001แผนงานการทำงานใกล้ทางรถไฟ JVBP PDF

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 221

โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม

สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ราชอาณาจักรไทย
กระทรวงคมนาคม
การรถไฟแหงประเทศไทย

แผนงานความปลอดภัย
สำหรับงานกอสรางทางรถไฟ

เสนอ
กลุมบริษัทที่ปรึกษา ซีเอสบีเอ็น 1

จัดทำโดย
กิจการรวมคา เอเอส - ช.ทวี แอนด แอสโซซิเอทส

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

โครงการกอสรางทางรถไฟ
สายบานไผ-มหาสารคาม-รอยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

คำนำ

แผนงานความปลอดภัยฉบับนี้จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหผูปฏิบัติงานหรือผูที่เกี่ยวของในโครงการฯ
สามารถนำไปเปนแนวทางในการปฏิบัติงานกอสรางบนทางรถไฟและขางทางรถไฟ เพื่อปองกันไมใหเกิดอุบัติเหตุจากการ
ทำงานที่เกิดจากบุคคล เครื่องมือ เครื่องจักร และวิธีการทำงาน โดยเฉพาะโครงการกอสรางรถไฟทางคู สัญญาที่ 1 ชวง
บานไผ-มหาสารคาม-รอยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนมที่มีการทำงานทั้งบนรางรถไฟ ขางทางรถไฟ สะพานทางขามทางรถไฟ
อุโมงคลอดทางรถไฟ สะพานลอยคนขาม ทางรถไฟยกระดับ ตลอดจนงานกอสรางอื่นๆ ที่เกี่ยวของอีกมาก
หวังเปนอยางยิ่งวา แผนงานความปลอดภัยฉบับนี้จะเปนประโยชนไมมากก็นอย

ดวยความปรารถนาดี
คณะผูจัดทำ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 1


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

สารบัญ

ลำดับ รายละเอียดเนือ้ หา หนา


1. คำนำ 1
2. สารบัญ 2-3
ประกาศการรถไฟแหงประเทศไทย เรื่อง นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมใน
3. 4
การทำงาน
นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน กิจการรวมคา เอเอส-ช.ทวี
4. 5
แอนด แอสโซซิเอทส
5. กฎความปลอดภัยสำหรับโครงการกอสราง 6
6. แผนงานดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน 7-22
7. นิยามศัพท 23-24
8. การกำหนดหนาที่รับผิดชอบ 25-29
9. ความปลอดภัยในการขนสงทางบก 30
10. ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับงานขุดเจาะ 31
11. ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับการปองกันและระงับอัคคีภัย 32
12. การฝกอบรม 33-37
13. การวางแผนฉุกเฉิน 38-41
14. แผนฉุกเฉินเมื่อเกิดอุบัติเหตุ 42
15. การประชุมดานความปลอดภัย 43
16. อุบัติเหตุ การเกิดอุบัติเหตุ/สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ 44-45
17. การตรวจสอบและการติดตามผลความปลอดภัย 46-49
18. มาตรการปองกันการเกิดอุบัติเหตุ/อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล 50-51
19. สี/สัญลักษณความปลอดภัยและสุขภาพ 52-53
20. มาตรฐานความปลอดภัยเกี่ยวกับอุปกรณไฟฟา 54-55
21. มาตรฐานความปลอดภัยเกี่ยวกับการทำงานกับสวานไฟฟาเฉือน 56
22. มาตรฐานความปลอดภัยในการเคลื่อนยายวัสดุ 57-60
23. มาตรฐานความปลอดภัยในการจัดเก็บวัสดุ 61
24. มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง 62-64
25. มาตรฐานความปลอดภัยในการใชบันได 65
26. มาตรฐานความปลอดภัยในการใชนั่งราน 66
27. มาตรฐานความปลอดภัยในการใชอุปกรณชุดตัดแกส 67
28. มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ 68-69
29. ความปลอดภัยในสำนักงาน (SAFETY IN OFFICE) 70
30. การตรวจสอบและติดตามผลความปลอดภัย 71
31. วิธีปฏิบัติงานดานความปลอดภัยในการทำงานบนรางและขางทางรถไฟ 72-99
32. ระยะหางของสายไฟฟาขามทางรถไฟ/การชวยเหลือผูประสบภัยจากไฟฟา 100-101

