน้องเจอ 𝑙𝑜𝑔3 (9𝑥) ซึ่งยังไม่สามารถจัดรูปได้ จำเป็นต้องใช้สมบัติก่อน


จะได้ 𝑙𝑜𝑔3 (9𝑥) = 𝑙𝑜𝑔3 9 + 𝑙𝑜𝑔3 𝑥 (แทน 𝑙𝑜𝑔3 𝑥 เป็น 𝐴 เพือ่ แก้สมการ)
= 𝑙𝑜𝑔3 32 + 𝐴 (จากสมบัติ 𝑙𝑜𝑔𝑏 𝑎𝑚 = 𝑚 𝑙𝑜𝑔𝑏 𝑎)
= 2 𝑙𝑜𝑔3 3 + 𝐴 (จากสมบัติ 𝑙𝑜𝑔𝑎 𝑎 = 1)
=2+𝐴

13
4) ตรรกศาสตร์
⊗ ตารางค่าความจริง

∎ “หรือ” จำแค่ 𝐹 ∨ 𝐹 ได้ 𝐹 ส่วนกรณีที่เหลือ ตอบตรงข้าม


∎ “และ” จำแค่ 𝑇 ∧ 𝑇 ได้ 𝑇 ส่วนกรณีที่เหลือ ตอบตรงข้าม
∎ “ถ้า...แล้ว” จำแค่ 𝑇 → 𝐹 ได้ 𝐹 ส่วนกรณีที่เหลือ ตอบตรงข้าม
∎ “ก็ต่อเมื่อ” จำว่า ของเหมือนกันตอบ 𝑇 ส่วนกรณีที่เหลือ ตอบตรงข้าม

⊗ สูตรยอดฮิต (ออกทุกปี)

∎ 𝑝 → 𝑞 ≡ ~𝑝 ∨ 𝑞

∎ ~(𝑝 ∨ 𝑞) ≡ ~𝑝 ∧ ~𝑞

Concept: เนือ่ งจากเครื่องหมาย “ถ้า...แล้ว” ไม่สามารถกระจาย “นิเสธ” จึงต้องใช้สมบัติ

Ex. ถ้าน้องเจอ ~(𝑝 → 𝑞) ซึ่งยังไม่สามารถกระจายได้ (ในวงเล็บต้องใช้สมบัติ)


จะได้ ~(𝑝 → 𝑞) ≡ ~(~𝑝 ∨ 𝑞) (ตอนนีส้ ามารถกระจายนิเสธได้แล้ว)
≡ 𝑝 ∧ ~𝑞

14
⊗ สัจนิรันดร์

∎ สมมติเป็นเท็จแล้วหาขัดแย้ง → เจอขัดแย้ง = เป็นสัจนิรันดร์


⊗ การอ้างเหตุผล (เช็คว่าเป็นสัจนิรันดร์มั้ย)

∎ สมเหตุสมผล [ (เหตุ)1 ∧ (เหตุ)2 ∧ (เหตุ)3 ] → ผล เป็นสัจนิรันดร์


⊗ ตัวบ่งปริมาณ

∎ ∀𝑥 → จับเท็จ 1 ตัว (เจอเท็จตัวเดียว = ตอบเท็จ)


∎ ∃𝑥 → จับจริง 1 ตัว (เจอจริงตัวเดียว = ตอบจริง)
Ex. กำหนดให้ 𝑈 = {1, 2, 3, 4}
จงหาค่าความจริงของ ∀𝑥[𝑥 > 0] และ ∃𝑥[𝑥 < 0]
1) จาก ∀𝑥[𝑥 > 0] พยายามหาเท็จ 1 ตัว โดยเมื่อแทน 𝑥 = 1, 2, 3, 4 ลงไป
พบว่า เป็นจริงทุกกรณีเลย
ดังนั้น ∀𝑥[𝑥 > 0] มีค่าความจริงเป็นจริง

2) จาก ∃𝑥[𝑥 < 0] พยายามหาจริง 1 ตัว โดยเมื่อแทน 𝑥 = 1, 2, 3, 4 ลงไป


พบว่า เป็นเท็จทุกกรณีเลย
ดังนั้น ∃𝑥[𝑥 < 0] มีค่าความจริงเป็นเท็จ

15
5) เมทริกซ์
⊗ สมบัติ (det)

