3 A60335 2 25 2565 PDF

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 44

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

THAI INDUSTRIAL STANDARD


มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565

ั้น
่าน
IEC 60335-2-25:2020

็นเท
ความปลอดภัยของเครื่องใช้ไฟฟ้าสาหรับใช้ใน

ิดเห
ที่อยู่อาศัยและเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นที่คล้ายกัน

เล่ม 2(25) ข้อกาหนดเฉพาะสาหรับเตาอบไมโครเวฟ
าม
รวมถึงเตาอบไมโครเวฟร่วม
คว
HOUSEHOLD AND SIMILAR ELECTRICAL APPLIANCES - SAFETY -
ฟัง

PART 2-25: PARTICULAR REQUIREMENTS FOR MICROWAVE OVENS,


รับ

INCLUDING COMBINATION MICROWAVE OVENS


การ
รับ
ําห

สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ใช้ส

กระทรวงอุตสาหกรรม ICS 13.120, 97.040.20 ISBN


ใช้ส
ําห
รับ
การ
รับ
ฟัง
คว
าม
คิดเห
็นเท
่าน
ั้น
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ความปลอดภัยของเครื่องใช้ไฟฟ้าสาหรับใช้ใน
ที่อยู่อาศัยและเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นที่คล้ายกัน

ั้น
เล่ม 2(25) ข้อกาหนดเฉพาะสาหรับเตาอบไมโครเวฟ

่าน
รวมถึงเตาอบไมโครเวฟร่วม

็นเท
ิดเห
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565

าม
คว
ฟัง

สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพฯ 10400
รับ

โทรศัพท์ 0 2430 6815


การ
รับ
ําห
ใช้ส

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เล่ม ตอนพิเศษ


วันที่ พุทธศักราช 25xx
คณะอนุกรรมการวิชาการรายสาขา คณะที่ 12/4
เตาไมโครเวฟ
คณะอนุกรรมการวิชาการรายสาขา คณะที่ 12/4 เตาไมโครเวฟ ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการวิชาการรายสาขา คณะที่ 12
เครื่องใช้ไฟฟ้า ให้จัดทาร่างมาตราานลิิตััณ์ออุต สาหกรรมเตาไมโครเวฟแิะปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย
ดังรายชื่อต่อไปนี้
ประธานอนุกรรมการ

ั้น
่าน
นายศักดา บุญทองใหม่ การไฟฟ้าฝ่ายลิิตแห่งประเทศไทย
อนุกรรมการ

็นเท
นายสุรยุทธ บุญมาทัต
นายเรืองฤทธิ์ หนิแหนะ ศูนยอทดสอบลิิตััณ์อไฟฟ้าแิะอิเิ็กทรอนิกสอ

ิดเห
ว่าที่ร้อยตรีวิรงคอ พุทธาวงศอ การไฟฟ้านครหิวง
นายสรายุทธ บุรีแก้ว การไฟฟ้าส่วนัูมิัาค
นายดารงคอ โชตินุชิตตระกูิ
ค บริษัท ชารอพ แอพพิายแอนซอ (ประเทศไทย) จากัด
าม
นายณรงคอ พรแสง บริษัท ไทยโตชิบาอุตสาหกรรม จากัด
อนุกรรมการและเลขานุการ
คว
นางสาวอนรรฆวี สิงหอิอ สานักงานมาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรม
ฟัง
รับ
การ
รับ
ําห
ใช้ส

(2)
มาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรม ความปิอดััยของเครื่องใช้ไฟฟ้าสาหรับใช้ในที่อยู่อาศัยแิะเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นที่
คิ้ายกัน เิ่ม 2(25) ข้อกาหนดเฉพาะสาหรับเตาอบไมโครเวฟ รวมถึงเตาอบไมโครเวฟร่วม นี้ ประกาศใช้ครั้งแรก
เป็นมาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรม ความปิอดััยของเครื่องใช้ไฟฟ้าสาหรับใช้ในที่อยู่อาศัยแิะงานที่มีิักษณะ
คิ้ายกัน ข้อกาหนดเฉพาะสาหรับเตาอบไมโครเวฟ มาตราานเิขที่ มอก. 1773-2542 ในราชกิจจานุเบกษาฉบับ
ประกาศทั่วไป เิ่ม 117 ตอนที่ 80 ง ิงวันที่ 5 ตุิาคม พุทธศักราช 2543 แิะได้ประกาศยกเิิกแิะกาหนดเป็น
มาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรม เตาไมโครเวฟสาหรับใช้ในที่อยู่อาศัย เฉพาะด้านความปิอดััย มาตราานเิขที่

ั้น
มอก. 1773-2548 ในราชกิจจานุเบกษาฉบับประกาศทั่วไป เิ่ม 122 ตอนที่ 110 ง ิงวันที่ 1 ธันวาคม พุทธศักราช

่าน
2548 ต่อ มาสาระส าคั ญทางวิ ช าการเปิี่ ย นแปิงไป จึ งได้ พิจ ารณาเห็ นควรแก้ ไขปรับ ปรุ ง เพื่ อ ให้ ทั นสมั ยแิะ
สอดคิ้องสอดกับมาตราานอ้างอิง จึงได้แก้ไขปรับปรุงโดยยกเิิกมาตราานเดิมแิะกาหนดมาตราานนี้ ขึ้นใหม่

็นเท
มาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรมนี้ ต้องใช้ร่วมกับมาตราานลิิ ตััณ์ออุตสาหกรรม ความปิอดััยของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ัายในบ้ านแิะเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นที่คิ้ายกัน ข้อกาหนดทั่วไป มาตราานเิขที่ มอก. 1375 โดยมีการ “เพิ่มเติม
ข้อความ” “แก้ไขข้อความ” หรื อ “แทนข้อความ” เพื่อให้ข้อกาหนดต่าง ๆ สมบูรณอมีความเหมาะสมที่จะใช้กับ

ิดเห
มาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรม นี้
มาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรมนี้ กาหนดขึ้นโดยรับ IEC 60335-2-25 Edition 7.0 2020-01 Household and
similar electrical appliances - Safety - Part 2 - 2 5 : Particular requirements for microwave ovens,

including combination microwave ovens มาใช้ โ ดยวิ ธี แ ปิ (translation) ในระดั บ เหมื อ นกั น ทุ ก ประการ
าม
(identical)
คว
ฟัง
รับ
การ
รับ
ําห

คณะกรรมการมาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรมได้พิจารณามาตราานนี้แิ้ว เห็นสมควรเสนอรัามนตรีประกาศตาม
มาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ
ใช้ส

มาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2558

(3)
สารบัญ
หน้า
1 ขอบข่าย 1
2 เอกสารอ้างอิง 2
3 บทนิยาม 2
4 ข้อกาหนดทั่วไป 3

ั้น
5 ัาวะทั่วไปสาหรับการทดสอบ 3

่าน
6 การจาแนกประเัท 4
7 การทาเครื่องหมายแิะข้อปฏิบัติ 4
8 การป้องกันการเข้าถึงส่วนมีไฟฟ้า 6

็นเท
9 การเริ่มเดินเครื่องใช้ไฟฟ้าทางานด้วยมอเตอรอ 7
10 กาิังไฟฟ้าเข้าแิะกระแสไฟฟ้า 7
11 การเกิดความร้อน 7

ิดเห
12 ไม่มีข้อความ 7
13 กระแสไฟฟ้ารั่วแิะความทนทานไฟฟ้าที่อุณหัูมิทางาน 7
14 แรงดันไฟฟ้าเกินชั่วครู่
ค 8
15 ความต้านทานต่อความชื้น
าม 8
16 กระแสไฟฟ้ารั่วแิะความทนทานไฟฟ้า 9
17 การป้องกันโหิดเกินของหม้อแปิงไฟฟ้าแิะวงจรไฟฟ้าที่เกี่ยวข้อง 10
คว
18 ความทนทาน 10
19 การทางานลิดปกติ 11
ฟัง

20 เสถียรัาพแิะอันตรายทางกิ 13
21 ความแข็งแรงทางกิ 13
รับ

22 สิ่งสร้าง 15
23 สายไฟฟ้าัายใน 21
การ

24 ส่วนประกอบ 21
25 การต่อกับแหิ่งจ่ายไฟฟ้า แิะสายอ่อนัายนอก 22
26 ขั้วต่อสาหรับตัวนาัายนอก 22
รับ

27 การเตรียมการสาหรับการต่อิงดิน 22
28 หมุดเกิียวแิะสิ่งต่อวงจร 22
ําห

29 ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามลิวฉนวน แิะฉนวนของแข็ง 22


30 ความต้านทานต่อความร้อนแิะไฟ 23
ใช้ส

31 ความต้านทานต่อการเป็นสนิม 23
32 การแล่รังสี ความเป็นพิษ แิะอันตรายที่คิ้ายกัน 23
ัาคลนวก 26
ัาคลนวก ก 26
ัาคลนวก กก 28
ัาคลนวก ขข 31
บรรณานุกรม 34
(4)
สารบัญรูป
หน้า
รูปที่ 101 แท่งกิมทดสอบสาหรับการซ่อนอินเตอรอิ็อก 23
รูปที่ 102 ตู้ทดสอบรวมถึงพื้นลิวทางาน ตาแหน่งของกรวย แิะ ตัวอย่างสาหรับทิศทางการเอียงหรือกระดก 24
รูปที่ 103 ตู้ทดสอบรวมถึงกระดานกั้นแยก ตาแหน่งของกรวย แิะ ตัวอย่างสาหรับทิศทางการเอียงหรือกระดก 25

ั้น
่าน
็นเท
ค ิดเห
าม
คว
ฟัง
รับ
การ
รับ
ําห
ใช้ส

(5)
ใช้ส
ําห
รับ
การ
รับ
ฟัง
คว
าม
คิดเห
็นเท
่าน
ั้น
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม

ั้น
ฉบับที่ (พ.ศ. 25XX)

่าน
ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรม
พ.ศ. 2511

็นเท
เรื่อง ยกเิิกมาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรม เตาไมโครเวฟสาหรับใช้ในที่อยู่อาศัย เฉพาะด้านความปิอดััย
แิะกาหนดมาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรม ความปิอดััยของเครื่องใช้ไฟฟ้าสาหรับใช้ในที่อยู่อาศัยแิะ

ิดเห
เครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นที่คิ้ายกัน เิ่ม 2(25) ข้อกาหนดเฉพาะสาหรับเตาอบไมโครเวฟ รวมถึงเตาอบไมโครเวฟร่วม
________________________


โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรม เตาไมโครเวฟสาหรับใช้ในที่อยู่อาศัย เฉพาะ
าม
ด้านความปิอดััย มาตราานเิขที่ มอก. 1773-2548
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่ง
คว
แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2558 รัามนตรีว่าการกระทรวง
อุตสาหกรรมออกประกาศยกเิิ กประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3388 (พ.ศ. 2548) ออกตามความใน
ฟัง

พระราชบัญญัติมาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กาหนดมาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรม ความ


ปิอดััยของเครื่องใช้ไฟฟ้าสาหรับใช้ในที่อยู่อาศัยแิะเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นที่คิ้ายกัน เิ่ม 2(25) ข้อกาหนดเฉพาะ
รับ

สาหรับเตาอบไมโครเวฟ รวมถึงเตาอบไมโครเวฟร่วม มาตราานเิขที่ มอก. 60335 เิ่ม 2(25)-2565 ขึ้นใหม่ ดังมี


รายการิะเอียดต่อท้ายประกาศนี้
การ

ทั้งนี้ ให้มีลิตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป


รับ

ประกาศ ณ วันที่ พ.ศ. 25XX


รัามนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
ําห
ใช้ส
ใช้ส
ําห
รับ
การ
รับ
ฟัง
คว
าม
คิดเห
็นเท
่าน
ั้น
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ความปลอดภัยของเครือ่ งใช้ไฟฟ้าสาหรับใช้ในที่อยู่อาศัย
และเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นที่คล้ายกัน

ั้น
เล่ม 2(25) ข้อกาหนดเฉพาะสาหรับเตาอบไมโครเวฟ

่าน
รวมถึงเตาอบไมโครเวฟร่วม

็นเท
1 ขอบข่าย
มาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรมนี้เกี่ยวกับความปิอดััยของเตาอบไมโครเวฟสาหรับใช้ในที่อยู่อาศัยแิะการใช้ ที่

ิดเห
คิ้ายกัน โดยมีแรงดันไฟฟ้าที่กาหนดไม่เกิน 250 V
มาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรมนี้ยังเกี่ยวกับเตาอบไมโครเวฟร่วมด้วย ตามัาคลนวก กก


มาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรมนี้ยังเกี่ยวกับเตาอบไมโครเวฟที่มีเจตนาให้ใช้บนเรือด้วย ตามัาคลนวก ขข
าม
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่มีเจตนาให้ใช้ในที่อยู่อาศัยตามปกติ แต่ถึงกระนั้นก็ตาม อาจเป็นต้นกาเนิดอันตรายต่อสาธารณะ
เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีเจตนาให้คนทั่วไปใช้ในร้านค้า ในอุตสาหกรรมขนาดย่อม แิะในฟารอม เป็นต้น อยู่ในขอบข่าย
คว
ของมาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรมนี้ อย่างไรก็ตาม ถ้าเครื่องใช้ไฟฟ้ามีเจตนาให้ใช้ในการประกอบวิชาชีพทาอาหาร
บริโัคเชิงพาณิชยอ ให้ถือเสียว่าไม่ให้ใช้เฉพาะในที่อยู่อาศัยแิะการใช้ที่คิ้ายกัน
ฟัง

ตราบเท่ า ที่ ส ามารถปฏิ บั ติ ไ ด้ มาตราานลิิ ต ัั ณ ์อ อุ ต สาหกรรมนี้ เ กี่ ย วกั บความเสี่ ย งอั น ตรายสามั ญ ที่ เ กิ ด จาก
เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ซึ่ งทุ ก คนได้ เ ลชิ ญ อยู่ ทั้ ง ัายในแิะรอบ ๆ บ้ า น อย่ า งไรก็ ต ามโดยทั่ ว ไปมาตราาน
รับ

ลิิตััณ์ออุตสาหกรรมนี้ไม่คานึงถึง
การ

- คน (รวมถึงเด็ก) ซึ่ง
 มีความสามารถทางกายัาพ ทางประสาทสัมลัสหรือจิตใจ หรือ
ขาดประสบการณอแิะความรู้
รับ

ที่ทาให้ไม่สามารถใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าได้อย่างปิอดััยโดยปราศจากการควบคุมดูแิหรือการสอน
ําห

- เด็กเิ่นเครื่องใช้ไฟฟ้า
หมายเหตุ101 ต้องคานึงถึงความจริงที่ว่า
ใช้ส

- เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีเจตนาให้ใช้ในยานพาหนะ บนเรือหรือเครื่องบิน อาจต้องมีข้อกาหนดเพิ่มเติม


- ข้อกาหนดเพิ่มเติมอาจระบุโดยกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแรงงาน แิะองคอกรสาธารณูปโัคที่คิ้ายกัน
หมายเหตุ 102 มาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรมนี้ไม่ครอบคิุมถึง
- เตาอบไมโครเวฟเชิงพาณิชยอ (IEC 60335-2-90)
- บริััณ์อที่ให้ความร้อนไมโครเวฟเชิงอุตสาหกรรม (IEC 60519-6)
-1-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
- เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีจุดประสงคอทางการแพทยอ (IEC 60601)
- เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีเจตนาให้ใช้ในสถานที่ที่มีัาวะพิเศษ เช่น บรรยากาศมีการกัดกร่อนหรือการระเบิด (ฝุ่น ไอ
ระเหย หรือก๊าซ)