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 2


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

สารบัญ (ตอ)
ลำดับ รายละเอียดเนือ้ หา หนา
33. การปฐมพยาบาล 102-104
34. ความปลอดภัยในงานกอสรางในน้ำ 105-107
35. การใชงานถังดับเพลิง 108-113
36. ปายสัญลักษณความปลอดภัย/สิ่งแวดลอม (Environment) 114
ขอบังคับและระเบียบการเดินรถ พ.ศ. 2549 (ขดร.2549) แบบเขตบรรทุก และ เขตโครงสรางตามขอ
37. 115-124
140 และรูปแสดงวิธีปกปายสัญญาณตามขอ 36
ขอบังคับและระเบียบการเดินรถ พ.ศ. 2549 (ขดร.2549)แบบเครื่องกั้นถนนผานเสมอระดับทางตามขอ
38. 125-133
259
39. เครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานกอสราง 134-144
40. กฎหมายและขอกำหนดตางๆที่เกี่ยวของ 145-146
41. หมายเลขโทรศัพท 147-148
42. เอกสาร (ขึ้นทะเบียน จป.) 149-158
43. แบบฟอรมเอกสาร (Check list) 159-204
44. แบบฟอรมเอกสาร (Permit to Work) 205-216
45. แบบฟอรมรายงานอุบัติเหตุ 217-219

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


3
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ประกาศการรถไฟแหงประเทศไทย
เรื่อง นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน

.........................................................

การรถไฟแหงประเทศไทยมีความรับผิดชอบและมุงมั่นที่จะดำเนินการดานความปลอดภัยอาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอมในการทำงาน เพื่อใหผูปฏิบัติงานมีสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดลอมที่ดี ซึ่งจะมั่นใจไดวาการ
ดำเนินการในภารกิจใดๆ อยูภายใตมาตรการระบบความปลอดภัย จึงกำหนดนโยบายไวดังนี้
1. ความปลอดภั ย ในการทำงานเป น หน า ที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบอั น ดั บ แรกในการทำงานของ
ผูปฏิบัติงานทุกคน (Safety First)
2. มีความหวงใยผูปฏิบัติงานใหมีความปลอดภัยในการทำงาน โดยจะสนับสนุนปรับปรุง
สภาพการทำงานและสภาพแวดลอมในการทำงานใหเกิดความปลอดภัยเปนสำคัญ
3. ส งเสริ มและสนั บ สนุ น ใหม ีกิ จ กรรมดานความปลอดภัย ใหความรู ความเขา ใจเพื่ อ
เสริมสรางจิตสำนึกและทัศนคติที่ดีเพื่อเปนวัฒนธรรมองคกร ลดความเสี่ยงและความสูญเสียจาก
อุบัติภัยที่อาจจะเกิดขึ้น
4. สงเสริมความรวมมือและการมีสวนรว มกับทุ กภาคสวนในการขับเคลื่ อนมาตรฐาน
ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอมอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
5. พัฒนามาตรการเชิงปองกันดูแลเฝาระวังใหสอดคลองตามมาตรการความปลอดภัยใน
การทำงานจากหนวยงานของรัฐอยางตอเนื่อง
6. ผู  บ ริ ห ารทุ ก ระดั บ ต อ งเปน แบบอยา งที ่ ด ี ในการปฏิ บ ั ต ิ ง านให เ กิ ด ความปลอดภั ย
เสริมสราง แนะนำ อบรม ใหผูปฏิบัติงานปฏิบัติหนาที่ดวยความปลอดภัย
7. ผูปฏิบัติงานทุกคนตองคำนึงถึงความปลอดภัยตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน ทั้งสวนตนและ
ผูรวมงาน ตลอดจนถึงทรัพยสินตาง ๆ ของการรถไฟแหงประเทศไทย
จึงประกาศมาเพื่อทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน

ประกาศ ณ วันที่ 30 กรกฎาคม 2563

นายนิรุฒ มณีพันธ
(นายนิรุฒ มณีพันธ)
ผูวาการรถไฟแหงประเทศไทย

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 4


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน

ประกาศ
ฉบับที่ 1/2566
เรื่อง นโยบายความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน
---------------------------------------------------------
ดวยกิจการรวมคา เอเอส-ช.ทวี แอนด แอสโซซิเอทส มีความหวงใยตอชีวิตและสุขภาพของ
พนักงานทุกคน ดังนั้น จึงเห็นสมควรใหมีการดำเนินงานดานความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมใน
การทํางานควบคูไปกับหนาที่ประจำของพนักงาน จึงไดกำหนดนโยบายไวดังนี้
1. ความปลอดภัยในการทํางานถือเปนหนาที่รับผิดชอบอันดับแรกในการปฏิบัติงานของพนักงานทุกคน
2. กิจการรวมคาฯ จะสนับสนุนใหมีการปรับปรุงสภาพการทำงานและสภาพแวดลอมใหปลอดภัย
3. กิจการรวมคาฯ จะสนับสนุนสงเสริมใหมีกิจกรรมความปลอดภัยตางๆ ที่จะชวยกระตุนจิตสำนึกของ
พนักงาน เชน การอบรม จูงใจ ประชาสัมพันธ การแขงขันดานความปลอดภัย เปนตน
4. ผูบังคับบัญชาทุกระดับจะตองกระทำตนใหเปนแบบอยางที่ดี เปนผูนำ อบรม ฝกสอน จูงใจใหพนักงาน
ปฏิบัติงานดวยวิธีที่ปลอดภัย
5. พนักงานทุกคนตองคำนึงถึงความปลอดภัยของตนเอง เพื่อนรวมงาน ตลอดจนทรัพยสินของบริษัทฯ เปน
สําคัญตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน
6. พนักงานทุกคนตองดูแลความสะอาด และความเปนระเบียบเรียบรอยในพื้นที่ที่ปฏิบัติงาน
7. พนักงานทุกคนตองใหความรวมมือในโครงการความปลอดภัยอาชีวอนามัยของกิจการรวมคาฯ และมีสิทธิ์
เสนอความคิดเห็นในการปรับปรุงสภาพการทำงาน และวิธีการทำงานใหปลอดภัย
8. กิจการรวมคาฯ จะจัดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายที่กำหนดไวขางตนเปนประจำ

จึงประกาศมาใหทราบ และถือปฏิบัติโดยทั่วกัน

ประกาศ ณ วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2566

……………………………………………………….
ผูจัดการโครงการฯ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


5
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม 6
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


7
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 8


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


9
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 10


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 11


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 12


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 13


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 14


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 15


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 16


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 17


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


18
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 19


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


20
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


21
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 22


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

นิยามศัพท

“ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน” หมายความวา การกระทำหรือสภาพการทำงาน