∎ 𝑑𝑒𝑡(𝐴𝐵) = 𝑑𝑒𝑡 𝐴 ⋅ 𝑑𝑒𝑡 𝐵

∎ 𝑑𝑒𝑡 𝐴𝑡 = 𝑑𝑒𝑡 𝐴

∎ 𝑑𝑒𝑡 𝐴𝑛 = (𝑑𝑒𝑡 𝐴)𝑛

∎ 𝑑𝑒𝑡 𝑘𝐴 = 𝑘 𝑛 (𝑑𝑒𝑡 𝐴) เมื่อ 𝑘 เป็นค่าคงที่

Concept: สมบัติเหล่านี้ใช้ในการ “หาคำตอบ” ที่สะดวกและรวดเร็ว

Ex. ถ้า 𝐴 = [1 2
] แล้ว 𝑑𝑒𝑡 𝐴5 เท่ากับเท่าใด
3 4
วิธตี รง: หาเมทริกซ์ 𝐴5 (เอา 𝐴 คูณกัน 5 ครั้ง) แล้วค่อยหา 𝑑𝑒𝑡 𝐴5
วิธีคนปกติ: หา 𝑑𝑒𝑡 𝐴 ก่อน แล้วค่อยใช้สมบัติหาคำตอบ ; จะได้ 𝑑𝑒𝑡 𝐴 = 4 – 6 = –2
ดังนั้น 𝑑𝑒𝑡 𝐴5 = (𝑑𝑒𝑡 𝐴)5 = (−2)5 = –32

⊗ เมทริกซ์อินเวอร์ส

𝑎 𝑏 1 𝑑 −𝑏
ถ้า 𝐴=[ ] แล้ว 𝐴−1 = [
𝑑𝑒𝑡(𝐴) −𝑐
]
𝑐 𝑑 𝑎
Concept: สูตรนี้แทนตรงๆเลยฮะ ถ้าเรารู้ 𝐴 สามารถหา 𝐴−1 โดยแทนสูตรได้เลย
⊗ สมบัติ (อินเวอร์ส)

∎ (𝐴)(𝐴−1 ) = (𝐴−1 )(𝐴) = 𝐼

∎ (𝐴𝐵 )−1 = 𝐵 −1 𝐴−1

16
6) สถิติ
⊗ สรุปสูตรยอดฮิต

∎ ฐานนิยม (Mode) คือ ข้อมูลที่มีการซ้ำกันมากที่สุด (มีได้เพียงค่าเดียว)


𝑥 1 + 𝑥2 + … + 𝑥𝑛
∎ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต (𝑥̅ ) =
𝑛

∎ พิสัย (Range) = 𝑥𝑚𝑎𝑥 – 𝑥𝑚𝑖𝑛


∎ พิสัยระหว่างควอร์ไทล์ (𝐼𝑄𝑅) = 𝑄3 – 𝑄1
∎ ค่านอกเกณฑ์ (Outlier) คือ ค่าทีโ่ ดดออกมาจากข้อมูลส่วนใหญ่

ถ้า 𝑥 แทนค่านอกเกณฑ์ แล้วค่าของ 𝑥 ต้องอยู่ในช่วงต่อไปนี้


3 3
𝑥 < 𝑄1 − 𝐼𝑄𝑅
2
หรือ 𝑥 > 𝑄3 + 𝐼𝑄𝑅
2

∎ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation หรือ S.D.)

∑(𝑥𝑖 −𝜇)2 ∑𝑥 2
𝑆=√
𝑛
หรือ 𝑆 = √ 𝑖 − 𝜇2
𝑛

𝑆 2 = ความแปรปรวน
𝑠
∎ สัมประสิทธิ์การแปรผัน (Coefficient of variation) =
𝑥̅

Concept: สูตรทั้งหมดนี้สามารถแทนตรงๆได้เลยฮะ (มีแค่ควอไทล์ที่ตอ้ งหา 2 step)

17
⊗ การหาตำแหน่ง

∎ ตัวละครพิเศษ ที่จำเป็นต้องหาตำแหน่งก่อนเสมอ

ตำแหน่งมัธยฐาน = 12 (𝑛 + 1)
ตำแหน่งควอไทล์ = 𝑟4 (𝑛 + 1)
𝑟
ตำแหน่งเปอร์เซนไทล์ = 100 (𝑛 + 1)

Concept: ตัวละครเหล่านี้ จำเป็นต้องหา 2 step ทุกครั้ง


นั่นคือ หาตำแหน่ง & หาค่า

Ex. จงหาพิสยั ระหว่างควอไทล์ของข้อมูล 2, 5, 9, 13, 17, 21


หาควอไทล์ที่ 1 (𝑟 = 1)
Step 1: หาตำแหน่ง = 𝑟4 (𝑛 + 1) = 14 (6 + 1) = ตัวที่ 1.75
Step 2: หาค่าตัวที่ 1.75 = ตัวที่ 1 + ตัวที่ 0.75
= 2 + 0.75(ตัวที่ 2 – ตัวที่ 1)
= 2 + 0.75(5 – 2)
= 2 + 2.25
= 4.25 (ค่าของ 𝑄1 )