2 เอกสารอ้างอิง
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 2 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้

ั้น
เพิ่มเติมข้อความ :

่าน
IEC 60068-2-6, Environmental testing – Part 2: Tests – Test Fc: Vibration (sinusoidal)

็นเท
IEC 60068-2-27, Environmental testing – Part 2-27: Tests – Test Ea and guidance: Shock
IEC 60068-2-52, Environmental testing – Part 2-52: Tests – Test Kb: Salt mist, cyclic (sodium chloride
solution)

ิดเห
IEC 60335-2-5:2012, Household and similar electrical appliances – Safety – Part 2-5: Particular
requirements for dishwashers


IEC 60335-2-6:2014, Household and similar electrical appliances – Safety – Part 2-6: Particular
าม
requirements for stationary cooking ranges, hobs, ovens and similar appliances
IEC 60335-2-9, Household and similar electrical appliances – Safety – Part 2-9: Particular
คว
requirements for grills, toasters and similar portable cooking appliances
ฟัง

3 บทนิยาม
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 3 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้
รับ

3.1.7 เพิ่มเติมข้อความ :
การ

หมายเหตุ 101 ความถี่ที่กาหนดคือความถี่กาิังไฟฟ้าเข้า


3.1.9 แทนข้อความ :
รับ

การทางานปกติ (normal operation)


การทางานของเครื่องใช้ไฟฟ้า โดยมีน้าดื่ม 1 000 g  50 g ที่อุณหัูมิเริ่มต้น 20 °C  2 °C ในัาชนะ
ําห

แก้วบอโรซิิิเกตทรงกระบอก (cylindrical borosilicate glass vessel) มีความหนาสูงสุด 3 mm แิะ


เส้นล่านศูนยอกิางัายนอกประมาณ 190 mm วางัาชนะดังกิ่าวไว้บนศูนยอกิางของชั้นวาง
ใช้ส

-2-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
3.101 เตาอบไมโครเวฟ (microwave oven)
เครื่องใช้ไฟฟ้าใช้พิังงานแม่เหิ็กไฟฟ้าในแถบความถี่ ISM แถบเดียวหรือหิายแถบ 1 ระหว่าง 300 MHz
กับ 30 GHz สาหรับทาให้อาหารแิะเครื่องดื่มร้อนในช่องอบ
3.102 เตาอบไมโครเวฟร่วม (combination microwave oven)
เตาอบไมโครเวฟที่ให้ความร้อนความในช่องอบ โดยการทางานพร้อมกันหรือต่อเนื่องของตัวทาความร้อน

ั้น
ทางความต้านทาน (resistive heating element) อีกด้วย

่าน
หมายเหตุ 1 เพื่อตั้งคา: ใช้ตัวทาความร้อนทางความต้านทานเพื่อจัดให้มีความร้อนส่งล่านโดยรังสี ความร้อนส่งล่านโดย
การพาหรือไอน้า

็นเท
3.103 ช่องอบ (cavity)
ที่ว่างซึง่ ปิดหุ้มโดยลนังด้านในแิะประตู ทีซ่ ง่ึ ใช้วางโหิด

ิดเห
3.104 ชั้นวาง (shelf)
สิ่งรองรับตามแนวระดับในช่องอบ ทีซ่ ง่ึ ใช้วางโหิด
3.105 อินเตอร์ล็อกประตู (door interlock)

าม
อุปกรณอหรือระบบซึ่งป้องกันการทางานของแมกนีตรอน (magnetron) เว้นแต่ประตูเตาอบปิด
3.106 อินเตอร์ล็อกประตูเฝ้าเตือน (monitored door interlock)
คว
ระบบอินเตอร์ล็อกประตูซึ่งมีอุปกรณอควบคุมดูแิรวมอยู่
ฟัง

3.107 โพรบรับรู้อุณหภูมิ (temperature-sensing probe)


อุปกรณอซึ่งสอดเข้าไปในอาหารเพื่อวัดอุณหัูมิของอาหารแิะเป็นส่วนควบคุมเตาอบ
รับ

4 ข้อกาหนดทั่วไป
การ

ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 4 ของ มอก. 1375

5 ภาวะทั่วไปสาหรับการทดสอบ
รับ

ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 5 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้


ําห

5.2 เพิ่มเติมข้อความ :
หมายเหตุ 101 สามารถใช้ตัวอย่างเพิ่มเติมสาหรับการทดสอบตามข้อ 19.104
ใช้ส

หมายเหตุ 102 ต้องใช้ตัวอย่างอินเตอรอิ็อกจานวน 6 ตัว สาหรับการทดสอบตามข้อ 24.1.4


5.3 แก้ไขข้อความ :

1
แถบความถี่ ISM เป็ นความถี่แม่เหล็กไฟฟ้าที่กาหนดขึน้ โดย ITU และนามาใช้ใน CISPR 11
-3-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
ไม่ทดสอบเรียงตามลาดับข้อ แต่ให้ทดสอบเรียงตามลาดับข้อต่อไปนี้แทน: ข้อ 32 ข้อ 22.113 ข้อ 22.108
ข้อ 22.115 ข้อ 22.116 ข้อ 7 ถึงข้อ 17 ข้อ 20 ข้อ 21 (ยกเว้น ข้อ 21.101 ถึงข้อ 21.105) ข้อ 18 ข้อ
19 (ยกเว้นข้อ 19.104) ข้อ 22 (ยกเว้นข้อ 22.108 ข้อ 22.113 ข้อ 22.115 และข้อ 22.116) ข้อ 23 ถึง
ข้อ 31 ข้อ 21.101 ถึงข้อ 21.105 และข้อ 19.104
5.101 ให้ทดสอบเตาอบไมโครเวฟเช่นเดียวกับเครื่องใช้ไฟฟ้าทางานด้วยมอเตอร์

ั้น
5.102 โพรบรับรู้อุณหภูมิประเภท III ใช้ในการทดสอบตามข้อ 22.112 เท่านั้น

่าน
6 การจาแนกประเภท

็นเท
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 6 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้
6.1 แก้ไขข้อความ :
เตาอบไมโครเวฟต้องเป็นประเภท I หรือ ประเภท II

ิดเห
7 การทาเครื่องหมายและข้อปฏิบัติ


ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 7 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้
าม
7.1 เพิ่มเติมข้อความ :
เครื่องใช้ไฟฟ้าต้องทาเครื่องหมายแถบความถี่ระบุ ISM ที่เครื่องใช้ไฟฟ้าทางานเป็นเมกะเฮิรตซอ
คว
ถ้าการเอาฝาหรือฝาครอบใด ๆ ออกทาให้มีการรั่วไมโครเวฟเกินค่าที่ระบุในข้อ 32 ฝาหรือฝาครอบนั้นต้อง
ทาเครื่องหมายมีข้อความสาระสาคัญดังนี้ :
ฟัง

คาเตือน
รับ

พลังงานไมโครเวฟ
การ

อย่าเอาฝานี้ออก
ถ้าเครื่องใช้ไฟฟ้ามีเต้ารับ (socket-outlet) ที่มีฟิวสอป้องกันไม่เป็นฟิวสอชนิด-D รวมอยู่ ต้องทาเครื่องหมาย
กระแสไฟฟ้าที่กาหนดของฟิว สอ ที่เกี่ย วข้อง ถ้ามีเส้ นฟิว สอ ขนาดเิ็ ก มาก (miniature fuse-link) ให้ ท า
รับ

เครื่องหมายชี้บอกว่าเส้นฟิวสอขนาดเิ็กต้องมีวิสัยสามารถตัดกระแสไฟฟ้าสูง
7.12 เพิ่มเติมข้อความ :
ําห

ข้อปฏิบัติต้องมีข้อความสาระสาคัญดังนี้
ใช้ส

ข้อปฏิบัติความปลอดภัยสาคัญ
อ่านให้ถี่ถ้วนแล้วเก็บรักษาไว้อ้างอิงภายหน้า
ข้อปฏิบัติต้องมีข้อความสาระสาคัญด้านคาเตือน ดังต่อไปนี้ด้วย

-4-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
- คาเตือน : ถ้าประตูหรือลนึกประตูเสียหาย ต้องไม่ให้เตาอบทางานจนกว่าลู้มีความสามารถ
ซ่อมเรียบร้อย
- คาเตือน : เป็ น ต้ น เหตุ อั น ตรายส าหรั บ ลู้ ที่ ข าดความสามารถบริ ก ารหรื อ ซ่ อ มแซม ที่
เกี่ยวข้องกับการถอดฝาครอบซึ่งช่วยป้องกันการโดนพิังงานไมโครเวฟ
- คาเตือน : อย่าทาความร้อนของเหิวแิะอาหารในัาชนะปิดสนิทที่อาจระเบิด

ั้น
่าน
ข้อปฏิบัติต้องมีข้อความสาระสาคัญดังต่อไปนี้ด้วย
- เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เจตนาให้ใช้ในที่อยู่อาศัยแิะการใช้ที่คิ้ายกัน เช่น:

็นเท
 พื้นที่ที่พนักงานทาครัวในร้านค้า สานักงาน แิะสัาพแวดิ้อมทางาน
 บ้านไร่

ิดเห
 โดยิูกค้าในโรงแรมแิะสัาพแวดิ้อมอยู่อาศัย
 สัาพแวดิ้อมค้างคืนพร้อมอาหารเช้า


ถ้าลู้ทาประสงคอจากัดการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าให้น้อยกว่า ที่กิ่าวในวรรคก่อน ต้องแจ้งอย่างชัดเจนในข้อ
ปฏิบัติ
าม
- ความสูงต่าสุดของที่ว่างจาเป็นเหนือพื้นลิวบนสุดของเตาอบ
คว
- ใช้เฉพาะัาชนะทีเ่ หมาะสมแก่การใช้ในเตาอบไมโครเวฟเท่านั้น
ฟัง

- อย่าใช้ัาชนะบรรจุโิหะสาหรับบรรจุอาหารแิะเครื่องดื่ม ในการทาอาหารด้วยไมโครเวฟ, ข้อกาหนด


นี้ไม่ใช้ ถ้าลู้ทาระบุขนาดแิะรูปร่างของัาชนะบรรจุโิหะที่เหมาะสมแก่การทาอาหารด้วยไมโครเวฟ
รับ

- เมื่ออาหารร้อนในัาชนะบรรจุพิาสติกหรือัาชนะบรรจุกระดาษ ให้จ้องดูเตาอบไว้เพราะอาจเกิดการ
จุดติดไฟ
การ

- เตาอบไมโครเวฟที่มีเจตนาทาให้อาหารแิะเครื่องดื่มร้อน อบแห้งอาหารหรือเสื้อล้า แิะทาให้แล่น


อุ่น รองเท้าแตะ ฟองน้า ล้าชื้นหรือหมาด แิะที่คิ้ายกัน ร้อน อาจทาให้เกิดความเสี่ยงััยบาดเจ็บ
การจุดติดไฟ หรือการิุกเป็นไฟ
รับ

- ถ้าสังเกตเห็นควัน ให้ปิดไฟ (switch off) หรือดึงเต้าเสียบออก แิ้วปิดประตูเครื่องไว้เพื่อกิบเปิวไฟ


ําห

- เครื่องดื่มร้อนด้วยไมโครเวฟ สามารถเดือดพิุ่งพิ่านได้นาน ดังนั้นต้องระมัดระวังเมื่อถือัาชนะบรรจุ


- ต้องกวนหรือเขย่าสิ่งบรรจุในขวดนมแิะถ้วยอาหารเด็กอ่อน แิะต้องตรวจสอบอุณหัูมิก่อนกินเพื่อ
ใช้ส

หิีกเิี่ยงแลิความร้อนิวก
- ไม่ควรทาให้ไข่ ดิบหรื อไข่สุ ก ในเปิื อกทั้งฟองร้อนในเตาอบไมโครเวฟ เนื่องจากไข่ อาจระเบิดแม้
หิังจากไมโครเวฟหยุดทาความร้อนแิ้ว
- รายิะเอียดในการทาความสะอาดลนึกประตู ช่องอบ แิะส่วนต่าง ๆ ที่อยู่ใกิ้ชิด
- ควรทาความสะอาดเตาอบอย่างสม่าเสมอแิะขจัดอาหารติดค้างออก
-5-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
- การไม่ บ ารุ ง รั ก ษาเตาอบให้ ส ะอาด อาจท าให้ พื้ น ลิ ว เสื่ อ มสัาพซึ่ ง มั ก เป็ น ลิเสี ย แก่ อ ายุ ข อง
เครื่องใช้ไฟฟ้าแิะอาจทาให้เป็นที่ตั้งต้นเหตุอันตราย
- ใช้แต่โพรบอุณหัูมิที่แนะนาสาหรับเตาอบนี้เท่านั้น (สาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้ามีสิ่งอานวยความสะดวกให้
ใช้โพรบรับรู้อุณหภูมิ)
- ข้อปฏิบัติในการใช้สาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้ายึดกับที่แิะเครื่องใช้ไฟฟ้าฝังใน ซึ่งใช้สูงจากพื้นเกิน 900

ั้น
mm แิะมีแป้นหมุนที่เป็นชิ้นส่วนถอดได้ ต้องแจ้งว่าควรระวังอย่าให้แป้นหมุนเปิี่ยนตาแหน่งเมื่อเอา

่าน
ัาชนะบรรจุออกจากเครื่องใช้ไฟฟ้า ข้อนี้ไม่ใช้สาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้ามีประตูบานพับิ่างแนวระดับ
- ไม่ทาความสะอาดเครื่องใช้ไฟฟ้าด้วยเครื่องิ้างด้วยไอน้า

็นเท
ลู้ทาต้องแจ้งในข้อปฏิบัติว่า เตาอบไมโครเวฟมีเจตนาให้ใช้โดย ตั้งอิสระ ฝังใน หรือ ในตู้ ถ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
นั้นสามารถใช้ได้ขณะวางในตู้

ิดเห
 ลู้ทาต้องกาหนดมิติต่าสุดของตู้ให้ไว้ แิะ
 ข้อปฏิบัติต้องแจ้งว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าต้องทางานโดยไม่มีการเปิดประตูเิย
ข้อปฏิบัติสาหรับเตาอบไมโครเวฟมีประตูตกแต่งหรือประดับเพิ่มเติม ต้องแจ้งว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าต้องทางาน
โดยไม่มีการเปิดประตูตกแต่งหรือประดับเิย

าม
ข้อปฏิบัติสาหรับเตาอบไมโครเวฟซึ่งไม่ได้ทดสอบในตู้ ต้องแจ้งว่า ต้องไม่วางเครื่องใช้ไฟฟ้าไว้ในตู้
คว
ข้ อ ปฏิ บั ติ ส าหรั บ เตาอบไมโครเวฟซึ่ ง ไม่ เ ป็ น ไปตามข้ อ 22.118 ต้ อ งแจ้ ง ว่ า ต้ อ งไม่ ติ ด ตั้ ง ทางไฟฟ้ า
เครื่องใช้ไฟฟ้าสูงจากพื้นเกิน 900 mm
ฟัง

7.14 เพิ่มเติมข้อความ :
ความสูงของตัวอักษรคาเตือนตามข้อ 7.1 ต้องไม่ต่ากว่า 3 mm
รับ

การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการวัด
การ

8 การป้องกันการเข้าถึงส่วนมีไฟฟ้า
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 8 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้
รับ

8.1.1 เพิ่มเติมข้อความ :
ใช้โพรบทดสอบ 18 (Test probe 18) ตาม IEC 61032 ด้วย เช่นเดียวกับที่ระบุไว้สาหรับโพรบทดสอบ B
ําห

(test probe B) อย่างไรก็ตามใช้โพรบทดสอบ 18 เฉพาะกับส่วนแตะต้องถึงเท่านั้น เมื่อเตาอบทางานใน