ซึ่งปลอดจากเหตุอันจะทำใหเกิดการประสบอันตราย การเจ็บปวย หรือความเดือดรอนรำคาญอันเนื่องจากการทำงาน
หรือเกี่ยวกับการทำงาน
“นโยบาย” หมายความวา ขอความที่ใหแนวทาง (Guideline) สำหรับการพัฒนาและการดำเนินงานของหนวยงาน
หรื อแผนงาน (Program) ซึ ่ งสะท อนให เ ห็น ทั้งโดยตรงและโดยอ อม ถึงหลักการพื้น ฐานหรื อความเชื่ อถื อ ของ
ผูรับผิดชอบสำหรับหนวยงานหรือแผนงานนั้น ๆ
“หนวยงานความปลอดภัย” หมายความวา หนวยงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน
ซึ่งนายจางใหดูแลและปฏิบัติงานดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานของสถาน
ประกอบกิจการ
“ผูแทนลูกจาง” หมายความวา ผูแทนลูกจางซึ่งเปนลูกจางระดับปฏิบัติการที่ไดรับการเลือกตั้งจากฝายลูกจางใหเปน
กรรมการ
“นายจาง” หมายความวา นายจางตามกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงานและใหหมายความ รวมถึง ผูประกอบ
กิจการซึ่งยอมใหบุคคลหนึ่งบุคคลใดมาทํางานหรือทําผลประโยชนใหแกหรือในสถาน ประกอบกิจการ ไมวาการ
ทํ างานหรือการทํ า ผลประโยชนน ั้ นจะเป นสวนหนึ่งสว นใดหรือทั้งหมด ในกระบวนการผลิตหรือธุรกิจในความ
รับผิดชอบของผูประกอบกิจการนั้นหรือไมก็ตาม
“ลูกจาง” หมายความวา ลูกจางตามกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงานและใหหมายความ รวมถึงผูซึ่งไดรับความ
ยินยอมใหทํางานหรือทําผลประโยชนใหแกหรือในสถานประกอบกิจการของนายจาง ไมวาจะเรียกชื่ออยางไรก็ตาม
“ผูบริหาร” หมายความวา ลูกจางตั้งแตระดับผูจัดการในหนวยงานขึ้นไป
“หัวหนางาน” หมายความวา ลูกจางซึ่งทําหนาที่ควบคุม ดูแล บังคับบัญชาหรือสั่งใหลูกจาง ทํางานตามหนาที่ของ
หนวยงาน
“เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํา งาน” หมายความวา ลูกจางซึ่งนายจางแตงตั้ งให ปฏิบัติหนาที่ด านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน
“คาจาง” หมายความวา เงินที่นายจางและลูกจางตกลงกันจายเปนคาตอบแทนในการทํางานตามสัญญาจางสําหรับ
ระยะเวลาการทํางานปกติเปนรายชั่วโมง รายวัน รายสัปดาห รายเดือน หรือระยะเวลาอื่น หรือจายใหโดยคํานวณ
ตามผลงานที่ลูกจางทําไดในเวลาทํางานปกติของวันทํางาน และใหหมายความรวมถึงเงินที่นายจางจายใหแกลูกจางใน
วันหยุดและวันลาที่ลูกจางมิไดทํางาน แตลูกจางมีสิทธิไดรับตามพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541
“ลูกจางระดับปฏิบัติการ” หมายความวา ลูกจางซึ่งทำหนาที่เปนผูปฏิบัติงาน
“การประเมินความเสี่ยง” หมายความวา กระบวนการวิเคราะหถึงปจจัยตางๆที่อาจเปนเหตุทำใหอันตรายที่มีและที่
แอบแฝงอยูกอใหเกิดอุบัติเหตุ การเจ็บปวย โรคจากการทำงาน หรือ อุบัติภัยรายแรงโดยพิจารณาถึงโอกาสที่จะเกิด
และความรุนแรงของอันตรายเหลานั้น
“การชี้บงอันตราย” หมายความวา การแจกแจงอันตรายที่มีและที่แอบแฝงอยูในทุกงาน ทุกจุดทำงาน ทุกกิจกรรม
ทุกขั้นตอนงาน ตลอดจนวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ เครื่องจักรและสิ่งแวดลอมการทำงาน เปนตน
“การตรวจประเมิน” หมายความวา กระบวนการตรวจประเมินอยางเปนระบบ มีความเปนอิสระ และจัดทำผลการ
ตรวจประเมินเปนเอกสารหรือลายลักษณอักษร เพื่อใหไดหลักฐานของการตรวจประเมิน (Audit evidence) และ
ประเมินผลโดยพิจารณาถึงความสอดคลองตามเกณฑการตรวจประเมิ น (Audit criteria) อาทิ ขอกำหนดระบบ
คุณภาพ นโยบาย ขั้นตอนการปฏิบัติ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


23
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

“I.F.R” หมายความวา อัตราความถี่ของการประสบอันตรายบาดเจ็บตองหยุดงาน ซึ่งจะบงบอกถึงแนวโนมของ