18
หาควอไทล์ที่ 3 (𝑟 = 3)
Step 1: หาตำแหน่ง = 𝑟4 (𝑛 + 1) = 34 (6 + 1) = ตัวที่ 5.25
Step 2: หาค่าตัวที่ 5.25 = ตัวที่ 5 + ตัวที่ 0.25
= 17 + 0.25(ตัวที่ 6 – ตัวที่ 5)
= 17 + 0.25(21 – 17)
= 17 + 1
= 18 (ค่าของ 𝑄3 )

ดังนั้น พิสยั ระหว่างควอไทล์ = 𝑄3 – 𝑄1


= 18 – 4.25
= 13.75

19
7) ความน่าจะเป็น
⊗ หลักการบวก

ถ้างานชิ้นหนึ่ง แบ่งเป็น 𝑘 กรณี


กรณี 1 เลือกทำได้ 𝑛1 วิธี
กรณี 2 เลือกทำได้ 𝑛2 วิธี

กรณี k เลือกทำได้ 𝑛𝑘 วิธี
ดังนั้น เราจะมีวิธีทำงานชิ้นนี้ได้ทั้งหมด 𝑛1 + 𝑛2 + ⋯ + 𝑛𝑘 วิธี
⊗ หลักการคูณ

ถ้างานชิ้นหนึ่ง แบ่งเป็น 𝑘 ขั้นตอน


ขั้นตอน 1 เลือกทำได้ 𝑛1 วิธี
ขั้นตอน 2 เลือกทำได้ 𝑛2 วิธี

ขั้นตอน k เลือกทำได้ 𝑛𝑘 วิธี
ดังนั้น เราจะมีวิธีทำงานชิ้นนี้ได้ทั้งหมด 𝑛1 ⋅ 𝑛2 ⋅ … ⋅ 𝑛𝑘 วิธี
Concept: มองงานเป็นภาพใหญ่ 1 ชิ้น โดยงานชิ้นนี้จะแบ่งเป็นงานหลักได้ 𝑛 กรณี
(งานหลักใช้หลักการบวก) ในแต่ละกรณีก็จะแบ่งเป็นงานย่อย ๆ (งานย่อยใช้หลักการคูณ)

20
⊗ การจัดหมู่ (Combination)

∎ ลาดับไม่มีความสาคัญ
∎ สูตร
มีของ 𝑛 ชิ้นต่างกัน เลือกมา 𝑟 ชิ้น
𝑛 𝑛!
จะเลือกได้ 𝐶𝑛,𝑟 = ( 𝑟 ) = (𝑛−𝑟)!𝑟! วิธี
Concept: การจัดหมู่ = การเลือก/หยิบ
Ex. จงหาจำนวนวิธีในการสุ่มหยิบลูกบอล 7 ลูก จากกล่องที่มีลูกบอล 10 ลูก ที่แตกต่างกัน
10!
ดังนั้น สุ่มหยิบลูกบอลได้ 𝐶10,7 = (10−7)!7! = 120 วิธี

⊗ การเรียงสับเปลี่ยน (Permutation)

∎ ลาดับมีความสาคัญ
∎ สูตร
มีของ 𝑛 ชิ้นต่างกัน นำมาเรียงทีละ 𝑟 ชิ้น
𝑛!
จะเรียงได้ 𝑃𝑛,𝑟 = (𝑛−𝑟)! วิธี
Concept: การเรียงสับเปลี่ยน = การเลือก + การเรียงเส้นตรง
Ex. ร้านพี่เอสมีเสื้อ 7 ตัว พี่เอสจะสามารถนำเสือ้ 4 ตัว มาโชว์หน้าร้านเป็นเส้นตรงได้กี่วิธี
จาก มีเสื้อ 7 ตัว เลือกมา 4 ตัวแล้วเรียงเป็นเส้นตรง = การเรียงสับเปลี่ยน
7!
ดังนั้น พี่เอสเรียงหน้าร้านได้ 𝑃7,4 = (7−4)! = 840 วิธี

21
⊗ การจัดเรียง

∎ เรียงของไม่มีเงื่อนไข
มีของ 𝑛 ชิ้น (ของแตกต่างทั้งหมด)
เรียงแบบเส้นตรงได้ 𝑛! วิธี
เรียงแบบวงกลมได้ (𝑛 − 1)! วิธี
∎ เรียงของซ้า
มีของ 𝑛 ชิ้น (มีของซ้ำรวมอยู่ด้วย)
𝑛!
เรียงแบบเส้นตรงได้ (ซ้า1 )! (ซ้า2 )!… (ซ้า𝑛 )!
วิธี
∎ เรียงของติดกัน
Trick: ยัดลงในกล่อง → นับกล่องเป็น 1 ชิ้น (อย่าลืม! สลับของในกล่อง)