การใช้ปกติ
ใช้ส

8.2 เพิ่มเติมข้อความ :
ใช้โ พรบทดสอบ 18 ตาม IEC 61032 ด้วย เช่นเดียวกับที่ระบุไว้สาหรับโพรบทดสอบ B อย่างไรก็ตาม
ใช้โพรบทดสอบ 18 เฉพาะกับส่วนแตะต้องถึงเท่านั้น เมื่อเตาอบทางานในการใช้ปกติ

-6-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
9 การเริ่มเดินเครื่องใช้ไฟฟ้าทางานด้วยมอเตอร์
ไม่ใช้ข้อกาหนดข้อนี้ของ มอก. 1375
10 กาลังไฟฟ้าเข้าและกระแสไฟฟ้า
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 10 ของ มอก. 1375

ั้น
11 การเกิดความร้อน

่าน
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 11 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้

็นเท
11.2 เพิ่มเติมข้อความ :
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าฝังใน ให้วางตามตาแหน่งที่ระบุสาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าทาความร้อน

ิดเห
ให้เพดานอยู่สูงกว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ความสูงต่าสุด ตามที่แจ้งในข้อปฏิบัติ เพดานมีความลึก 300 mm จาก
ผนังด้านหลังของมุมทดสอบ (test corner) และมีความยาวเกินความกว้างของเครื่องใช้ไฟฟ้าไม่น้อยกว่า
150 mm


เครื่องใช้ไฟฟ้าซึ่งสามารถใช้เมื่อวางในตู้ ให้วางในตู้ มีมิติต่าสุดตามที่ผู้ทากาหนดในข้อปฏิบัติ ใช้ไม้อัดที่ ระบุ
าม
สาหรับมุมทดสอบ วางเครื่องใช้ไฟฟ้าให้ชิดผนังด้านหลังและผนังด้านข้างด้านหนึ่ง
ประตูตู้อยู่ในตาแหน่งเปิด
คว
11.7 แทนข้อความ :
ฟัง

ให้เครื่องใช้ไฟฟ้าทางาน 3 วัฏจักร แต่ละวัฏจักรประกอบด้วยคาบทาความร้อนเป็นเวลา 10 min ตามด้วย


คาบพักเป็น เวลา 1 min วัฏจักรสุ ดท้ายไม่รวมถึง คาบพักเป็นเวลา 1 min ในคาบพักให้เปิดประตูแล้ ว
รับ

เปลี่ยนแทนทีโ่ หลด
11.8 เพิ่มเติมข้อความ :
การ

ให้วัดอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นของพื้นผิวภายนอกของเตาอบไมโครเวฟเฉพาะบนพื้นผิวซึ่งไม่ได้วางชิดผนังและพื้น
ของมุมทดสอบ
รับ

ไม่มีขีดจากัดอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นสาหรับตะแกรงระบายอากาศออก และสาหรับพื้นผิวจนถึงระยะห่าง 25 mm
จากตะแกรงระบายอากาศออก
ําห

หมายเหตุ 101 พื้นลิวเหิ่านี้ไม่รวมถึงมือจับ


ใช้ส

12 ไม่มีข้อความ
13 กระแสไฟฟ้ารั่วและความทนทานไฟฟ้าที่อุณหภูมิทางาน
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 13 ของ มอก. 1375

-7-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
14 แรงดันไฟฟ้าเกินชั่วครู่
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 14 ของ มอก. 1375
15 ความต้านทานต่อความชื้น
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 15 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้

ั้น
15.2 เพิ่มเติมข้อความ :

่าน
รินสารละลายหกรดเช่นเดิมปริมาณ 0.5 l อย่างสม่าเสมอ ลงบนชั้น วางเป็นคาบกว่า 1 min ถ้าชั้นวาง
สามารถเก็บของเหลวที่หกรดได้ ก็ให้เติมสารละลายดังกล่าวจนเต็มแล้วเติม ต่อไปอีก 0.5 l เป็นคาบกว่า 1

็นเท
min
15.101 โพรบรับรู้อุณหภูมิ ต้องสร้างให้ฉนวนของโพรบไม่ได้รับลิเสียจากน้า

ิดเห
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบดังนี้
จุ่ มโพรบให้ มิด ในสารละลายน้ าประกอบด้ว ย NaCl ประมาณ 1 % และมีอุณ หภูมิ 20 °C  5 °C ต้ ม
สารละลายดังกล่าวให้เดือดในเวลาประมาณ 15 min แล้วเอาโพรบออกจากสารละลายเดือดและจุ่มใน

สารละลายดังกล่าวมีอุณหภูมิ 20 °C  5 °C เป็นเวลา 30 min
าม
ทาการทดสอบเช่น นี้ ซ้าจ านวน 5 ครั้ ง หลั งจากนั้นให้ เอาโพรบออกจากสารละลาย แล้ วเช็ดรอยคราบ
คว
ของเหลวออกจากพื้นผิวให้หมด
แล้วจึงทดสอบโพรบโดยการทดสอบกระแสไฟฟ้ารั่ว (leakage current test) ตามข้อ 16.2
ฟัง

หมายเหตุ ในการทดสอบนี้ ไม่ต้องต่อวงจรโพรบรับรู้อุณหภูมิที่เป็นชิ้นส่วนถอดได้กับเครื่องใช้ไฟฟ้า ให้ทดสอบโพรบ


รับรู้อุณหภูมิที่เป็นชิ้นส่วนถอดไม่ได้ในช่องอบโดยจุ่มโพรบให้ิึกเท่าที่เป็นไปได้
รับ

15.102 เตาอบไมโครเวฟที่เจตนาให้ติดตั้งทางไฟฟ้าฝังในใต้โต๊ะแิะต้องโดนของเหิวหกรดจากัาชนะบรรจุิงบน
พื้นลิวทางาน ต้องสร้างให้การหกของของเหิวไม่มีลิเสียต่อฉนวนทางไฟฟ้าของเตาอบ
การ

การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบดังนี้ (ดูรูปที่ 102)


ให้ ติ ดตั้ ง ทางไฟฟ้ า เตาอบไมโครเวฟโดยฝั ง ในใต้โ ต๊ ะตามที่ผู้ ท าระบุ เอี ยงหรือ กระดกตู้ท ดสอบ (test
รับ

cabinet) รวมถึงพื้นผิวทางานทามุม 2° ในทิศทางที่ให้ผลเลวที่สุด รินสารละลายน้าประกอบด้วย NaCl


ประมาณ 1 % และสารชะล้างกรดประมาณ 0.6 % ปริมาณ 500 ml อย่างสม่าเสมอเป็นคาบ 20 s ทาง
ําห

กรวยลงบนตลอดความกว้างของพื้นผิวทางานเหนือ เตาอบไมโครเวฟ กรวยมีเส้นผ่านศูนย์กลางรูระบาย


ประมาณ 8 mm และขอบล่างของรูระบายของกรวยอยู่เหนือพื้นผิวทางาน 20 mm ศูนย์กลางของกรวย
ใช้ส

อยู่ห่างจากขอบหน้าของพื้นผิวทางานเข้าข้างใน 15 mm
ขอบหน้ าของพื้น ผิ วทางานต้องลบมุมมีรัศมี 25 mm และพื้นผิ วทางานต้องหนา 50 mm และไม่มีร่อง
ระบายน้า ขอบระบายน้า ขอบฉีกขาด และที่คล้ายกัน

-8-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
ทันทีหลั งจากการทดสอบ เครื่ องใช้ไฟฟ้าต้องทนต่อการทดสอบความทนทานไฟฟ้า (electric strength
test) ตามข้อ 16.3 และการตรวจพินิจต้องแสดงให้เห็นว่าไม่มีร่องรอยของน้าบนฉนวนซึ่งอาจมีผลทาให้ค่า
ระยะห่างในอากาศและค่าระยะห่างตามผิวฉนวนลดลงต่ากว่าค่าที่ระบุในข้อ 29
องค์ประกอบของสารละลายน้าประกอบด้วย NaCl ประมาณ 1% และสารชะล้างกรดประมาณ 0.6% มี
อธิบายใน IEC 60335-2-5:2012 ภาคผนวก AA

ั้น
15.103 เตาอบไมโครเวฟทีม่ ีเจตนาให้ฝังในตู้ใต้เครื่องใช้ไฟฟ้าฝังในอื่น ๆ แิะโดนของเหิวหกรดจากัาชนะบรรจุ

่าน
เต็มซึง่ เคิื่อนย้ายในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ เช่นนี้ ต้องสร้างให้การหกรดเช่นว่านี้ไม่มีลิเสียแก่ฉนวนทาง
ไฟฟ้าของเตาอบ

็นเท
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบดังนี้ (ดูรูปที่ 103)
ให้ติดตั้งเตาอบไมโครเวฟโดยฝังในตามที่ผู้ทาระบุ เอียงหรือกระดกตู้ทดสอบทามุม 2° ในทิศทางที่ให้ผลเลว
ที่สุด รินสารละลายน้าประกอบด้วย NaCl ประมาณ 1 % และสารชะล้างกรดประมาณ 0.6 % ปริมาณ

ิดเห
200 ml อย่ างสม่าเสมอเป็ น คาบ 8 s ทางกรวยลงบนกระดานกั้น แยกให้ตลอดความกว้างเหนือ เตาอบ
ไมโครเวฟ กรวยมีเส้นผ่านศูนย์กลางรูระบายประมาณ 8 mm และขอบล่างของรูระบายของกรวยอยู่เหนือ
กระดานกั้นแยก 20 mm ศูนย์กลางของกรวยห่างจากขอบหน้าของกระดานกั้นแยกเข้าข้างใน 15 mm

าม
ถ้าผู้ทาแจ้งในข้อปฏิบัติการติดตั้งทางไฟฟ้าว่า ไม่ต้องมีกระดานกั้นแยกเหนือเตาอบไมโครเวฟ ให้ทดสอบซ้า
โดยขณะริ นสารละลายน้ าประกอบด้ว ย NaCl ประมาณ 1 % และสารชะล้างกรดประมาณ 0.6 % ลง
คว
โดยตรงบนตลอดความกว้างของพื้นผิวบนของเตาอบไมโครเวฟ ขอบล่างของรูระบายกรวยอยู่เหนือพื้นผิว
บนของเตาอบไมโครเวฟ 20 mm และศูนย์กลางของกรวยห่างจากขอบหน้าของเตาอบไมโครเวฟเข้าข้าง
ฟัง

ใน 15 mm
ทันทีหลังจากการทดสอบ เครื่องใช้ไฟฟ้าต้องทนต่อการทดสอบความทนทานไฟฟ้าตามข้อ 16.3 และการ
รับ

ตรวจพินิจต้องแสดงให้เห็นว่าไม่มีร่องรอยของน้าบนฉนวนซึ่งอาจมีผลทาให้ค่าระยะห่างในอากาศและค่า
ระยะห่างตามผิวฉนวนลดลงต่ากว่าค่าที่ระบุในข้อ 29
การ

องค์ประกอบของสารละลายน้าประกอบด้วย NaCl ประมาณ 1 % และสารชะล้างกรดประมาณ 0.6 % มี


อธิบายใน IEC 60335-2-5:2012 ภาคผนวก AA
รับ

16 กระแสไฟฟ้ารั่วและความทนทานไฟฟ้า
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 16 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้
ําห

16.101 ขดิวดไฟฟ้าของหม้อแปิงไฟฟ้ากาิังซึ่งจ่ายไฟฟ้าแก่แมกนีตรอนต้องมีฉนวนพอเพียง
ใช้ส

การเป็นไปตามข้อกาหนดสาหรับแหล่งจ่ายไฟฟ้ากาลังแบบวิธีสวิตช์ (switch-mode power supply) ให้ทา


โดยการทดสอบตามข้อ 16.101.1 และสาหรับหม้อแปลงไฟฟ้ากาลังอื่น ๆ ให้ ทาโดยการทดสอบตามข้อ
16.101.2
16.101.1 ให้จ่ายแรงดันไฟฟ้ารูปคิื่นไซนอแิะมีความถี่ 50 Hz หรือ 60 Hz แก่ฉนวนระหว่างขดิวดไฟฟ้าปามัูมิ
กั บ ขดิวดไฟฟ้ า ทุ ติ ย ัู มิ ข องหม้ อ แปิงแหิ่ ง จ่ า ยไฟฟ้ า ก าิั ง แบบวิ ธี ส วิ ต ชอ เป็ น เวิา 1 min ค่ า

-9-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
แรงดันไฟฟ้าเท่ากับ 1.414 เท่าของค่าพีกของแรงดันไฟฟ้าทางานทุติยัูมิบวก 750 V มีค่าต่าสุด 1
250 V
ต้องไม่มีการเสียสภาพฉับพลันระหว่างขดลวดไฟฟ้าหรือระหว่างรอบประชิดของขดลวดไฟฟ้าขดเดียวกัน
16.101.2 ให้จ่ายแรงดันไฟฟ้ารูปคิื่นไซนอที่มีความถี่สูงกว่าความถี่ที่กาหนดแก่ขั้วต่อปามัูมิ เพื่อเหนี่ยวนาให้เกิด
แรงดันไฟฟ้าในขดิวดไฟฟ้าทุติยัูมิของหม้อแปิงไฟฟ้าเท่ากับ 2 เท่าของแรงดันไฟฟ้าทางาน

ั้น
ระยะเวลาทดสอบเป็นดังนี้

่าน
– 60 s สาหรับความถี่ไม่เกิน 2 เท่าของความถี่ที่กาหนด หรือ

็นเท
ความถี่ที่กาหนด
– 120× s, ต่าสุด 15 s สาหรับความถี่สูงกว่า
ความถี่ทดสอบ
หมายเหตุ ความถี่ของแรงดันไฟฟ้าทดสอบ (test voltage) สูงกว่าความถี่ที่กาหนดเพื่อหิีกเิี่ยงกระแสไฟฟ้า
กระตุ้นเกินจาเป็น

ิดเห
ให้จ่ายแรงดันไฟฟ้าสูงสุด 1 ส่วน 3 ของแรงดันไฟฟ้าทดสอบ แล้วเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยไม่มีการเกิด
แรงดันไฟฟ้าชั่วครู่ ณ สิ้นสุดการทดสอบ ให้ลดแรงดันไฟฟ้าทดสอบในทานองเดียวกันลงเหลือประมาณ


1 ส่วน 3 ของค่าเต็มของแรงดันไฟฟ้าทดสอบก่อนปิดไฟ (switching off)
าม
ต้องไม่มีการเสียสภาพฉับพลันระหว่างขดลวดไฟฟ้าหรือระหว่างรอบประชิดของขดลวดไฟฟ้าขดเดียวกัน
คว
17 การป้องกันโหลดเกินของหม้อแปลงไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าที่เกี่ยวข้อง
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 17 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้
ฟัง

เพิ่มเติมข้อความ :
รับ

ไม่ต้องทดสอบหม้อแปลงไฟฟ้ากาลังซึ่งจ่ายไฟฟ้าแก่แมกนีตรอนและวงจรไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องของแมกนีตรอน เนื่องจาก
มีการตรวจสอบในการทดสอบตามข้อ 19
การ

18 ความทนทาน
ให้แทนข้อความที่กาหนดใน มอก. 1375 ข้อ 18 ดังนี้
รับ

ระบบประตูรวมถึง บานพับ ลนึกไมโครเวฟ แิะส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ต้องสร้างให้ทนต่อการสึกหรอซึ่งคาดว่าจะ


เกิดขึ้นในการใช้ปกติ
ําห

การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบดังนี้
ใช้ส

ให้ทดสอบระบบประตูจานวน 50 000 วัฏจักรการทางาน โดยจ่ายไฟฟ้าแก่เครื่องใช้ไฟฟ้าที่แรงดันไฟฟ้าที่กาหนด