อุบัติเหตุ และบอกถึงจำนวนครั้งของอุบัติเหตุทำใหบาดเจ็บตองหยุดงานทุกๆ หนึ่งลานชั่วโมงการทำงาน
“I.S.R” หมายความว า อั ตราความร า ยแรงของการประสบอัน ตรายตองหยุดงาน ซึ่งจะบงบอกถึงวัน หยุดงาน
เนื่องจากการบาดเจ็บที่สูญเสียไปทั้งหมดครบ 1 ลานชั่วโมงการทำงาน
“การสอบสวนอุบัติเหตุ (Accident Investigation )” หมายความวา กระบวนการในการคนหาความจริง หรือ
สาเหตุที่แทจริง (The Root Cause) ของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น แลวนำขอเท็จจริงที่ไดมาประเมิน เพื่อเสนอแนะแนวทาง
หรือมาตรการควบคุม หรือปองกันไมใหเกิดเหตุการณซ้ำเดิมขึ้นมาอีก
“อุบัติเหตุ (Accident)” หมายถึง เหตุการณไมพึงประสงคที่ไมไดคาดคิดไวลวงหนา เมื่อเกิดขึ้นแลวมีผลใหเกิดการ
บาดเจ็บ/เจ็บปวย/สูญเสียทรัพยสิน/เสียหายตอสภาพแวดลอมในการทำงาน
อุบัติการณ(Incident) หมายถึง เหตุที่ไมพึงประสงค แตเมื่อเกิดขึ้นแลวมีผลใหเกิดอุบัติเหตุ หรือเกือบเกิดอุบัติเหตุ
ได
การกระทำที่ไมปลอดภัย (Unsafe Action)หมายถึง การกระทำหรือการปฏิบัติงานของคนที่มีผลทำใหเกิดความไม
ปลอดภัยกับตนเองและผูอื่น เชน การทำงานไมถูกวิธี หรือไมถูกขั้นตอน ความประมาท พลั้งเผลอ เหมอลอย การถอด
เครื่องกำบังเครื่องจักร/ใชเครื่องมือไมเหมาะสมกับงาน
สภาพการณที่ไ มปลอดภั ย (Unsafe Condition)หมายถึง สภาพสถานที่ทำงาน เครื่องจักร กระบวนการผลิ ต
เครื่องยนต อุปกรณ ไมมีความปลอดภัยเพียงพอ เชน การออกแบบพื้นที่ทำงานไมเหมาะสม ไมมีความปลอดภัย
ระบบความปลอดภัยไมมีประสิทธิภาพ ไมมีอุปกรณดานความปลอดภัย
เหตุการณเกือบเกิดอุบัติเหตุ (Near miss) หมายถึง เหตุการณผิดปกติเมื่อเกิดขึ้นแลวมีแนวโนมที่จะกอให เ กิด
อุบัติเหตุ
เขตกอสราง หมายความวา พื้นที่ที่ดำเนินการกอสราง รวมทั้งพื้นที่โดยรอบบริเวณซึ่งนายจางไดกำหนดขึ้น
รถจักร หมายความวา รถซึ่งมีกำลังแรงใหเคลื่อนที่ไปไดตามทาง และจะยก ออกจากทางทันทีไมได เชน รถจักร
ดีเซล รถจักรดีเซลไฟฟา รถดีเซลราง รถจักรไฟฟา รถยนตตรวจการณขนาดหนัก รถบำรุงทางขนาดหนัก รถกลบำรุง
ทาง รถปนจั่นสื่อสาร รถกลสื่อสาร ฯลฯ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 24