⊗ การนับแบบตรงข้าม

หลักการ เหตุการณ์ที่สนใจ (โจทย์ถาม) = ทั้งหมด – เหตุการณ์ที่ไม่สนใจ


Concept: ใช้บ่อยเมือ่ เจอ “อย่างน้อย” หรือ “อย่างมาก”

⊗ ทฤษฎีบททวินาม (Binomial Theorem)


𝑛 𝑛 𝑛
ถ้ามี (𝑥 + 𝑦)𝑛 = ( ) 𝑥 𝑛 + ( ) 𝑥 𝑛−1 𝑦 + ⋯ + ( ) 𝑦 𝑛
0 1 𝑛
𝑛 𝑛 𝑛
จะได้ ผลบวกสัมประสิทธิ์ = (0) + (1) + … + (𝑛) = 2𝑛

22
8) เวกเตอร์
⊗ ผลคูณเชิงสเกลาร์ (dot)

∎ ถ้า 𝑎̅ ตั้งฉากกับ 𝑏̅ แล้ว 𝑎̅ ⋅ 𝑏̅ = 0 ***ออกเกือบทุกปี


∎ ถ้า 𝑎̅ ขนานกับ 𝑏̅ แล้ว 𝑎̅ = 𝑘𝑏̅ เมื่อ 𝑘 เป็นจำนวนจริง
∎ 𝑎̅ ⋅ 𝑎̅ = |𝑎̅|2
∎ 𝑎̅ ⋅ 𝑏̅ = |𝑎̅||𝑏̅| 𝑐𝑜𝑠 𝜃
∎ 𝑎̅ ⋅ (𝑏̅ + 𝑐̅) = 𝑎̅ ⋅ 𝑏̅ + 𝑎̅ ⋅ 𝑐̅
2 2
∎ |𝑎̅ + 𝑏̅| = |𝑎̅|2 + 2𝑎̅ ⋅ 𝑏̅ + |𝑏̅|
⊗ ผลคูณเชิงเวกเตอร์ (cross)

∎ 𝑎̅ × 𝑎̅ = 0̅
∎ 𝑎̅ × 𝑏̅ = −(𝑏̅ × 𝑎̅)
∎ |𝑎̅ × 𝑏̅| = |𝑎̅||𝑏̅| 𝑠𝑖𝑛 𝜃
∎ 𝑎̅ × (𝑏̅ + 𝑐̅) = 𝑎̅ × 𝑏̅ + 𝑎̅ × 𝑐̅
∎ 𝑎̅ ⋅ (𝑏̅ × 𝑐̅) = 𝑏̅ ⋅ (𝑐̅ × 𝑎̅) = 𝑐̅ ⋅ (𝑎̅ × 𝑏̅)
⊗ การประยุกต์

∎ พื้นที่สี่เหลี่ยมด้านขนาน เท่ากับ |𝑢̅ × 𝑣̅ |


1
∎ พื้นที่สามเหลีย่ ม เท่ากับ |𝑢̅ × 𝑣̅ |
2

∎ ปริมาตรทรงสี่เหลีย่ มด้านขนาน เท่ากับ |𝑢̅ ⋅ (𝑣̅ × 𝑤


̅)|

23
9) การแจกแจงความน่าจะเป็น
⊗ ตัวแปรสุ่ม

∎ ค่าคาดหมาย 𝜇 = ∑𝑛
𝑖=1 𝑥𝑖 𝑃𝑖
𝑛
∎ ความแปรปรวน 𝜎 2 = ∑𝑖=1(𝑥𝑖 − 𝜇)2 𝑃𝑖

โดยที่ 𝑥𝑖 = ค่าของข้อมูล
𝜇 = ค่าเฉลีย่
𝑃𝑖 = ความน่าจะเป็น

Concept: สูตรทั้งหมดนี้สามารถแทนค่าตรงๆได้เลยฮะ
⊗ การแจกแจงทวินาม
𝑛
∎ ความน่าจะเป็น 𝑓(𝑥 ) = ( ) 𝑝 𝑥 𝑞 𝑛−𝑥 โดยที่ 𝑝 + 𝑞 = 1
𝑥
∎ ค่าคาดหมาย 𝜇 = 𝑛𝑝
∎ ความแปรปรวน 𝜎 2 = 𝑛𝑝𝑞
โดยที่ 𝑛 = จำนวนทั้งหมด

𝑥 = จำนวนทีส่ นใจ (โจทย์ถาม)


𝑝 = ความน่าจะเป็นที่ทำให้สำเร็จ

𝑞 = ความน่าจะเป็นที่ทำให้ไม่สำเร็จ = 1 – 𝑝
Concept: สูตรทั้งหมดนี้สามารถแทนค่าตรงๆได้เลยฮะ

24
10) ลาดับและอนุกรม
⊗ ลำดับ (Sequence)