และมีโหลดดูดกลืนไมโครเวฟเหมาะสมบรรจุอยู่ แล้วจึงทดสอบจานวน 50 000 วัฏจักรการทางาน โดยไม่มีการผลิต
ไมโครเวฟ
ให้เปิดและปิดประตูตามการใช้ปกติ โดยเปิดจากตาแหน่งปิดไปทีม่ ุมประมาณ 10° ก่อนเปิดเต็มที่ อัตราการเปิดปิด 6
วัฏจักรต่อนาที ถ้าผู้ทามีข้อตกลง อัตราการเปิดปิดโดยไม่มีการผลิตไมโครเวฟสามารถเพิ่มขึ้นเป็น 12 วัฏจักรต่อนาที
หลังจากการทดสอบ การรั่วไมโครเวฟต้องไม่เกินขีดจากัดที่ระบุในข้อ 32 และระบบประตูยังต้องทาหน้าที่ได้
-10-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
หมายเหตุ 101 สามารถทาให้ตัวควบคุมไม่ทางาน เพื่อทาการทดสอบได้
หมายเหตุ 102 การเสื่อมสัาพของส่วนประกอบต่าง ๆ ซึ่งทาให้การเป็นไปตามมาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรมนี้เสียไป สามารถ
เปิี่ยนแทนที่ส่วนประกอบเพื่อให้การทดสอบสมบูรณอ
หมายเหตุ 103 สามารถเพิ่มอิาหรือเติมน้าเพิ่มไม่เกิน 500 g ได้ตามที่จาเป็น เพื่อหิีกเิี่ยงการยุติการทดสอบเนื่องจากการเกิด
ความร้อนเกิน

ั้น
19 การทางานผิดปกติ

่าน
ให้เป็นไปตามที่กาหนดใน มอก. 1375 ข้อ 19 ยกเว้นข้อต่อไปนี้
19.1 แก้ไขข้อความ :

็นเท
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบตามข้อ 19.101 และข้อ 19.105 แทนข้อ 19.2 ถึงข้อ 19.10
โดยจ่ายแรงดันไฟฟ้าที่กาหนดแก่เครื่องใช้ไฟฟ้า

ิดเห
19.11.2 เพิ่มเติมข้อความ :
ให้เปิดวงจรและลัดวงจรของวงจรแคโทด-กับ-แอโนดของแมกนีตรอนหมุนเวียนกันไป ถ้าภาวะผิดพร่อง


อย่างใดอย่างหนึ่งนี้ทาให้กระแสไฟฟ้าเข้าเพิ่มขึ้น โดยลดแรงดันไฟฟ้าลง ให้ทดสอบเครื่องใช้ไฟฟ้า โดย
จ่ ายไฟฟ้า แก่เครื่ องใช้ไฟฟ้า ที่ 0.94 เท่าของแรงดั น ไฟฟ้า ที่ก าหนด แต่ถ้ากระแสไฟฟ้ าเข้าเพิ่มขึ้ น
าม
มากกว่าสั ดส่ ว นตามแรงดัน ไฟฟ้า ก็ ให้ จ่ ายไฟฟ้า แก่เครื่องใช้ไฟฟ้า ที่ 1.06 เท่าของแรงดัน ไฟฟ้า ที่
กาหนด
คว
ไส้ (filamemt) ของแมกนีตรอนต้องไม่ลัดวงจร
ฟัง

19.13 เพิ่มเติมข้อความ :
ในการทดสอบ อุณหภูมิของขดลวดไฟฟ้าต้องไม่เกินค่าตามตารางที่ 8 เฉพาะเครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งสามารถ
รับ

เลือกตั้งเวลาเริ่มเดินเครื่องไว้ก่อนและเครื่องใช้ไฟฟ้าทางานด้วยฟังก์ชั่นอุ่น ให้ถือเสียว่าเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่
ทางานนานจนเกิดภาวะคงตัว
การ

ในการทดสอบ การรั่วไมโครเวฟที่วัดได้ตามข้อ 32 แต่มีโหลดตามที่ระบุในข้อย่อยแต่ละข้อ ต้องไม่เกิน 100


W/m2 ถ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าสามารถทางานได้หลังจากการทดสอบ เครื่องใช้ไฟฟ้านั้นต้องเป็นไปตามข้อ 32
รับ

19.101 ให้เครื่องใช้ไฟฟ้าทางานโดยตั้งตัวควบคุมไว้ที่ตาแหน่งให้ลิเิวที่สุดแิะไม่มีโหิดในช่องอบ
คาบทางานเท่ากับเวลานานสุดที่ตัวตั้งเวลาตั้งได้หรือนานจนเกิดภาวะคงตัว แล้วแต่อย่างใดเร็วกว่า
ําห

ถ้าการรั่วไมโครเวฟเกิน 100 W/m2 ให้ใช้วิธีวัดเผื่อเลือกซึ่งแก้ไขขีดจากัดการรั่วไมโครเวฟตามข้อ 19.13


ใช้ส

เพื่อชี้บอกและทาเครื่องหมายจุดคลื่น (spot) ทุกจุดที่ซึ่งค่าพีกของการรั่วไมโครเวฟเกิน 100 W/m2 ให้ย้าย


สายอากาศเครื่องมือวัดอีกครั้งไปทั่วพื้นผิวภายนอกของเครื่องใช้ไฟฟ้า โดยเน้นทีป่ ระตูและผนึกของประตู
หมายเหตุ 1 ถ้าเครื่องมือวัดมีฟังกอชั่นค้างพีก (peak hold function) ก็สามารถตั้งไว้ชี้บอกจุดคิื่นที่ซึ่งค่าพีกของ
การรั่วไมโครเวฟเกิน 100 W/m2
ให้บันทึกค่าการรั่วไมโครเวฟของแต่ละจุด และค่าการรั่วไมโครเวฟเฉลี่ยของจุดใดซึ่งเลวทีส่ ุดเกิน 20 s ต้อง
ไม่เกิน 100 W/m2 อีกทั้งค่าพีกก็ต้องไม่เกิน 500 W/m2
-11-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
หมายเหตุ 2 เนื่องจากตัวกวน (stirrer) แิะ/หรือเวิาแป้นหมุนหมุนรอบ (turntable revolution time) แิะจานวน
ของใบกวนไมโครเวฟ (microwave stirrer blade) กาหนดความถี่แิะระยะเวิาของค่าการรั่วไมโครเวฟ
พีกจริง (actual peak leakage values), จึงสามารถใช้เครื่องมือวัดมีข้อกาหนดจาเพาะเหมาะสม (เช่น
เวิาสุ่ ม ตั ว อย่ า งเร็ ว สุ ด , วิ สั ย สามารถวั ด ค่ า พี ก ของความหนาแน่ น ฟิั ก ซอ ไ ฟฟ้ า ก าิั ง (power flux
density), วิสัยสามารถเพื่อเฉิี่ยค่าเหิ่านี้)
19.102 ให้เครื่องใช้ไฟฟ้าทางานในการทางานปกติ โดยลัดวงจรตัวตั้งเวลาหรือตัวควบคุมอื่น ๆ ซึ่งทางานในการใช้

ั้น
ปกติ ถ้าเครื่องใช้ไฟฟ้ามีตัวควบคุมมากว่า 1 ตัว ให้ลัดวงจรตัวควบคุมเหล่านี้ครั้งละตัวหมุนเวียนกันไป

่าน
19.103 ให้เครื่องใช้ไฟฟ้าทางานในการทางานปกติ และจาลองภาวะผิ ดพร่องเดี่ยวใดที่น่าจะเกิดขึ้น ปรับ ตั้งตัว
ควบคุมไปที่ค่าตั้งที่ให้ผลเลวที่สุด แล้วให้เครื่องใช้ไฟฟ้าทางานเป็นเวลานานสุดตามที่ตัวตั้งเวลาตั้งได้หรือ 90

็นเท
min แล้วแต่อย่างใดเร็วกว่า
หมายเหตุ ัาวะลิดพร่อง เช่น

ิดเห
- อุดช่องเปิดอากาศในระนาบเดียวกัน , ัาวะลิดพร่องนี้ไม่ใช้ ถ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าฝัง
ใน
- ิ็อกโรเตอรอของมอเตอรอ ถ้าทอรอกของโรเตอรอที่ิ็อกน้อยกว่าทอรอกโหิดเต็มพิกัด


- ิ็อกส่วนที่เคิื่อนที่ที่สามารถติดขัดได้
าม
19.104 ให้เครื่องใช้ไฟฟ้าทางานโดยปรับตั้งตัวควบคุมต่าง ๆ ไปที่ค่าตั้งที่ให้ผลเลวที่สุด แล้ววางมันฝรั่งบนชั้นวางใน
ตาแหน่งทีม่ ันฝรั่งน่าจะจุดติดไฟที่สุดและเปลวไฟน่าจะลามไปถึงวัสดุอื่นที่เผาไหม้ได้
คว
มันฝรั่งมีรูปทรงรีโดยประมาณและมวลระหว่าง 125 g กับ 150 g ความยาวของแกนหลักสั้นที่สุดไม่สั้นกว่า
40 mm ความยาวของแกนหลักสั้นที่สุดยาวกว่า 40 mm และความยาวอาจลดลงอย่างสมมาตรเพื่อให้ ได้
ฟัง

มวลที่ระบุ ให้เสียบลวดเหล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5 mm  0.5 mm และความยาวเดียวกันกับแกนยาว


ที่สุดของมันฝรั่งโดยประมาณเข้าไปตามแนวแกนนี้
รับ

การทดสอบสิ้นสุดลง หลังจากที่การผลิตไมโครเวฟหยุดทาหน้าที่หรือการลุกเป็นไฟในช่องอบดับเป็นเวลา
การ

15 min
ในการทดสอบ การลุกเป็นไฟในช่องอบต้องจากัดอยู่ภายในเครื่องใช้ไฟฟ้า
หมายเหตุ 1 ข้อ 19.13 ไม่ใช้ในการทดสอบ
รับ

หลังจากการทดสอบ ถ้าเครื่องใช้ไฟฟ้ายังสามารถทางานได้ ให้เปลี่ยนแทนที่ชั้นวางที่เป็นชิ้นส่วนที่ถอดได้


ําห

เสียหายแล้วทดสอบตามข้อ 19.13 ถ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าไม่เป็นไปตามข้อกาหนดก็ให้ทดสอบซ้ากับเครื่องใหม่


หมายเหตุ 2 การไม่เป็นไปตามข้อกาหนดสามารถเกิดจากลิกระทบสะสมของการทดสอบครั้งก่อน ๆ
ใช้ส

19.105 เครื่องใช้ไฟฟ้าฝังในมีประตูตกแต่งหรือประดับเพิ่มเติมและเครื่องใช้ไฟฟ้าต้องใช้ในตู้ ให้ทางานในการ


ทางานปกติ โดยปิดประตูตกแต่งหรือประดับหรือประตูตู้ ไว้
คาบทางานเท่ากับเวลานานสุดที่ตัวตั้งเวลาตั้งได้หรือนานจนเกิดภาวะคงตัว แล้วแต่อย่างใดเร็วกว่า

-12-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
20 เสถียรภาพและอันตรายทางกล
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 20 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้
20.101 เครื่ องใช้ไฟฟ้ามีป ระตูซึ่ง มี บ านพับแนวระดับ ที่ขอบิ่ างของประตู แิะน่าจะวางโหิดบนประตู ต้องมี
เสถียรัาพพอเพียง
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบดังนี้

ั้น
ให้ ว างเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าบนพื้ น ผิ ว แนวระดับ พร้อมเปิดประตูไว้ แล้ ว ค่อย ๆ วางมวลลงตรงศูน ย์ กลางทาง

่าน
เรขาคณิตของประตู

็นเท
มวลหนักดังนี้
- 7 kg สาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าประจาที่
- 3.5 kg สาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้ายกหิ้วได้

ิดเห
หมายเหตุ สามารถใช้ถุงทรายเป็นโหิด
เครื่องใช้ไฟฟ้าต้องไม่เอียงหรือกระดก


าม
21 ความแข็งแรงทางกล
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 21 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้
คว
เพิ่มเติมข้อความ :
ฟัง

การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบตามข้อ 21.101 ถึงข้อ 21.105 ในการทดสอบ ให้ตรึงเครื่องใช้ไฟฟ้า


ไว้อย่างแข็งแรงมั่นคง ยกเว้นการทดสอบตามข้อ 21.102
รับ

21.101 ประตู บ านพั บ อยู่ ที่ ตาแหน่ ง ประมาณ 30° ก่ อนตาแหน่ งเปิด เต็ มที่ ประตู บานเลื่ อนอยู่ ที่ต าแหน่ งเปิ ด
ประมาณ 2 ส่วน 3 ใช้แรง 35 N กดพื้นผิวภายในของประตูบานพับที่จุด 25 mm จากขอบอิสระของประตู
การ

บานพับหรือที่มือจับของประตูบานเลื่อน
ให้กดโดยใช้เครื่องชั่งสปริง (spring balance) มีค่าคงตัวสปริง 1.05 N/mm เริ่มต้นกดด้วยแรงตรงข้ามที่
อีกด้านหนึ่งของประตูหรือที่มือจับ แล้วจึงเอาแรงตรงข้ามออกเพื่อให้ประตูเคลื่อนตัว เองอย่างสมบูรณ์ไปยัง
รับ

ตาแหน่งเปิดเต็มที่
ให้ทดสอบจานวน 5 ครั้ง
ําห

ให้ทดสอบซ้ากับประตูของเครื่องใช้ไฟฟ้าประจาที่และเครื่องใช้ไฟฟ้าฝังใน ดังนี้
ใช้ส

- เริ่มต้น ให้ประตูอยู่ที่ตาแหน่งกึ่งกลางระหว่างตาแหน่งเปิดเต็มที่กับตาแหน่งปิด
- ใช้แรง 1.5 เท่าของแรงที่กาหนดไว้เพื่อเปิดประตูหรือ 65 N แล้วแต่อย่างใดสูงกว่า แต่ถ้าไม่สามารถวัด
แรงได้หรือถ้าประตูเปิดได้ไม่โดยตรงก็ให้ใช้แรง 65 N
ให้ทดสอบจานวน 5 ครั้ง

-13-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
ให้ ป ระตู อยู่ ที่ต าแหน่ งกึ่ งกลางระหว่า งต าแหน่ งเปิด เต็ มที่ กับ ตาแหน่ง ปิด ใช้แ รงปิด 90 N กดที่พื้ นผิ ว
ภายนอกของประตูบานพับที่จุด 25 mm จากขอบอิสระหรือทีม่ ือจับของประตูบานเลื่อน โดยเริ่มต้นกดด้วย
แรงตรงข้ามดังทีก่ ล่าวข้างบน
ให้ทดสอบจานวน 10 ครั้ง
แล้วจึงทดสอบเครื่องใช้ไฟฟ้าตามข้อ 32

ั้น
21.102 ให้ประตูบานพับข้าง (side-hinged door) อยู่ที่ตาแหน่งเปิดเต็มที่ ใช้แรงกดลง 140 N หรือแรงสูงสุดซึ่ง

่าน
สามารถกดประตูไม่ว่าตาแหน่งใดก็ไม่ทาให้เครื่องใช้ไฟฟ้าเอียงหรือกระดก แล้วแต่อย่างใดน้อยกว่า แล้วจึง
กดขอบอิสระของประตูและปิดประตูนั้น ให้เปิดประตูบานพับข้างเต็มทีอ่ ีกครั้งโดยยังมีแรงกดค้างไว้

็นเท
ให้ทดสอบจานวน 5 ครั้ง
เปิดประตูบานพับล่าง ใช้แรง 140 N หรือแรงสูงสุดซึ่งสามารถกดโดยเครื่องใช้ไฟฟ้าไม่เอียงหรือกระดก