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

การกำหนดหนาที่รับผิดชอบ
ผูจัดการโครงการ และรองผูจัดการโครงการ
มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้
1. กำหนดนโยบายดานความปลอดภัยในการปฏิบัติงานใหผูใตบังคับบัญชาทุกระดับยึดถือปฏิบัติ
2. จัดใหมีคณะกรรมการความปลอดภัย
3. จัดใหมีเจาหนาที่ความปลอดภัยระดับวิชาชีพ
4. จัดหาอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลแกพนักงานอยางเหมาะสม
5. เปนประธานคณะกรรมการความปลอดภัยและเขารวมประชุมทุกครั้ง
6. กำกับดูแลใหเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับพื้นฐาน ระดับหัวหนางาน และระดับวิชาชีพ ปฏิบัติ
หนาที่รับผิดชอบใหเปนไปตามระเบียบ คำสั่ง หรือมาตรการความปลอดภัยในการทํางาน
7. สงเสริมและสนับสนุนกิจกรรมดานความปลอดภัยในการทำงาน
8. ติดตามความคืบหนาดานความปลอดภัยจากการรายงานผลการปฏิบัติงานของแตละหนวยงาน
3. รองผูจัดการโครงการ ชวยงานในภารกิจหนาที่ปฏิบัติงานดานความปลอดภัยเหมือนผูจัดการโครงการหรือตามที่
ผูจัดการโครงการมอบหมาย
ผูจัดการฝายกอสราง
มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้
1. กำกับดูแลใหลูกจางในหนวยงานรับผิดชอบ ปฏิบัติตามกฎระเบียบ คำสั่งหรือมาตรการความปลอดภัยในการ
ทํางาน
2. สอนวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกตองแกลูกจางในหนวยงานที่รับผิดชอบ เพื่อใหเกิดความปลอดภัยใน การทํางาน
3. ตรวจสอบสภาพการทำงาน เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณใหอยูในสภาพที่ปลอดภัยกอนลงมือปฏิบัติงาน
ประจําวัน
4. ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บปวย หรือการเกิดเหตุเดือดรอนรำคาญ อันเนื่องจากการทำงาน
ของลูกจางรวมกับเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับพื้นฐานหรือ ระดับวิชาชีพ และรายงานผลรวมทั้งขอเสนอแนะ
ตอนายจางเพื่อปองกันการเกิดเหตุ
5. สงเสริม และสนับสนุนกิจกรรมดานความปลอดภัยในการทำงาน
6. ปฏิบัติดานความปลอดภัยในการทำงานตามที่เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหารมอบหมาย
จป.ระดับบริหาร
มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้
1.กำกับดูแลเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานทุกระดับซึ่งอยูในบังคับบัญชาของตน
2.เสนอแผนงานหรือโครงการดานความปลอดภัยในการทำงานในหนวยงานที่รับผิดชอบตอนายจาง
3.สงเสริม สนับสนุน และติดตามการดำเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานใหเปนไปตามแผนงานโครงการ
เพื่อใหมีการจัดการดานความปลอดภัยในการทำงานที่เหมาะสมกับสถานประกอบกิจการ
4.กำกับ ดูแล และติดตามใหมีการแกไขขอบกพรองเพื่อความปลอดภัยในการทำงานของลูกจางตามที่ไดรับรายงาน
หรือตามขอเสนอแนะของเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงาน คณะกรรมการความปลอดภัย หรือหนวยงานความปลอดภัย

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 25


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

จป.ระดับวิชาชีพ
มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้
1.ตรวจสอบและเสนอแนะใหนายจางปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมใน
การทำงาน
2.วิเคราะหงานเพื่อชี้บงอันตรายและกำหนดมาตรการปองกันหรือขั้นตอนการทำงานอยางปลอดภัยเสนอตอนายจาง
3.ประเมินความเสี่ยงดานความปลอดภัยในการทำงาน อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน
4.วิเคราะหแผนงานหรือโครงการ และขอเสนอแนะของหนวยงานตาง ๆ และเสนอแนะมาตรการความปลอดภัยใน
การทำงานตอนายจาง
5.ตรวจประเมินการปฏิบัติงานของสถานประกอบกิจการใหเปนไปตามแผนงานโครงการ หรือมาตรการความปลอดภัย
ในการทำงานตอนายจาง
6.แนะนำใหลูกจางปฏิบัติตามคูมือวาดวยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอม ในการทำงานของสถาน
ประกอบกิจการ
7.แนะนำ ฝกสอน อบรมลูกจางเพื่อใหการปฏิบัติงานปลอดจากเหตุอันจะทำใหเกิดความไมปลอดภัยในการทำงาน
8.ตรวจวัดและประเมินสภาพแวดลอมในการทำงาน หรือดำเนินการรวมกับบุคคลหรือนิติบุคคลที่ขึ้นทะเบียนหรือ
ไดรับใบอนุญาตตามกฎหมายวาดวยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน หรือกฎหมายอื่นที่
เกี่ยวของ
9.เสนอแนะตอนายจางเพื่อใหมีการจัดการดานความปลอดภัยในการทำงานที่เหมาะสมกับสถานประกอบกิจการ และ
พัฒนาใหมีประสิทธิภาพอยางตอเนื่อง
10.ตรวจสอบหาสาเหตุ และวิเคราะหการประสบอันตราย การเจ็บปวย หรือการเกิดเหตุเดือดรอนรำคาญอันเนื่องจาก
การทำงานของลูกจาง และรายงานผลการตรวจสอบ รวมทั้งเสนอแนะแนวทางการแกไขปญหาตอนายจางเพื่อปองกันการเกิด
เหตุโดยไมชักชา
11.รวบรวมสถิติ วิเคราะหขอมูล จัดทำรายงาน และขอเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบอันตราย การเจ็บปวย หรือการ
เกิดเหตุเดือดรอนรำคาญอันเนื่องจากการทำงานของลูกจาง
12.ใหความรูและอบรมดานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอมแกลูกจางกอนเขาทำงาน และระหวางทำงาน
เพื่อทบทวนความรูอยางนอยปละหนึ่งครั้ง
13.ปฏิบัติงานดานความปลอดภัยในการทำงานอื่นตามที่นายจางมอบหมาย