∎ ลาดับเลขคณิต คือ ลำดับที่เพิม่ โดยการ “บวก” หรือ “ลบ” แบบคงที่

พจน์ทั่วไป 𝑎𝑛 = 𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑

ผลต่างร่วม 𝑑 = 𝑎𝑛+1 − 𝑎𝑛 (จับตัวที่ติดกันลบกัน)

Concept: จำเป็นต้องหาผลต่างร่วม (𝑑) อันดับแรก เพราะ ต้องใช้หาพจน์ทั่วไป

∎ ลาดับเรขาคณิต คือ ลำดับที่เพิม่ โดยการ “คูณ” หรือ “หาร”แบบคงที่

พจน์ทั่วไป 𝑎𝑛 = 𝑎1 ⋅ 𝑟 𝑛−1
𝑎𝑛+1
อัตราส่วนร่วม 𝑟 = (จับตัวที่ติดกันหารกัน)
𝑎𝑛

Concept: จำเป็นต้องหาอัตราส่วนร่วม (𝑟) อันดับแรก เพราะ ต้องใช้หาพจน์ทั่วไป

∎ ลาดับฮาร์มอนิก (Harmonic sequence)


ถ้า 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , …, 𝑎𝑛 เป็นลำดับฮาร์มอนิก
1
แล้ว 𝑎1
, 𝑎1 , 𝑎1 , …, 𝑎1 เป็นลำดับเลขคณิต
2 3 𝑛

Concept: แค่รู้ “นิยาม” ด้านบน 2 บรรทัด ของฮาร์มอนิกได้ ก็เพียงพอแล้วฮะ

25
⊗ อนุกรม (Series)

∎ อนุกรมเลขคณิต คือ การบวกของลำดับเลขคณิต


𝑛
ผลรวม 𝑆𝑛 = (𝑎1 + 𝑎𝑛 )
2

Concept: สูตรนี้สามารถใช้ได้เมื่อ “พจน์ที่น้องจับบวกกันเป็นลำดับเลข”

∎ อนุกรมเรขาคณิต คือ การบวกของลำดับเรขาคณิต

𝑎1 (1−𝑟 𝑛 )
ผลรวม 𝑆𝑛 =
1−𝑟
𝑎1
𝑆∞ = หาค่าได้/ลูเ่ ข้าเมื่อ |𝑟| < 1
1−𝑟

Concept: สูตรนี้สามารถใช้ได้เมื่อ “พจน์ที่น้องจับบวกกันเป็นลำดับเรขา”

26
11) แคลคูลัส
⊗ สูตรของอนุพันธ์ (ดิฟ)
𝑑
∎ (𝑘) = 0 เมื่อ k เป็นค่าคงที่
𝑑𝑥

𝑑
∎ (𝑥 𝑛 ) = (𝑛)𝑥 𝑛−1
𝑑𝑥

𝑑 𝑑 𝑑 𝑑
∎ (𝑓 + 𝑔 − ℎ) = (𝑓) + (𝑔) − (ℎ)
𝑑𝑥 𝑑𝑥 𝑑𝑥 𝑑𝑥

𝑑 𝑑 𝑑
∎ (𝑓 ⋅ 𝑔) = 𝑓 (𝑔) + 𝑔 (𝑓)
𝑑𝑥 𝑑𝑥 𝑑𝑥

ⅆ ⅆ
𝑑 𝑓 𝑔 (𝑓) − 𝑓 (𝑔)
ⅆ𝑥 ⅆ𝑥

𝑑𝑥 𝑔
( )= (𝑔 ) 2

⊗ ฟังก์ชันเพิ่ม & ฟังก์ชันลด

𝑓 เป็นฟังก์ชันเพิ่ม ก็ต่อเมื่อ 𝑓 ′ (𝑥 ) > 0

𝑓 เป็นฟังก์ชันลด ก็ต่อเมื่อ 𝑓 ′ (𝑥) < 0

⊗ อัตราการเปลี่ยนแปลง (Rate of change)


𝑦2 − 𝑦1
∎ อัตราเปลีย่ นแปลงเฉลีย่ = (โจทย์จะกำหนดมาให้ 2 จุด)
𝑥2 − 𝑥1

∎ อัตราเปลีย่ นแปลงที่จุด 𝑎 = 𝑓 ′ (𝑎) (โจทย์จะกำหนดมาให้ 1 จุด)

27
⊗ ปฏิยานุพันธ์ (อินทิเกรต)

อินทิเกรต (Integration) คือ การคิดย้อนกลับของอนุพันธ์

ดิฟ ดิฟ ดิฟ

∫ 𝑓(𝑥 )𝑑𝑥 𝑓 (𝑥 ) 𝑓 ′ (𝑥 ) 𝑓 ′′ (𝑥 )