ิดเห
แล้วแต่อย่างใดน้อยกว่า กดพื้นผิว ภายในของประตูบานพับล่างที่ตาแหน่งที่ให้ผลเลวที่สุด 25 mm จาก
ขอบอิสระ
ให้กดเป็นเวลา 15 min
แล้วจึงทดสอบเครื่องใช้ไฟฟ้าตามข้อ 32

าม
21.103 ให้ประกอบลูกบาศก์ไม้ (cube of wood) มีมิติด้านละ 20 mm ติดที่มุมภายในให้ไกลจากบานพับประตู
คว
ที่สุด พยายามกดปิดประตูด้วยแรง 90 N ที่มุมอื่นไกลจากบานพับประตูที่สุดในทิศทางตั้งฉากกับพื้นผิวของ
ประตู
ฟัง

กดค้างไว้เป็นเวลา 5 s
เอาไม้ลูกบาศก์ไม้ออก ปิดประตูอย่างช้า ๆ จนกระทั่งการผลิตไมโครเวฟกาลังจะเป็นไปได้ แล้วจึงใช้มือเขี่ย
รับ

ประตูและตัวกลางเปิดของประตูเพื่อหาตาแหน่งทาให้เกิดการรั่วไมโครเวฟสูงที่สุด
แล้วจึงทดสอบเครื่องใช้ไฟฟ้าตามข้อ 32
การ

ให้ทดสอบซ้า โดยประกอบลูกบาศก์ไม้ตดิ ทีม่ ุมอื่นไกลจากบานพับประตูที่สุด


หมายเหตุ การทดสอบนี้ ไม่ใช้กับประตูบานเิื่อน
รับ

21.104 ให้ปิดประตูและกระแทกพื้นผิว ภายนอกของประตูจานวน 3 ครั้ง แต่ละครั้งมีพลังงาน 3 J โดยกระแทกที่


ส่วนตรงกลางของประตูและอาจกระแทกที่จุดเดียวกันก็ได้
ําห

ให้กระแทกด้วยลูกเหล็กกลมมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 50 mm และมวลประมาณ 0.5 kg แขวนลูกเหล็กกลม


ด้ว ยเชือกเหมาะสมซึ่งห้ อยอยู่ ในระนาบของประตู ปล่อยลูกเหล็ กกลมให้ ตกเป็นลู กตุ้ม ผ่ านระยะทางที่
ใช้ส

กาหนดไว้เพื่อชนพื้นผิวด้วยพลังงานกระแทกทีร่ ะบุ
แล้วจึงเปิดประตูและกระแทกคล้ายกันจานวน 3 ครั้ง ที่พื้นผิวคู่ประกบ (mating surface) ของประตูบน
เตาอบ
ให้กระแทกพื้นผิวภายในของประตูบานพับจานวน 3 ครัง้ เช่นเดียวกับที่ทามาก่อน ทดสอบประตูในตาแหน่ง
เปิดเต็มที่ ให้กระแทกที่ส่วนตรงกลางของประตูและอาจกระแทกที่จุดเดียวกันก็ได้ แต่ถ้าเป็นประตูบานพับ
-14-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
ล่างอยู่ในแนวระดับเมื่ออยู่ในตาแหน่งเปิดเต็มที่ก็ให้กระแทกโดยลูกเหล็กกลมตกอย่างอิสระผ่านระยะทางที่
ได้พลังงานกระแทกที่ระบุ
ให้ทดสอบประตูบานพับล่างต่อไป โดยการกระแทกคล้ายกัน ที่คล้ายกันจานวน 3 ครั้ง ที่ผนึกของประตู
กระแทกที่ตาแหน่งต่างกัน 3 ตาแหน่ง
แล้วจึงทดสอบเครื่องใช้ไฟฟ้าตามข้อ 32

ั้น
21.105 ให้เปิดประตูบานพับล่างและวางเดือยไม้เนื้อแข็งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 mm และความยาว 300 mm

่าน
ทอดไปตามแนวบานพับล่าง โดยเดือยไม้เนื้อแข็งอยู่ในตาแหน่งทีป่ ลายข้างหนึ่งเรียงชิดกับขอบภายนอกของ
ประตู ใช้แรงปิด 90 N กดศูนย์กลางของมือจับในทิศทางตั้งฉากกับพื้นผิวของประตูค้างไว้เป็นเวลา 5 s

็นเท
ให้ทดสอบซ้า โดยปลายของเดือยไม้เนื้อแข็งเรียงชิดกับขอบภายนอกของประตูอีกขอบหนึ่ง และให้เดือยไม้
เนื้อแข็งอยู่ตรงตาแหน่งศูนย์กลางภายในบานพับประตู

ิดเห
ให้วัดการรั่วไมโครเวฟตามภาวะที่ระบุในข้อ 32 และต้องไม่เกิน 100 W/m2

22 สิ่งสร้าง


ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 22 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้
าม
22.101 เครื่องใช้ไฟฟ้าฝังในต้องระบายอากาศออกทางด้านหน้าเท่านั้น ยกเว้นมีการจัดเตรียมสาหรับระบายอากาศ
ออกทางท่อ
คว
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการตรวจพินิจ
ฟัง

22.102 ช่องระบายอากาศเตาอบต้องสร้างให้ความชื้นหรือไขที่ ระบายทางช่องระบายอากาศไม่สามารถเป็นลิเสีย


แก่ ค่ า ระยะห่ า งตามผิ ว ฉนวนแิะค่ า ระยะห่ า งในอากาศระหว่ า งส่ ว นมี ไ ฟฟ้ า กั บ ส่ ว นอื่ น ๆ ของ
รับ

เครื่องใช้ไฟฟ้า
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการตรวจพินิจ
การ

22.103 เครื่องใช้ไฟฟ้าต้องสร้างให้เป็นไปตามข้อ 22.103.1 หรือข้อ 22.103.2


22.103.1 เครื่องใช้ไฟฟ้าต้องมี อินเตอร์ล็อกประตู อย่างน้อย 2 ตัวรวมอยู่ ซึ่งทางานโดยเปิดประตู ตัวหนึ่งเป็น
รับ

อินเตอร์ล็อกประตูเฝ้าเตือน ต้องมีอินเตอร์ล็อกประตูอย่างน้อย 1 ตัวซ่อนไว้แิ้วไม่สามารถทางานได้


โดยใช้มือเขี่ย
ําห

การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการตรวจพินิจและโดยการตรวจสอบการซ่อนตามข้อ 22.105
หมายเหตุ อินเตอร์ล็อกประตู 2 ตัว สามารถรวมอยู่ในระบบของอินเตอร์ล็อกประตูเฝ้าเตือน
ใช้ส

22.103.2 เครื่องใช้ไฟฟ้าต้องมี อินเตอร์ล็อกประตูเฝ้าเตือนอิสระ 2 ตัว ซึ่งทางานโดยเปิดประตู ในกรณีนี้ ข้อ


22.105 ไม่ใช้
หมายเหตุ ไม่จาเป็นต้องซ่อนอินเตอร์ล็อกประตูเพราะว่ามีอินเตอร์ล็อกประตูเฝ้าเตือนอิสระ 2 ตัว มีอุปกรณอ
ควบคุมดูแิรวมอยู่
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการตรวจพินิจและทดสอบดังนี้
-15-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
เปิดประตูอย่างช้า ๆ และพร้อมกันนั้นให้พยายามใช้มือเขี่ย อินเตอร์ล็อกประตูที่เป็นส่วนแตะต้องถึงใด
ๆ โดยโพรบทดสอบ B ทีละครั้ง
ในการทดสอบ การทางานของแมกนีตรอนต้องไม่สามารถเป็นไปได้
22.104 อินเตอร์ล็อกประตูอย่างน้อย 1 ตัว ตามข้อ 22.103.1 แิะอินเตอร์ล็อกประตูเฝ้าเตือนทั้ง 2 ตัว ตามข้อ
22.103.2 ต้องมีส วิตซอซึ่งตัดวงจรของตัวลิิต ไมโครเวฟ หรือ ของวงจรแหิ่งจ่ายไฟฟ้าประธานของตัว

ั้น
อินเตอรอิ็อกรวมอยู่

่าน
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการตรวจพินิจ
22.105 ต้องซ่อนอินเตอร์ล็อกประตูไว้อย่างน้อย 1 ตัว แิ้วไม่สามารถทางานได้โดยใช้มือเขี่ย อินเตอร์ล็อกประตู นี้

็นเท
ต้องทางานก่อนที่สามารถเขี่ยอินเตอร์ล็อกประตูที่เป็นส่วนแตะต้องถึง
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบดังนี้

ิดเห
ให้ประตูอยู่ในตาแหน่งเปิดหรือปิด และพยายามทาให้ อินเตอร์ล็อกประตูที่ซ่อนทางานโดยใช้โพรบทดสอบ
B ตาม IEC 61032 แหย่ช่องเปิดทุกช่อง ให้ทดสอบซ้าโดยใช้แท่งกลมตามรูปที่ 101 แหย่ช่องเปิดใด ๆ ของ
กลไกอินเตอร์ล็อกประตู แต่ละครั้งที่แย่ให้ใช้แท่งกลมเพียงแท่งเดียว


อินเตอร์ล็อกประตูซึ่งทางานด้วยแม่เหล็กไฟฟ้า ยังต้องประเมินโดยใช้แม่เหล็กตรงเปลือกหุ้มเหนือสวิตช์ของ
าม
อินเตอร์ล็อกประตู แม่เหล็กมีโครงแบบ (configuration) และทิศทางแม่เหล็ก (magnetic orientation)
คล้ายกับแม่เหล็กซึ่งทาให้ อินเตอร์ล็อกประตูทางาน ซึ่งต้องสามารถให้แรง 50 N  5 N เมื่อใช้กับอาร์มา
คว
เจอร์เหล็กกล้าละมุน (mild steel armature) มีมิติ 80 mm x 50 mm x 8 mm ทั้งนี้แม่เหล็กดังกล่าว
ต้องสามารถให้แรง 5 N  0.5 N ที่ระยะห่าง 10 mm จากอาร์มาเจอร์นั้น
ฟัง

เปิดประตูอย่างช้า ๆ และพร้อมกันนั้น ให้พยายามใช้มือเขี่ย อินเตอร์ล็อกประตูที่เป็นส่วนแตะต้องถึงใด ๆ


ด้วยโพรบทดสอบ B แท่งกลม และ แม่เหล็ก
รับ

ในการทดสอบ ต้องไม่สามารถทาให้อินเตอร์ล็อกประตูที่ซ่อนทางานได้
การ

22.106 อุปกรณอควบคุมดูแิของอินเตอร์ล็อกประตูเฝ้าเตือนแต่ิะตัว ต้องทาให้เครื่องใช้ไฟฟ้าทางานไม่ได้ ถ้าส่วน


สวิตชอ (switching part) ของอุปกรณอดังกิ่าวควบคุมตัวลิิตไมโครเวฟไม่ได้
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบดังนี้
รับ

ทาให้ส่วนสวิตช์ของอินเตอร์ล็อกประตูเฝ้าเตือนไม่ทางาน จ่ายไฟฟ้าแก่เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ แรงดันไฟฟ้าที่


ําห

กาหนดจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานมีวิสัยสามารถลั ดวงจรไม่น้อยกว่า 1.5 kA สาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้ามี


แรงดันไฟฟ้าที่กาหนดเกิน 150 V และ 1.0 kA สาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ
ใช้ส

ให้เครื่องใช้ไฟฟ้าทางานโดยปิดประตูแล้วพยายามเข้าถึงช่องอบด้วยวิธีปกติ ต้องไม่สามารถเปิดประตูได้ เว้น


แต่ตัวผลิ ตไมโครเวฟหยุดทาหน้าที่และอยู่ในสภาพทางานไม่ได้ อุปกรณ์ควบคุมดูแลต้องไม่ล้มเหลวใน
ตาแหน่งวงจรเปิด
หมายเหตุ 1 ให้ เปิี่ ยนแทนที่อุ ป กรณอค วบคุ มดู แ ิในการทดสอบิ าดับ ต่ อไป ถ้ าอุ ปกรณอค วบคุ มดู แ ิิ้ มเหิวใน
ตาแหน่งวงจรปิด
หมายเหตุ 2 สามารถทาให้อินเตอร์ล็อกประตูตัวอื่นไม่ทางานเพื่อทาการทดสอบข้อนี้ ตามความจาเป็น
-16-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
ถ้าฟิวส์ภายในในวงจรที่จ่ายไฟฟ้าแก่ตัวผลิต ไมโครเวฟขาด ให้เปลี่ยนแทนที่ฟิวส์แล้วทดสอบอีก จานวน 2
ครั้ง ฟิวส์ภายในต้องขาดทุกครั้ง
ให้ทดสอบอีกจานวน 3 ครั้ง แต่มีอิมพีแดนซ์ (0.4 + j 0.25) Ω ต่ออนุกรมกับแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธาน ฟิวส์
ภายในต้องขาดทุกครั้ง
หมายเหตุ 3 สาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้ามีแรงดันไฟฟ้าที่กาหนดต่ากว่า 150 V แิะเครื่องใช้ไฟฟ้ามีกระแสไฟฟ้าที่กาหนด

ั้น
เกิน 16 A ไม่ต้องทดสอบโดยมีอิมพีแดนซอต่ออนุกรม

่าน
22.107 ความิ้มเหิวของส่วนประกอบทางไฟฟ้าหรือส่วนประกอบทางกิเพียงส่วนเดียว ซึ่งมีลิเสียต่อการทางาน
ของอินเตอร์ล็อกประตู ต้องไม่ทาให้อินเตอร์ล็อกประตูตัวอื่นใด หรือ อุปกรณอควบคุมดูแิของอินเตอร์ล็อก

็นเท
ประตูเฝ้าเตือนกิายเป็นไม่ทางาน ยกเว้นทาให้เครื่องใช้ไฟฟ้าไม่ทางาน
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการตรวจพินิจ และถ้าจาเป็นให้ จาลองความล้มเหลวของส่วนประกอบ
แล้วให้เครื่องใช้ไฟฟ้าทางานตามการใช้ปกติ

ิดเห
หมายเหตุ ข้อนี้ ไม่ใช้กับส่วนประกอบของอุปกรณอควบคุมดูแิซึ่งเป็นไปตามการทดสอบข้อ 22.106
22.108 อินเตอร์ล็อกประตูที่มีรวมอยู่เพื่อให้เป็นไปตามข้อ 22.103 ต้องทางานก่อนเกิดการรั่วไมโครเวฟเกินควร


การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบดังนี้
าม
ทาให้อินเตอร์ ล็อกประตู ทุกตัว ไม่ทางานยกเว้นไว้ตัวหนึ่ง จ่ายไฟฟ้าแก่เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ แรงดัน ไฟฟ้า ที่
กาหนดและให้ทางานด้วยโหลดที่ระบุในข้อ 32 วัดการรั่วไมโครเวฟในขณะที่เปิดประตูขยับที่ละน้อย ๆ
คว
เครื่องใช้ไฟฟ้าต้องเป็นไปตามข้อ 32
ฟัง

ให้ทดสอบซ้ากับอินเตอร์ล็อกประตูแต่ละตัวหมุนเวียนกันไป
หมายเหตุ 1 ทดสอบอินเตอร์ล็อกประตู เฉพาะเมื่ออินเตอร์ล็อกประตูต้องให้เป็นไปตามข้อ 22.103
รับ

หมายเหตุ 2 สามารถทาให้อุปกรณอควบคุมดูแิของอินเตอร์ล็อกประตูเฝ้าเตือนไม่ทางาน ตามความจาเป็นขณะ


ทดสอบ
การ

22.109 ต้องไม่มีการรั่วไมโครเวฟเกินควร แม้มีวัสดุบางสอดเข้าไประหว่างประตูกับพื้นลิวคูป่ ระกบของประตู


การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยปิดประตูหนีบแถบกระดาษมีความกว้าง 60 mm  5 mm และความ
รับ

หนา 0.15 mm  0.05 mm แถบกระดาษอยู่ระหว่างประตูกับพื้นผิวคู่ประกบของประตู


แล้วจึงทดสอบเครื่องใช้ไฟฟ้าตามข้อ 32
ําห

ให้ทดสอบจานวน 10 ครั้ง ด้วยแถบกระดาษอยู่ตามตาแหน่งต่าง ๆ กัน


ใช้ส

22.110 ต้องไม่มีการรั่วไมโครเวฟเกินควร ถ้าลนึกประตูมีอาหารปนเปื้อนตกค้าง


การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบดังนี้
ให้เคลือบผนึกประตูด้วยน้ามันทาอาหาร ถ้าผนึกมีโช้กเปิด (open choke) ให้เติมน้ามันให้เต็มราง
แล้วจึงทดสอบเครื่องใช้ไฟฟ้าตามข้อ 32

-17-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
22.111 ต้องไม่มีการรั่วไมโครเวฟเกินควร เมื่อมุมประตูบิดเบี้ยว
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบดังนี้
จ่ายไฟฟ้าแก่เครื่องใช้ไฟฟ้าที่แรงดันไฟฟ้าที่กาหนดและให้ทางานด้วยโหลดที่ระบุในข้อ 32 ใช้มือเขี่ยประตู
และตัว กลางเปิ ดของประตูจ นกระทั่งได้ช่ องว่างประตูกว้างที่สุ ดที่ยังมีการผลิ ต ไมโครเวฟ ใช้แรงดึงใน
แนวตั้งฉากกับพื้นผิวของประตูกับมุมทีละมุมหมุนเวียนกันไป เพิ่มแรงขึ้นอย่างช้า ๆ จนถึง 40 N

ั้น
ในการทดสอบ วัดการรั่วไมโครเวฟตามภาวะที่ระบุในข้อ 32 และต้องไม่เกิน 100 W/m2

่าน
หลังจากการทดสอบ เครื่องใช้ไฟฟ้าต้องเป็นไปตามข้อ 32

็นเท
22.112 ต้องไม่มีการรั่วไมโครเวฟเกินควร แิะโพรบรับรู้อุณหภูมิต้องไม่กิายเป็นเสียหายเมื่อประตู งับโพรบหรือ
สายอ่อนของโพรบ
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบดังนี้

ิดเห
ให้ต่อวงจรโพรบตามการใช้ปกติ ปล่อยให้ส่วนรับรู้และสายอ่อนพาดอยู่ตรงที่ให้ผลเลวที่สุดที่น่าจะเกิดขึ้น
ปิดประตูยันส่วนรับรู้หรือสายอ่อนด้วยแรง 90 N เป็นเวลา 5 s ตรงที่ให้ผลเลวที่สุด แล้วจึงปล่อยแรงและถ้า
เตาอบสามาถทางานด้วยโพรบรับรู้อุณหภูมิขณะที่ยังอยู่ในตาแหน่งงับ ให้วัดการรั่วไมโครเวฟตามภาวะที่
ระบุในข้อ 32 และต้องไม่เกิน 100 W/m2

าม
หลังจากการทดสอบ เครื่องใช้ไฟฟ้าต้องเป็นไปตามข้อ 32 และโพรบรับรู้อุณหภูมิต้องเป็นไปตามข้อ 8.1 ข้อ
คว
15.101 และข้อ 29
22.113 ต้องไม่มีการรั่วไมโครเวฟเกินควร เมื่อเอาชิ้นส่วนถอดได้ออก
ฟัง

การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบดังนี้
ให้เอาชิ้นส่วนถอดได้ออกยกเว้นชัน้ วาง, ยกเว้นชิ้นส่วนถอดได้ที่เอาออกแล้วเกิดพื้นผิวแนวระดับมีเส้นผ่าน
รับ

ศูนย์กลางใหญ่กว่า 85 mm
การ

แล้วจึงทดสอบเครื่องใช้ไฟฟ้าตามข้อ 32 โดยวางโหลดบนพื้นผิวแนวระดับใกล้ศูนย์กลางของช่องอบที่สุด
เท่าที่เป็นไปได้
หมายเหตุ เพื่อหิีกเิี่ยงการตรวจพบคิื่นนิ่งไม่แล่รังสี (non-radiating standing wave) อย่าสอดโพรบเครื่องมือ
รับ

วัด (instrument probe) เข้าไปในช่องเปิดที่เกิดจากการเอาชิ้นส่วนถอดได้ออก


22.114 ความลิดพร่องเดี่ยว เช่น ความิ้มเหิวของฉนวนมูลฐาน หรือ สายไฟฟ้าเชื่อมสะพานระบบฉนวนคิาย
ําห

หิวม เป็นต้น ต้องไม่ทาให้ตัวลิิตไมโครเวฟทางานโดยการเปิดประตู


การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการตรวจพินิจ และถ้าจาเป็นโดยการจาลองความผิดพร่องที่เกี่ยวข้อง
ใช้ส

โดยตัดวงจรสายไฟฟ้าที่อาจกลายเป็นคลายหลวมแล้วปล่อยให้หลุดจากตาแหน่งแต่ไม่ใช้มือ เขี่ย สายไฟฟ้า


ต้องไม่เลื่อนไปสัมผัสกับส่วนมีไฟฟ้าอื่นหรือส่วนต่าง ๆ ที่ต่อกับดิน ซึ่งถ้าเกิดผลลัพธ์เช่นนี้ขึ้นในอินเตอร์ล็
อกประตูทุกตัวก็จะกลายเป็นไม่ทางาน
หมายเหตุ 1 ความิ้มเหิวของฉนวนเสริมหรือฉนวนสองชั้น ให้ถือเสียว่าทั้งสองเป็นความลิดพร่อง
หมายเหตุ 2 สายไฟฟ้าซึ่งตรึงแน่นด้วยสิ่งยึดอิสระ 2 ตัว ให้ถือเสียว่าไม่น่าจะกิายเป็นคิายหิวม
-18-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
22.115 ต้องไม่มีทางเข้าถึงช่องอบทางหน้าต่างมองดู
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบดังนี้
ใช้แท่งเหล็กกลมตรงมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 mm และปลายแบน กดในแนวตั้งฉากยันหน้าต่างมองดูด้วยแรง
2 N แท่งเหล็กกลมตรงต้องไม่สามารถเข้าไปในช่องอบ
22.116 เครื่องใช้ไฟฟ้าสาหรับติดตั้งทางไฟฟ้าในยานพาหนะบนถนน คาราวานแิะยานพาหนะที่คิ้ายกัน ต้องทน

ั้น
ต่อการสั่นสะเทือนที่อาจเกิดขึ้น

่าน
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบการสั่นสะเทือน (vibration test) ตาม IEC 60068-2-6 ใน
ภาวะดังนี้

็นเท
ให้ตรึงเครื่องใช้ไฟฟ้าในตาแหน่งการใช้ปกติกับตัวกาเนิดการสั่น สะเทือน (vibration-generator) โดยใช้
สายรัดรอบเปลือกหุ้ม ชนิดการสั่นสะเทือนเป็นรูปคลื่นไซน์และความรุนแรง เป็นดังนี้

ิดเห
- ทิศทางการสั่นสะเทือนแนวดิง่
- แอมพิิจูดการสั่นสะเทือน 0.35 mm


- พิสัยความถี่กวาด 10 Hz ถึง 55 Hz
าม
- ระยะเวิาทดสอบ 30 min
เครื่องใช้ไฟฟ้าต้องไม่แสดงความเสียหายซึ่งอาจทาให้การเป็นไปข้อ 8.1 ข้อ 16.3 ข้อ 29 และข้อ 32 เสียไป
คว
และสิ่งต่อวงจรต่าง ๆ ต้องไม่เสียการทางาน
ฟัง

22.117 ถ้าใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อป้องกันการรั่วไมโครเวฟ ต้องออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ให้ัาวะลิดพร่อง


จะไม่มีลิเสียแก่การป้องกันการรั่วไมโครเวฟ
รับ

การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบตามข้อ 19 ควบคู่กับข้อกาหนดและข้อกาหนดจาเพาะในการ
ทดสอบตามข้อ 22.105 ข้อ 22.106 ข้อ 22.107 และข้อ 22.108
การ

22.118 ในการใช้ปกติของเครื่องใช้ไฟฟ้ายึดกับที่แิะเครื่องใช้ไฟฟ้าฝังในซึ่งใช้สูงจากพื้นเกิน 900 mm มีแป้น


หมุนที่เป็นชิ้นส่วนถอดได้ การกระทาโดยพิั้งเลิอในการขนย้ายัาชนะบรรจุต้องไม่ทาให้เป็นที่ตั้งต้นเหตุ
อันตรายเนื่องจากแป้นหมุนหิ่นิงมา ข้อนี้ไม่ใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้ามีประตูบานพับิ่างแนวระดับ
รับ

การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการตรวจพินิจ และการทดสอบดังนี้
ําห

รองลื่น (bearing) ของแป้นหมุนที่เป็นชิ้นส่วนถอดได้ของเตาอบไมโครเวฟ ต้องวางในตาแหน่งที่ให้ผลเลว


ที่สุด ใช้แรงเพิ่มขึ้นจาก 0 N ถึงสูงสุด 10 N กดลงในแนวดิ่งกับขอบหน้าของแป้นหมุน
ใช้ส

ในการทดสอบ แป้นหมุนที่เป็นชิ้นส่วนถอดได้ต้องไม่เลื่อนออกจากช่องอบและหล่นลงมา
เติมน้าเย็น 1 000 g  50 g ลงในภาชนะบรรจุทรงกระบอกทาจากแก้วบอโรซิลิเกตมีความหนาสูงสุด 3
mm มีเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกประมาณ 190 mm มีความสูงประมาณ 90 mm และมีความโค้งล่าง
ด้านนอกประมาณ 5 mm แล้ววางบนแป้นหมุน, ใช้แรงแนวระดับ เหนี่ยวที่ส่วนบนของภาชนะบรรจุ โดย
เพิ่มขึ้นจาก 0 N ถึงสูงสุด 10 N พยายามดึงภาชนะบรรจุออกจากช่องอบโดยไม่มีการยกจากแป้นหมุนเลย

-19-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
ในการทดสอบ แป้นหมุนที่เป็นชิ้นส่วนถอดได้ต้องไม่เลื่อนออกจากช่องอบและหล่นลงมา
หมายเหตุ ในการทดสอบ ัาชนะบรรจุต้องไม่สามารถหิ่นจากช่องอบ
22.119 แลงกระจกด้านนอกของประตูเตาอบไมโครเวฟซึ่งแตกในการทดสอบตามข้อ 21.104 แิะมีพื้นที่ทมี่ ีมิติเป็น
มุมฉาก 2 มุมใด ๆ เกิน 75 mm ต้องทาจาก
- กระจกซึ่งแตกเป็นชิ้นเิ็ก ๆ เมื่อทาแตกตามข้อ 22.119.1 หรือ

ั้น
- กระจกซึ่งไม่หิุดหรือร่วงจากตาแหน่งปกติของกระจก เมื่อแตกตามข้อ 22.119.2 หรือ

่าน
- กระจกมีความแข็งแรงทางกิสมรรถนะสูงตามข้อ 22.119.3

็นเท
22.119.1 สาหรับกระจกซึ่งเมื่อทาแตกเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้ว, การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบตัวอย่าง
2 ชิ้น
ให้เอากรอบหรือส่วนอื่น ๆ ที่ประกอบติดกับแผงกระจกที่ต้องทดสอบออก แล้ววางกระจกบนพื้นผิวราบ

ิดเห
แนวระดับแข็งแรงมั่นคง
หมายเหตุ 1 ขอบของตัวอย่างที่ต้องทดสอบ ให้ บรรจุไว้ัายในกรอบทาจากแทบกาวในิักษณะที่ชิ้นแตกอยู่กับที่
หิังจากการแตก แต่ไม่กีดขวางการขยายตัวของตัวอย่างนั้น

าม
ทาให้ตัวอย่างในการทดสอบ (sample under test) แตกโดยใช้ดอกเจาะทดสอบ (test punch) มีหัว
มวล 75 g  5 g และปลายคาร์ ไ บด์ ทั ง สเตนทรงกรวย (conical tungsten carbide tip) มี มุ ม
คว
60°  2° ให้วางดอกเจาะทดสอบที่ตาแหน่งห่างจากขอบยาวที่สุดของกระจกเข้า ในประมาณ 13 mm
ตรงจุดกึ่งกลางของขอบนั้น แล้งทุบดอกเจาะทดสอบด้วยค้อนเพื่อให้กระจกแตก
ฟัง

วางหน้ากากโปร่งใส 50 mm × 50 mm บนกระจกที่แตก ยกเว้นขอบรอบนอกภายใน 25 mm จาก


ขอบของตัวอย่างในการทดสอบ
รับ

ต้องทาการประเมิน บนพื้นที่ของตัวอย่างในการทดสอบอย่างน้อย 2 แห่ง และพื้นที่ที่เลือกต้องมีชิ้น


กระจกใหญ่ที่สุดอยู่ภายใน
การ

นับจานวนเศษกระเทาะอิสระภายในหน้ากากและในการประเมินแต่ละแห่งต้องไม่น้อยกว่า 40 ชิ้น ให้


นับเศษกระเทาะอิสระภายใน 5 min หลักจากการทาแตก เศษกระเทาะแต่ละซึ่งอยู่ภายในพื้นที่ของ
หน้ากากทั้งชิ้นนับเป็น 1 ชิ้น และเศษกระเทาะอิสระซึง่ อยู่ภายในหน้ากากไม่ทั้งชิ้นนับเป็นครึ่งชิ้น
รับ

หมายเหตุ 2 ในการทดสอบกระจกโค้ง สามารถใช้ชิ้นระนาบทาจากวัสดุเดียวกัน


ําห

22.119.2 สาหรับกระจกซึ่งไม่ได้หลุดหรือร่วงจากตาแหน่งปกติเมื่อแตก การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยทาให้


กระจกแตกเมื่อติดตั้งในตาแหน่งปกติของกระจกในเครื่องใช้ไฟฟ้า โดยใช้ดอกเจาะทดสอบมีหัวมวล 75
ใช้ส

g  5 g และปลายคาร์ไบด์ทังสเตนทรงกรวยมีมุม 60°  2° ให้วางดอกเจาะทดสอบที่ตาแหน่งห่างจาก


ขอบยาวที่สุดของกระจกเข้าในประมาณ 13 mm ตรงจุดกึ่งกลางของขอบนั้น แล้วทุบดอกเจาะทดสอบ
ด้วยค้อนเพื่อให้กระจกแตก
บทสรุปการทดสอบนี้ กระจกต้องไม่แตกหรือกะเทาะเป็นชิ้น ๆ จนหลุดหรือร่วงจากตาแหน่งปกติของ
กระจก และไม่ต้องพิจารณาแก้วซึ่งหลุดติดอยู่กับปลายดอกเจาะทดสอบที่เกิดจากดอกเจาะทดสอบ
กระแทกตัวอย่างในการทดสอบ
-20-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
22.119.3 สาหรับกระจกมีความแข็งแรงทางกลสมรรถนะสูง การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบค้อน
ลูกตุม้ (pendulum hammer test) Eha ตาม IEC 60068-2-75
ในการทดสอบ ให้รองรับแผงกระจกตามวิธีที่แผงกระจกมีรวมอยู่ในเครื่องใช้ไฟฟ้า
ให้ทดสอบด้วยการกระแทกจานวน 3 ครั้ง ตรงจุดวิกฤตที่สุดบนตัวอย่างในการทดสอบ 2 ชิ้น พลังงาน
กระแทกเท่ากับ 5 J ต่อครั้ง