อินทิเกรต อินทิเกรต อินทิเกรต

⊗ สูตรของปฏิยานุพันธ์ (อินทิเกรต)

∎ ∫ 𝑘 𝑑𝑥 = 𝑘𝑥 + 𝐶 เมื่อ k, C เป็นค่าคงที่

∎ ∫ 𝑘 ⋅ 𝑥 𝑛 𝑑𝑥 = 𝑘∫ 𝑥 𝑛 𝑑𝑥

𝑥 𝑛+1
∎ ∫ 𝑥 𝑛 𝑑𝑥 = 𝑛+1
+𝐶 เมื่อ n ≠ 1

∎ ∫ (𝑓(𝑥 ) + 𝑔(𝑥 )) 𝑑𝑥 = ∫ 𝑓 (𝑥 ) 𝑑𝑥 + ∫ 𝑔(𝑥 ) 𝑑𝑥


𝑎
∎ ∫𝑎 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = 0

𝑏 𝑎
∎ ∫𝑎 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = − ∫𝑏 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥

28
⊗ พื้นที่ปิดล้อม
𝑓(𝑥 )

𝐴1

𝐴2

1) หาจุดตัดแกน 𝑥 (หาจุดตัด โดยจับ 𝑦 = 0)


2) วาดรูปคร่าว ๆ เพื่อดูว่าพื้นทีส่ ่วนทีส่ นใจ อยู่เหนือแกน หรือ อยู่ใต้แกน
3) หาพื้นที่แต่ละส่วน (ต้องแยกคิดเป็น 2 ส่วน = บนแกน & ใต้แกน)
𝑐
𝐴1 = ∫𝑎 𝑓(𝑥 ) 𝑑 (𝑥 ) (พื้นที่บนแกน 𝑥 อินทิเกรตได้บวก)
𝑏
𝐴2 = − ∫𝑐 𝑓 (𝑥 ) 𝑑 (𝑥 ) (พื้นที่ใต้แกน 𝑥 อินทิเกรตได้ลบ)

⊗ การเคลื่อนที่ของวัตถุ

∎ ระยะทาง
ฟังก์ชันระยะทางของวัตถุ ณ ขณะเวลา 𝑡 ใด ๆ แทนด้วย 𝑠(𝑡)
∎ ความเร็ว (velocity) = ดิฟระยะทาง
ฟังก์ชันความเร็วของวัตถุ ณ ขณะเวลา 𝑡 ใด ๆ แทนด้วย 𝑣(𝑡)
𝑣(𝑡) = 𝑠 ′ (𝑡)
∎ ความเร่ง (acceleration) = ดิฟความเร็ว
ฟังก์ชันความเร่งของวัตถุ ณ ขณะเวลา 𝑡 ใด ๆ แทนด้วย 𝑎(𝑡)
𝑎(𝑡) = 𝑣 ′ (𝑡) = 𝑠 ′′ (𝑡)

29
12) จานวนเชิงซ้อน
⊗ สมบัติ (ค่าสัมบูรณ์/ขนาด)

ค่าสัมบูรณ์ ของจำนวนเชิงซ้อน z = a - bi แทนด้วย |𝑧| = √𝑎2 + 𝑏2


∎ |𝑧| = |−𝑧| = |𝑧̅|
∎ 𝑧 ⋅ 𝑧̅ = |𝑧|2
∎ |𝑧1 𝑧2 | = |𝑧1 | ⋅ |𝑧2 |
𝑧 |𝑧1 |
∎ | 1| =
𝑧2 |𝑧2 |
เมื่อ 𝑧2 ≠ 0
∎ |𝑧 𝑛 | = |𝑧|𝑛

⊗ สมบัติ (สังยุค)

สังยุค (𝑧̅) คือ การเปลี่ยนเครื่องหมายส่วนจินตภาพ เป็นตรงข้าม


ถ้ามี 𝑧 = 𝑎 − 𝑏𝑖 จะได้ว่า 𝑧̅ = 𝑎 + 𝑏𝑖
∎ (̅̅̅̅
𝑧̅) = 𝑧 และ ̅̅̅
𝑘𝑧 = 𝑘 ⋅ 𝑧̅

∎ ̅̅̅̅̅̅̅̅̅
𝑧1 + 𝑧2 = 𝑧̅1 + 𝑧̅2 และ 𝑧1 − 𝑧2 = 𝑧̅1 − 𝑧̅2
̅̅̅̅̅̅̅̅̅

̅̅̅̅̅
𝑧 𝑧̅
∎ ̅̅̅̅̅̅̅̅
𝑧1 ⋅ 𝑧2 = 𝑧̅1 ⋅ 𝑧̅2 และ (𝑧1 ) = 𝑧̅1
2 2

∎ ̅̅̅̅̅̅
(𝑧 𝑛 ) = (𝑧̅)𝑛
Concept: สังยุคส่วนใหญ่จะใช้ตอนที่ “ตัวส่วนติด 𝑖”

30
⊗ รูปเชิงขั้ว (Polar Form)

∎ รูปทั่วไป 𝑧 = 𝑥 + 𝑦𝑖

∎ รูปเชิงขั้ว 𝑧 = 𝑟(cos 𝜃 + 𝑖 𝑠𝑖𝑛 𝜃)


= 𝑟 𝑐𝑖s 𝜃
โดยที่ 𝑟 = |𝑧| = √𝑥 2 + 𝑦 2
𝑥
𝜃 = 𝑎𝑟𝑐𝑡𝑎𝑛 | |
𝑦
*ดูเครือ่ งหมาย (𝑥,𝑦) เพือ่ เลือกจตุภาค

⊗ ปฏิบัติการของรูปเชิงขั้ว

กำหนดให้ 𝑧1 = 𝑟1 𝑐𝑖𝑠 𝜃1 และ 𝑧2 = 𝑟2 𝑐𝑖𝑠 𝜃2


∎ 𝑧 𝑛 = 𝑟 𝑛 ⋅ 𝑐𝑖𝑠(𝑛𝜃)

∎ 𝑧1 𝑧2 = 𝑟1 𝑟2 ⋅ 𝑐𝑖𝑠(𝜃1 + 𝜃2 )

𝑧1 𝑟1
∎ = ⋅ 𝑐𝑖𝑠(𝜃1 − 𝜃2 )
𝑧2 𝑟2

Concept: สูตรทั้งหมดนี้สามารถแทนค่าไปตรงๆได้เบยฮะ

31
⊗ รากที่ 2 ของจำนวนเชิงซ้อน

∎ สูตรรากที่สอง (z = a + bi)
|𝑧|+𝑎 |𝑧|−𝑎
กรณี 𝑏≥0 รากทีส่ องของ 𝑧 คือ ± (√
2
+√
2
𝑖)

|𝑧|+𝑎 |𝑧|−𝑎
กรณี 𝑏<0 รากทีส่ องของ 𝑧 คือ ± (√
2
−√
2
𝑖)

Concept: รากที่สอง จะมี 2 ค่าเสมอ (สังเกตจากเครื่องหมาย บวก/ลบ หน้าวงเล็บ)

⊗ รากที่ N ของจำนวนเชิงซ้อน

กำหนดให้ 𝑧 = 𝑟(𝑐𝑜𝑠 𝜃 + 𝑖 𝑠𝑖𝑛 𝜃) เป็นจำนวนเชิงซ้อน


รากที่ 𝑛 ของ 𝑧 มีทั้งหมด 𝑛 ราก หาได้จากสูตร
1 1
𝜃 2𝑘𝜋
𝑧 = 𝑟 ⋅ 𝑐𝑖𝑠( 𝑛 +
𝑛 𝑛
𝑛
) เมื่อแทน 𝑘 = 0, 1, 2, … , 𝑛 – 1

เทคนิ คการจา !!
1
ขั้นที่ 1 : ค่ารากหลัก คือ 𝑟 𝑛 ⋅ 𝑐𝑖𝑠(𝜃𝑛) (ค่ารากหลักคือ 𝑘 = 0)
ขั้นที่ 2 : ค่ารากที่เหลือ คือ การเอามุม 2𝜋 หารด้วย 𝑛 แล้วบวกทบมุมของ
ค่ารากหลักไปเรื่อยๆ จนครบทั้งหมด 𝑛 ราก (หรือการแทน 𝑘 = 1, 2, 3, …)

32
13) ตรีโกณมิติ
⊗ ฟังก์ชันพื้นฐาน

a c

𝜃
C b A
ข้าม 𝑎 ฉาก 𝑐
𝑠𝑖𝑛 𝜃 = = 𝑐𝑜𝑠𝑒𝑐 𝜃 = =
ฉาก 𝑐 ข้าม 𝑎
ชิด 𝑏 ฉาก 𝑐
𝑐𝑜𝑠 𝜃 = = 𝑠𝑒𝑐 𝜃 = =
ฉาก 𝑐 ชิด 𝑏
ข้าม 𝑎 ชิด 𝑏
𝑡𝑎𝑛 𝜃 = = 𝑐𝑜𝑡 𝜃 = =
ชิด 𝑏 ข้าม 𝑎