ั้น
บทสรุปการทดสอบ กระจกต้องไม่แตกหรือกระเทาะ

่าน
22.120 ในกรณีที่กาหนดให้ อินเตอรอิ็ อกต้องเป็นไปตามมาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรมนี้แิะต้องทางานโดย
ชิ้นส่วนถอดได้ ต้องป้องกันอินเตอรอิ็อกนั้นไม่ให้ทางานโดยบังเอิญ

็นเท
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการตรวจพินิจ และโดยการทดสอบด้วยมือ (manual test) โดยโพรบ
ทดสอบ B

ิดเห
22.121 สาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ควบคุมโดยวงจรอิเล็กทรอนิกส์โปรแกรมได้ซึ่งจากัดจานวนของตัวทาความร้อนแิะ
มอเตอรอจากการมีพิังงานพร้อมกัน การกระตุ้น การร่วมทางานพร้อมกัน ของตัวทาความร้อนกับมอเตอรอ
ต้องไม่ทาให้เครื่องใช้ไฟฟ้าไม่ปิอดััย


การเป็นไปตามข้อกาหนดทาได้โดยการทดสอบดังนี้
าม
- ใช้ภาวะผิดพร่อง/ผิดพลาดที่ระบุในตารางที่ ต.1 และประเมินตามข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องตามภาคผนวก
คว
ต.1 หรือ
- ให้เครื่องใช้ไฟฟ้าทางานตามภาวะในข้อ 11 ขณะจ่ายไฟฟ้าที่แรงดันไฟฟ้าที่กาหนด, แก้ไขเพิ่มเติม
ฟัง

วงจรอิเล็กทรอนิกส์โปรแกรมได้เพื่อให้สามารถควบคุมการกระตุ้นการทางานพร้อมกันของตัวทาความ
ร้อนทุกตัวและมอเตอร์ทุกตัว
รับ

ในภาวะเหล่านี้ ต้องเป็นไปตามข้อ 19.13


การ

23 สายไฟฟ้าภายใน
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 23 ของ มอก. 1375
รับ

24 ส่วนประกอบ
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 24 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้
ําห

24.1 เพิ่มเติมข้อความ :
ใช้ส

หมายเหตุ 101 IEC 60989 ไม่ใช้กับหม้อแปิงไฟฟ้ากาิังที่จ่ายไฟฟ้าแก่แมกนีตรอน


24.1.4 เพิ่มเติมข้อความ :
ให้ทดสอบอินเตอร์ล็อกตัวอย่างจานวน 6 ตัว ดังนี้
ต่อวงจรอินเตอร์ล็อกกับโหลดซึ่งจาลองภาวะเกิดขึ้นในเครื่องใช้ไฟฟ้ า เมื่อจ่ายไฟฟ้าแก่เครื่องใช้ไฟฟ้าที่
แรงดันไฟฟ้าที่กาหนด อินเตอร์ล็อกทางานที่อัตราประมาณ 6 วัฏจักรต่อนาที จานวนวัฏจักรเป็นดังนี้
-21-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
- อินเตอร์ล็อกประตู 50 000 วัฏจักรทางาน
- อินเตอร์ล็อกเฉพาะที่ทางานในการบารุงรักษาโดยผู้ใช้ 5 000 วัฏจักรทางาน
หลังจากการทดสอบ อินเตอร์ล็อกต้องไม่เสียหายจนการใช้อินเตอร์ล็อกต่อไปเสียไป
24.101 เต้ารั บ ซึ่งมีร วมอยู่ ในเครื่ องใช้ไ ฟฟ้า ประเภท I ต้องเป็น เฟสเดียว มีส่ ว นสั มลั ส ต่อกับดินรวมอยู่ แิะมี
กระแสไฟฟ้าที่กาหนดไม่เกิน 16 A ขั้วไฟฟ้าทั้งสองขั้วต้องป้องกันด้วยฟิวสอหรือเซอรอคิตเบรกเกอรอขนาดเิ็ก

ั้น
มากซึ่งอยู่หิังฝาหรือฝาครอบที่เป็นชิ้นส่วนถอดไม่ได้แิะมีกระแสไฟฟ้าที่กาหนดไม่เกินจาเป็น

่าน
- 20 A สาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้ามีแรงดันไฟฟ้าที่กาหนดไม่เกิน 130 V

็นเท
- 10 A สาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ
ถ้าเครื่องใช้ไฟฟ้ามีเจตนาให้ต่อวงจรอย่างถาวรกับการเดินสายไฟฟ้า ยึดกับที่ หรือ มีเต้าเสียบระบุขั้วไฟฟ้า,
ไม่จาต้องป้องกันขั้วไฟฟ้าเป็นกิาง

ิดเห
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการตรวจพินิจ
หมายเหตุ ตัวกระตุ้นของเซอรอคิตเบรกเกอรอขนาดเิ็กมากสามารถเป็นส่วนแตะต้องถึง


25 การต่อกับแหล่งจ่ายไฟฟ้า และสายอ่อนภายนอก
าม
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 25 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้
คว
25.14 เพิ่มเติมข้อความ :
สาหรับโพรบรับรู้อุณหภูมิ, ให้ทดสอบการโค้งงอจานวนโดยรวม 5 000 ครั้ง โพรบรับรู้อุณหภูมิมีสายอ่อน
ฟัง

หน้าตัดกลมให้พลิกไป 90° หลังจากการทดสอบการโค้งงอจานวน 2 500 ครั้ง


รับ

26 ขั้วต่อสาหรับตัวนาภายนอก
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 26 ของ มอก. 1375
การ

27 การเตรียมการสาหรับการต่อลงดิน
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 27 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้
รับ

27.1 เพิ่มเติมข้อความ :
ําห

หมายเหตุ ส าหรั บ เครื่ อ งใช้ ไฟฟ้ า ประเภท I ขั้ ว ไฟฟ้ า หนึ่ งของด้ า นออกของแหิ่ งจ่ า ยไฟฟ้ า ก าิั ง ของตั ว ลิิ ต
ไมโครเวฟ (ถ้ามี) ต้องต่อกับดินเพื่อวัตถุประสงคอตามหน้าที่
ใช้ส

28 หมุดเกลียวและสิง่ ต่อวงจร
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 28 ของ มอก. 1375
29 ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และฉนวนของแข็ง
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 29 ของ มอก. 1375
-22-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
30 ความต้านทานต่อความร้อนและไฟ
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 30 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้
30.2 เพิ่มเติมข้อความ:
สาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าซึ่งสามารถเลือกตั้งเวลาเริ่ม เดินเครื่องไว้ก่อน และเครื่องใช้ไฟฟ้าซึ่งมีฟังก์ชั่นอุ่น ให้ใช้
ข้อ 30.2.3, สาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ ให้ใช้ข้อ 30.2.2

ั้น
่าน
31 ความต้านทานต่อการเป็นสนิม
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 31 ของ มอก. 1375

็นเท
32 การแผ่รังสี ความเป็นพิษ และอันตรายที่คล้ายกัน
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 32 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้

ิดเห
เพิ่มเติมข้อความ :
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบการรั่วไมโครเวฟ ดังนี้


ใช้ โ หลดน้ าดื่ม มีม วล 275 g  15 g มี อุณ หภู มิ 20 °C  2 °C ในภาชนะแก้ ว บอโรซิลิ เกตผนัง บาง (thin-wall
าม
borosilicate glass vessel) มีเส้นผ่านศูนย์กลางภายในประมาณ 85 mm วางอยู่บนศูนย์กลางของชั้นวาง จ่าย
ไฟฟ้าแก่เครื่องใช้ไฟฟ้าที่แรงดันไฟฟ้าที่กาหนดและให้ทางานด้วยตัวควบคุมกาลังไฟฟ้าไมโครเวฟตั้งไว้ที่ค่าตัง้ สูงทีส่ ุด
คว
หาการรั่วไมโครเวฟโดยวัดความหนาแน่นฟลักซ์ไมโครเวฟ โดยใช้เครื่องมือวัดที่สามารถอ่านค่าได้ถึ ง 90 % ของค่า
ฟัง

อ่านภาวะคงตัวของคลื่นในเวลา 2 s ถึง 3 s เมื่อได้รับสัญญาณเข้าเป็นขั้น ๆ ให้เคลื่อนย้ายสายอากาศเครื่องมือวัดไป


ทั่วพื้นผิวภายนอกของเครื่องใช้ไฟฟ้าเพื่อหาตาแหน่งที่มีการรั่วไมโครเวฟสูงที่สุด โดยเน้นที่ประตูและผนึกของประตู
รับ

การรั่วไมโครเวฟที่จุดใด ๆ จากพื้นผิวภายนอกของเครื่องใช้ไฟฟ้าระยะตั้งแต่ 50 mm ขึ้นไป ต้องไม่เกิน 50 W/m2


หมายเหตุ 101 ถ้าการเป็นไปตามข้อกาหนดโดยมีข้อสงสัยเนื่องจากอุณหัูมิของน้าสูง ให้ทดสอบซ้าด้วยโหิดสดใหม่
การ

3 -0.1
0
รับ
10

 100 
ําห

มิติเป็นมิิิิเมตร
ใช้ส

รูปที่ 101 แท่งกลมทดสอบสาหรับการซ่อนอินเตอร์ล็อก


(ข้อ 22.105)

-23-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020

ั้น
่าน
็นเท
ค ิดเห
าม
ด้านข้าง ด้านหน้า
คว
มิติเป็นมิิิิเมตร
รูปที่ 102 ตู้ทดสอบรวมถึงพื้นผิวทางาน
ฟัง

ตาแหน่งของกรวย และ ตัวอย่างสาหรับทิศทางการเอียงหรือกระดก


รับ

(ข้อ 15.102)
การ
รับ
ําห
ใช้ส

-24-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020

ั้น
่าน
็นเท
ิดเห
ด้านข้าง ด้านหน้า

ค มิติเป็นมิิิิเมตร
าม
รูปที่ 103 ตู้ทดสอบรวมถึงกระดานกั้นแยก
ตาแหน่งของกรวย และ ตัวอย่างสาหรับทิศทางการเอียงหรือกระดก
คว
(ข้อ 5.103)
ฟัง
รับ
การ
รับ
ําห
ใช้ส

-25-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
ภาคผนวก
ให้เป็นไปตามัาคลนวกต่าง ๆ ของ มอก. 1375 ยกเว้นัาคลนวกต่อไปนี้
ภาคผนวก ก
(ข้อแนะนา)

ั้น
การทดสอบประจา

่าน
ให้เป็นไปตามัาคลนวก ก ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้
ก.2 การทดสอบความทนทานไฟฟ้า

็นเท
แก้ไขข้อความ :
กระแสไฟฟ้าในวงจรทดสอบอาจเพิ่มขึ้นถึง 100 mA

ิดเห
ก.101 การทาเครื่องหมายและฉลาก และข้อปฏิบัติ
ให้ตรวจสอบฝาหรือฝาครอบเพื่อให้แน่ใจว่า ฝามีคาเตือนเกี่ยวกับพลังงานไมโครเวฟ


ให้ตรวจสอบเครื่องใช้ไฟฟ้าเพื่อให้แน่ใจว่า มีข้อปฏิบัติสอดคล้องกันจัดให้ด้วย
าม
ก.102 สิ่งสร้าง
คว
ให้ตรวจสอบการทางานของระบบอินเตอร์ล็อกประตู เพื่อให้แน่ใจว่าการผลิตไมโครเวฟหยุดทางานเมื่อ
ประตูเปิด
ฟัง

ก.103 การรั่วไมโครเวฟ
จ่ายไฟฟ้าแก่เตาอบไมโครเวฟทีแ่ รงดันไฟฟ้าที่กาหนดและให้ทางานด้วยตัวควบคุมกาลังไฟฟ้าไมโครเวฟซึ่ง
รับ

ปรับตั้งไว้ที่ค่าตั้งสูงที่สุด ใช้โหลดตามที่ระบุในข้อ 32 หรือโหลดมีคุณสมบัติทางความร้อนและไดอิเล็กตริก


เทียบเท่า วัดความหนาแน่นฟลักซ์พลังงานของการรั่วไมโครเวฟ ณ จุดใด ๆ ระหว่างตัวรับรู้สนามแม่เหล็ก
การ

ไฟฟ้ า (field sensor) กั บ พื้ น ผิ ว ภายนอกของเตาอบประมาณ 50 mm ย้ า ยเครื่ อ งมื อ วั ด ไปทั่ ว พื้ น ผิ ว


ภายนอกของเตาอบและวัดการรั่วไมโครเวฟ
รับ

การรั่วไมโครเวฟต้องไม่เกิน 50 W/m2 ตามที่บันทึกไว้ด้วยเครื่องมือวัด ที่มีคุณสมบัติไม่ต่ากว่าข้อกาหนด


จาเพาะในข้อ ก.104 ซึง่ เกีย่ วกับฟังก์ชั่นเหมาะสมของเครื่องมือวัด
ําห

ก.104 ข้อกาหนดจาเพาะต่าสุดของเครื่องมือวัดการรั่วไมโครเวฟ
ใช้ข้อกาหนดจาเพาะต่อไปนี้ในการทดสอบประจาเท่านั้น แิะยังอาจใช้ในการตรวจสอบเตาอบไมโครเวฟ
ใช้ส

หิังจากการซ่อมแซมหรือการรับบริการด้วย เครื่องมือวัดสาหรับการทดสอบเฉพาะแบบต้องเป็นไปตาม
ข้อกาหนดเข้มงวดกว่าซึ่งได้มาจากหน่วยงานระดับชาติที่รับลิดชอบในเรื่องการป้องกันการแล่รังสีไม่มีไอออน
ก.104.1 ต้องตรวจสอบเครื่องมือวัดอย่างสม่าเสมอเพื่อให้แน่ใจว่าได้บารุงรักษาฟังก์ชั่ นเหมาะสมของเครื่องไว้
การเป็นไปตามข้อกาหนดในการทดสอบเครื่องมือวัด ให้ทาที่อุณหภูมิห้อง ต้องรู้ตาแหน่งของตัวรับรู้

-26-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและนิยมทาเครื่องหมายเอาไว้เพื่อให้สามารถระบุการวัด ในข้อ ก.104.2 การแยก
ชัดต่าสุดของเครื่องมือวัดในการทดสอบ (instrument under test) ต้องเป็น 1 W/m2
ก.104.2 การตรวจสอบให้ ทาโดยใช้ ตัว ผลิ ต คลื่ น แม่เหล็ กไฟฟ้า ติดตั้ง ในห้ องไร้ เสี ย งสะท้อนกลั บ (anechoic
chamber) หรือไม่ก็ใช้เครื่องมือวัดอ้างอิงในแบบวิธีแทนที่ สนามแม่เหล็กไฟฟ้าระยะไกล (far field)
ต้องเป็นแบสภาพขั้วเชิงเส้น (linearly polarized) ตัวรับรู้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าของเครื่องมือวัดในการ
ทดสอบ (IUT) ต้องวางอยู่ที่ตาแหน่งสนามแม่เหล็กไฟฟ้าอ้างอิงที่ซึ่งความหนาแน่นฟลักซ์เท่ากับ 10

ั้น
W/m2 หรือ 50 W/m2 โดยขึ้นอยู่กับ ชิ้นงาน ถ้ามีตัวเลือกพิสัยก็ให้ตั้งไว้ที่พิสัยเหมาะสมที่สุดเพื่อวัด