⊗ มุมพื้นฐาน

30° 45° 60°

𝑠𝑖𝑛 𝐴 1 √2 √3
2 2 2
𝑐𝑜𝑠 𝐴 √3 √2 1
2 2 2
𝑡𝑎𝑛 𝐴 1
1 √3
√3

33
⊗ สรุปสูตรออกบ่อย

∎ เอกลักษณ์
𝑠𝑖𝑛2 𝐴 + 𝑐𝑜𝑠 2 𝐴 = 1
𝑠𝑒𝑐 2 𝐴 - 𝑡𝑎𝑛2 𝐴 = 1
𝑐𝑜𝑠𝑒𝑐 2 𝐴 - 𝑐𝑜𝑡 2 𝐴 = 1

∎ มุม 2 เท่า
𝑠𝑖𝑛 2𝐴 = 2𝑠𝑖𝑛 𝐴 𝑐𝑜𝑠 𝐴

𝑐𝑜𝑠 2𝐴 = 𝑐𝑜𝑠 2 𝐴 - 𝑠𝑖𝑛2 𝐴

= 2𝑐𝑜𝑠 2 𝐴 - 1

= 1 - 2𝑠𝑖𝑛2 𝐴

2 𝑡𝑎𝑛 𝐴
𝑡𝑎𝑛 2𝐴 =
1 − 𝑡𝑎𝑛2 𝐴

∎ ผลบวก & ผลต่าง


𝑠𝑖𝑛(𝐴 ± 𝐵) = 𝑠𝑖𝑛 𝐴 𝑐𝑜𝑠 𝐵 ± 𝑐𝑜𝑠 𝐴 𝑠𝑖𝑛 𝐵

𝑐𝑜𝑠(𝐴 ± 𝐵) = 𝑐𝑜𝑠 𝐴 𝑐𝑜𝑠 𝐵 ∓ 𝑠𝑖𝑛 𝐴 𝑠𝑖𝑛 𝐵

𝑡𝑎𝑛 𝐴 ± 𝑡𝑎𝑛𝐵
𝑡𝑎𝑛(𝐴 ± 𝐵) =
1 ∓ 𝑡𝑎𝑛𝐴 𝑡𝑎𝑛𝐵

34
⊗ การนำไปใช้ (สามเหลี่ยมไม่ฉาก)

A c
b
B
C a

∎ กฎของไซน์ (Sine’s Law)


𝑎 𝑏 𝑐
= 𝑠𝑖𝑛 𝐵 = 𝑠𝑖𝑛 𝐶
𝑠𝑖𝑛 𝐴

∎ กฎของโคไซน์ (Cosine’s Law)


𝑎2 = 𝑏 2 + 𝑐 2 − 2𝑏𝑐 𝑐𝑜𝑠 𝐴
𝑏 2 = 𝑎2 + 𝑐 2 − 2𝑎𝑐 𝑐𝑜𝑠 𝐵
𝑐 2 = 𝑎2 + 𝑏 2 − 2𝑎𝑏 𝑐𝑜𝑠 𝐶
Concept: กฎนีใ้ ช้ได้ก็ต่อเมื่อเจอ สามเหลีย่ มใด ๆ (ไม่ฉาก) ซึ่งสามารถแทนค่าตรงๆได้เลย

⊗ อินเวอร์สตรีโกณ

𝑠𝑖𝑛(𝑎𝑟𝑐𝑠𝑖𝑛(𝑥)) = 𝑥
𝑐𝑜𝑠(𝑎𝑟𝑐𝑐𝑜𝑠(𝑥)) = 𝑥
𝑡𝑎𝑛(𝑎𝑟𝑐𝑡𝑎𝑛(𝑥)) = 𝑥

35
14) เรขาคณิ ตวิเคราะห์
⊗ เส้นตรง

∎ ระยะห่างระหว่าง จุดกับจุด

𝑑 = √(𝑥1 − 𝑥2 )2 + (𝑦1 − 𝑦2 )2

∎ ระยะห่างระหว่าง จุดกับเส้นตรง (ระยะที่ลากไปตั้งฉากกับเส้น)


|𝐴𝑥 + 𝐵𝑦 + 𝐶 |
𝑑 =
√𝐴2 + 𝐵2

∎ ระยะห่างระหว่าง เส้นตรงกับเส้นตรง (เส้นตรงต้องขนานกัน)


|𝐶1 − 𝐶2 |
𝑑 =
√𝐴2 + 𝐵2

∎ จุดกึ่งกลาง (จับบวกกันหารสอง)
𝑥1 + 𝑥2 𝑦1 + 𝑦2
กึ่งกลาง =(
2
, 2
)

𝑦2 − 𝑦1
∎ ความชัน (m) =
𝑥2 − 𝑥1

ถ้า 𝐿1 ตั้งฉากกับ 𝐿2 แล้ว 𝑚1 ⋅ 𝑚2 = −1

ถ้า 𝐿1 ขนานกับ 𝐿2 แล้ว 𝑚1 = 𝑚2

Concept: สูตรพวกนี้สามารถแทนค่าตรงๆได้เลยฮะ ***หาความชันออกทุกปี

36

You might also like