่าน
ความหนาแน่นฟลักซ์ 10 W/m2 หรือ 50 W/m2 โดยขึ้นอยู่กับชิ้นงาน และมีความคลาดเคลื่อนยินยอม
จาก -40 % ถึง ±60 % โดยหมุนตัวรับรู้สนามแม่เหล็กไฟฟ้า IUT อย่างช้า ๆ เป็นมุม 360° รอบแกน

็นเท
ของตัวรับรู้ สนามแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งปรับแนวไปยังทิศทางการแพร่กระจาย (propagation direction)
ของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าระยะไกล และปรับทิศทางไปยังแหล่งกาเนิดแผ่รังสี จะรับและบันทึกค่าอ่าน
ต่าสุดและค่าอ่านสูงสุด ถ้าความเบี่ยงเบนของค่าอ่านต่าสุดและค่าอ่านสูงสุดน้อยกว่าหรือเท่ากับ ± 2

ิดเห
dB (นั่นคือจาก -37 % ถึง +58 %) อ้างถึงสนามแม่เหล็กไฟฟ้าอ้างอิง ให้สันนิษฐานว่า IUT เป็นไปตาม
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้


าม
คว
ฟัง
รับ
การ
รับ
ําห
ใช้ส

-27-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
ภาคผนวก กก
(ข้อกาหนด)
เตาอบไมโครเวฟร่วม
การแก้ไขข้อความมาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรมนี้เพื่อใช้กับเตาอบไมโครเวฟร่วมดังนี้

ั้น
สาหรับเตาอบไมโครเวฟร่วมที่เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าประจาที่ใช้ IEC 60335-2-6 ได้ด้วย แิะ สาหรับเตาอบไมโครเวฟ
ร่วมที่เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้ายกหิ้วได้ใช้ IEC 60335-2-9 ได้ด้วย อย่างไรก็ตามข้อกาหนดตามมาตราานดังกิ่าวไม่ถือว่า

่าน
สาคัญกว่ามาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรมนี้

็นเท
หมายเหตุ ถ้าเตาอบไมโครเวฟร่วมมีแบบวิธีทางานอิสระของการลิิตไมโครเวฟ ก็ให้ทดสอบเฉพาะแบบวิธี ทางานเช่น นี้ตาม
ข้อกาหนดในมาตราานที่เกี่ยวข้อง ถ้าเตาอบไมโครเวฟร่วมมีแบบวิธีทางานโดยไม่ใช้ตัวทาความร้อนทางความต้านทานก็
ให้ทดสอบตามข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องตามมาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรมนี้

ิดเห
3 บทนิยาม
3.1.9 เพิ่มเติมข้อความ :
ให้เครื่องใช้ไฟฟ้าทางานด้วยตัวควบคุมต่าง ๆ ปรับตั้งไปที่ค่าตั้งที่ให้ลิเิวที่สุดตามข้อปฏิบัติสาหรับ
แบบวิธีทางานที่เจตนา

าม
5 ภาวะทั่วไปสาหรับการทดสอบ
คว
5.3 เพิ่มเติมข้อความ :
หมายเหตุ 101 เมื่อทดสอบแบบวิธีทางานแตกต่างกันหิายแบบ ให้ทดสอบเฉพาะแบบวิธีทางานมีัาวะที่ให้ลิเิวที่สุด
ฟัง

5.101 เพิ่มเติมข้อความ :
รับ

ให้ทดสอบเตาอบไมโครเวฟร่วมเช่นเดียวกับเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดร่วม
7 การทาเครื่องหมายและฉลาก และข้อปฏิบัติ
การ

7.12 เพิ่มเติมข้อความ :
ข้อปฏิบัติการใช้ต้องมีข้อความสาระสาคัญดังนี้ด้วย
รับ

คาเตือน : เด็กควรใช้เตาอบในการควบคุมดูแิของลู้ใหญ่เท่านั้น เนื่องจากเตาอบร้อนเมื่อทางานในแบบ


วิธีร่วม
ําห

11 การเกิดความร้อน
ใช้ส

11.7 แทนข้อความ :
ให้เตาอบไมโครเวฟมีตะแกรงซึ่งสามารถทางานพร้อมกันกับการผลิตไมโครเวฟทางาน ด้วยกาลังไฟฟ้าออก
ไมโครเวฟประมาณ 50 % เป็นเวลา 30 min
ให้เตาอบไมโครเวฟมีการทาความร้อนพา (convection heating) ซึ่งสามารถทางานพร้อมกันกับการผลิต
ไมโครเวฟ ด้วยกาลังไฟฟ้าออกไมโครเวฟประมาณ 50 % เป็นเวลา 60 min

-28-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
ให้เตาอบไมโครเวฟมีตะแกรงหรือการทาความร้อนพาซึ่งสามารถทางานพร้อมกันกับการผลิตไมโครเวฟ
ด้วยกาลังไฟฟ้าออกไมโครเวฟเป็นเวลา 15 min โดยปรับตั้งตัวควบคุมไปที่ค่าตั้งสูงที่สุด แล้วทางานต่อเป็น
เวลา 30 min โดยไม่มีการผลิตไมโครเวฟ
ในการทดสอบ ถ้าน้าระเหยไปมากกว่าครึ่งหนึ่ง ให้เติมน้าเดือดจนเต็ม ภาชนะ โดยเปิดประตูเป็นเวลาไม่เกิน
10 s

ั้น
หมายเหตุ 101 การทดสอบเหิ่านี้ ให้ถือเสียว่าครอบคิุมถึงเครื่องใช้ไฟฟ้ามีโปรแกรมหรือตัวตั้งเวิา

่าน
11.8 เพิ่มเติมข้อความ :
Addition:

็นเท
หมายเหตุ 101 เมื่อเตาอบไมโครเวฟร่วมทางานในแบบวิธีร่วม ใช้ค่าขีดจากัดตาม IEC 60335-2-6 สาหรับ
เครื่องใช้ไฟฟ้าประจาที่ แิะใช้ค่าขีดจากัดตาม IEC 60335-2-9 สาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้ายกหิ้วได้
18 ความทนทาน

ิดเห
เพิ่มเติมข้อความ :
ก่อนการวัดการรั่วไมโครเวฟให้ทาภาวะเพิ่มเติมดังนี้
- ค
ให้ ตั ว ทาความร้ อ นทางความต้ า นทานทางานเป็ น เวลา 15 min ส าหรั บการทาความร้ อ นแผ่ รั ง สี (radiant
าม
heating)
คว
- ให้ตัวทาความร้อนทางความต้านทานทางานเป็นเวลา 30 min สาหรับการทาความร้อนพา
- ให้ทางาน 1 วัฏจักร สาหรับเตาอบทาความสะอาดในตัวด้วยการสลายด้วยความร้อน (pyrolytic self-cleaning
ฟัง

oven)
19 การทางานผิดปกติ
รับ

19.1 แก้ไขข้อความ :
การ

ให้ทดสอบตามข้อ 19.102 โดยจ่ายไฟฟ้าแก่เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ 1.06 เท่าของแรงดันไฟฟ้าที่กาหนดให้


22 สิง่ สร้าง
รับ

เพิ่มเติมข้อความ :
ตาม IEC 60335-2-6:2014 ข้อ 22.120 ไม่ใช้
ําห

29 ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และฉนวนของแข็ง


แทนข้อความ :
ใช้ส

ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 29 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้


29.2 เพิ่มเติมข้อความในบรรทัดที่ 2 :
- ในกรณีที่ฉนวนโดนอากาศระบายออกจากช่องอบเตาอบ ให้ใช้มิพิษระดับ 3
29.3 เพิ่มเติมข้อความ :
-29-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
ไม่มีข้อกาหนดความหนาสาหรับเปิือกหุ้มของตัวทาความร้อนมีแสงเห็นได้ ถ้า อินเตอร์ล็อกประตูมีการตัด
วงจรทุกขั้ว

ั้น
่าน
็นเท
ค ิดเห
าม
คว
ฟัง
รับ
การ
รับ
ําห
ใช้ส

-30-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
ภาคผนวก ขข
(ข้อกาหนด)
เตาอบไมโครเวฟที่มีเจตนาให้ใช้บนเรือ
การแก้ไขข้อความของมาตราานลิิตััณ์ออุตสาหกรรมนี้ให้ใช้กับเตาอบไมโครเวฟที่มีเจตนาให้ใช้บนเรือ ดังนี้

ั้น
หมายเหตุ หากไม่ชัดเจนว่าข้อหรือข้อย่อยของัาคลนวกนี้มีเจตนาเพื่อแก้ไข มอก. 1375 หรือ มอก. 60335 เิ่ม2(25) ให้
กาหนดดังต่อไปนี้

่าน
3 บทนิยาม

็นเท
3.ขข.101 ดาดฟ้าเปิด (open deck)
พื้นที่ซึ่งเปิดโิ่งรับสัาพแวดิ้อมทางทะเิ
3.ขข.102 ห้องนันทนาการ (dayroom)

ิดเห
พื้นที่ซึ่งอาจเปิดโิ่งรับสัาพแวดิ้อมทางทะเิเป็นครั้งคราว
6 การจาแนกประเภท
6.2 เพิ่มเติมข้อความ : ค
าม
เครื่องใช้ไฟฟ้าสาหรับใช้บนดาดฟ้าเปิดต้องเป็น IPX6
คว
7. การทาเครื่องหมายและฉลาก และข้อปฏิบัติ
7.1 แทนข้อความ :
ฟัง

แทนข้อความยัติภังค์ที่สองของ มอก. 1375 ดังนี้


รับ

- ความถี่ที่กาหนดหรือพิสัยความถี่ที่กาหนด มีหน่วยเป็นเฮิรตซอ
7.12 เพิ่มเติมข้อความ :
การ

ข้อปฏิบัติต้องมีข้อความสาระสาคัญดังนี้
- การใช้บนเรือ
รับ

- สถานที่ติดตั้งทางไฟฟ้า (ห้องปิดิ้อมป้องกันดาดฟ้าเปิด ห้องนันทนาการ)


ําห

- ตัวกิางตรึง
ข้อปฏิบัติสาหรับเตาอบไมโครเวฟที่มีเจตนาให้ใช้บนเรือ ต้องระบุ:
ใช้ส

ระวัง: ให้พิสูจนอยืนยันว่าแรงดันไฟฟ้าแิะความถี่ของแหิ่งจ่ายไฟฟ้าประธานของเรือตรงกับ แรงดันไฟฟ้าที่


กาหนดแิะความถี่ที่กาหนดหรือพิสัยความถี่ที่กาหนดของเตาอบไมโครเวฟ
22 สิ่งสร้าง
22.ขข.101 เครื่องใช้ไฟฟ้าต้องทนต่อพัิสอที่อาจได้รับ

-31-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบพัลส์รูปคลื่นไซน์ครึ่งตาม IEC 60068-2-27 ในภาวะ
ดังนี้
ให้ตรึงเครื่องใช้ไฟฟ้าในตาแหน่งการใช้ปกติกับเครื่องทดสอบช็อก (shock-testing machine) โดยใช้
สายรัดรอบเปลือกหุ้ม
ชนิดของพัลส์เป็นพัลส์รูปคลื่นไซน์ครึ่ง และความรุนแรง เป็นดังนี้

ั้น
- ใช้พัลส์รูปคลื่นไซน์ครึ่ง ทั้ง 3 แกน

่าน
- ความเร่งพีก : 250 m/s2

็นเท
- ระยะเวลาของพัลส์รูปคลื่นไซน์ครึ่งแต่ละพัลส์ : 6 ms
- จานวนพัลส์รูปคลื่นไซน์ครึ่งในแต่ละทิศทาง : 1 000 ± 10

ิดเห
เครื่องใช้ไฟฟ้าต้องไม่แสดงความเสียหายซึ่งอาจทาให้การเป็นไปตามข้อ 8.1 ข้อ 16.3 ข้อ 29 และข้อ
32 เสียไป และสิ่งต่อวงจรต่าง ๆ ต้องไม่เสียการทางาน
22.ขข.102 เครื่องใช้ไฟฟ้าต้องทนต่อการสั่นสะเทือนที่อาจได้รับ


การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบการสั่นสะเทือน (vibration test) ตาม IEC 60068-2-
าม
6 ในภาวะดังนี้
คว
ให้ตรึงเครื่องใช้ไฟฟ้าในตาแหน่งการใช้ปกติบนโต๊ะสั่นสะเทือน (vibration table) โดยใช้สายรัดรอบ
เปลือกหุ้ม ชนิดการสั่นสะเทือนเป็นรูปคลื่นไซน์และความรุนแรง เป็นดังนี้
ฟัง

- ทิศทางการสั่นสะเทือนเป็นแนวดิ่งและแนวระดับ
- แอมพลิจูดการสั่นสะเทือน : 0.35 mm
รับ

- พิสัยความถี่กวาด : 10 Hz ถึง 150 Hz


การ

- ระยะเวลาทดสอบ : 30 min
เครื่องใช้ไฟฟ้าต้องไม่แสดงความเสียหายซึ่งอาจทาให้การเป็นไปตามข้อ 8.1 ข้อ 16.3 ข้อ 29 และข้อ
32 เสียไป และสิ่งต่อวงจรต่าง ๆ ต้องไม่เสียการทางาน
รับ

31 ความต้านทานการเป็นสนิม
ําห

แทนข้อความ :
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในข้อ 31 ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้
ใช้ส

เพิ่มเติมข้อความ :
การเป็นไปตามข้อกาหนดให้ทาโดยการทดสอบไอเกลือ (salt mist test) Kb ตาม IEC 60068-2-52
- สาหรับดาดฟ้าเปิดใช้ความรุนแรง 1
- สาหรับห้องนันทนาการใช้ความรุนแรง 2

-32-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
ก่อนการทดสอบ ให้ขีดสิ่งเคลือบด้วยหมุดเหล็กกล้าแข็ง (hardened steel pin) ซึ่งมีส่วนปลายเป็นทรงกรวยมุม 40°
ปลายกลมมีรัศมี 0.25 mm ± 0.02 mm กดด้วยแรงตามแนวแกนของหมุดเหล็กกล้า 10 N ± 0.5 N ขีดบนพื้นผิว
ของสิ่งเคลือบด้วยอัตราเร็วประมาณ 20 mm/s จานวน 5 ขีดห่างกันอย่างน้อย 5 mm และห่างจากขอบอย่างน้อย 5
mm
หลังจากการทดสอบ เครื่องใช้ไฟฟ้าต้องไม่เสื่อมสภาพจนทาให้การเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้
โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อ 8 และข้อ 27 เสียไป สิ่งเคลือบต้องไม่แตกและต้องไม่หลุดลอกออกจากพื้นผิวโลหะ

ั้น
่าน
็นเท
ค ิดเห
าม
คว
ฟัง
รับ
การ
รับ
ําห
ใช้ส

-33-
มอก. 60335 เล่ม 2(25) - 2565
IEC 60335-2-25:2020
บรรณานุกรม
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในบรรณานุกรม ของ มอก. 1375 ยกเว้นข้อต่อไปนี้
เพิ่มเติมข้อความ :
IEC 60335-2-90, Household and similar electrical appliances – Safety – Part 2-90: Particular
requirements for commercial microwave ovens

ั้น
IEC 60519-6, Safety in electroheat installations – Part 6: Specifications for safety in industrial

่าน
microwave heating equipment

็นเท
IEC 609892, Separating transformers, autotransformers, variable transformers and reactors
ISO 13732-1, Ergonomics of the thermal environment – Methods for the assessment of human
responses to contact with surfaces – Part 1: Hot surfaces

ค ิดเห
าม
____________________________________
คว
ฟัง
รับ
การ
รับ
ําห
ใช้ส

2
ยกเิิก
-34-

You might also like