จป.ระดับเทคนิคขั้นสูง
มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้
1.ตรวจสอบและเสนอแนะใหนายจางปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมใน
การทำงาน
2.วิเคราะหงานเพื่อชี้บงอันตรายและกำหนดมาตรการปองกันและขั้นตอนการทำงานอยางปลอดภัยเสนอตอนายจาง
3.วิเคราะหแผนงานโครงการและขอเสนอแนะของหนวยงานตาง ๆ และเสนอแนะมาตรการความปลอดภัยในการ
ทำงานตอนายจาง
4.ตรวจประเมินการปฏิบัติงานของสถานประกอบกิจการใหเปนไปตามแผนงานโครงการหรือมาตรการความปลอดภัย
ในการทำงาน
5.แนะนำใหลูกจางปฏิบัติตามขอบังคับและคูมือวาดวยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน
ของสถานประกอบกิจการ
6.แนะนำ ฝกสอน อบรมลูกจาง เพื่อใหการปฏิบัติงานปลอดจากเหตุอันจะทำใหเกิดความไมปลอดภัยในการทำงาน
แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 26
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

7.ตรวจสอบหาสาเหตุและวิเคราะหการประสบอันตราย การเจ็บปวย หรือการเกิดเหตุเดือดรอนรำคาญอันเนื่องจาก


การทำงานของลูกจาง และรายงานผลการตรวจสอบ รวมทั้งเสนอแนะแนวทางการแกไขปญหาตอนายจางเพื่อปองกันการเกิด
เหตุโดยไมชักชา
8.รวบรวมสถิติ วิเคราะหขอมูล และจัดทำรายงาน และขอเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบอันตราย การเจ็บปวย หรือ
การเกิดเหตุเดือดรอนรำคาญอันเนื่องจากการทำงานของลูกจางเสนอตอนายจาง
9.ปฏิบัติงานดานความปลอดภัยในการทำงานอื่นตามที่นายจางมอบหมาย

จป.ระดับเทคนิค
มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้
1.ตรวจสอบและเสนอแนะใหนายจางปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมใน
การทำงาน
2.วิเคราะหงานเพื่อชี้บงอันตราย และกำหนดมาตรการปองกันและขั้นตอนการทำงานอยางปลอดภัยเสนอตอนายจาง
3.แนะนำใหลูกจางปฏิบัติตามคูมือวาดวยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอม ในการทำงานของสถาน
ประกอบกิจการ
4.ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บปวย หรือการเกิดเหตุเดือดรอนรำคาญอันเนื่องจากการทำงานของ
ลูกจาง และรายงานผลการตรวจสอบ รวมทั้งเสนอแนะแนวทางการแกไขปญหาตอนายจางเพื่อปองกันการเกิดเหตุโดยไมชักชา
5.รวบรวมสถิติและจั ดทำรายงานและข อเสนอแนะเกี ่ยวกับ การประสบอันตราย การเจ็บปวย หรือการเกิ ด เหตุ
เดือดรอนรำคาญอันเนื่องจากการทำงานของลูกจางเสนอตอนายจาง
6.ปฏิบัติงานดานความปลอดภัยในการทำงานอื่นตามที่นายจางมอบหมาย

จป.ระดับหัวหนางาน
มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้
1.กำกั บ ดู แ ล ให ล ู ก จ า งในหน ว ยงานที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบปฏิ บ ั ต ิ ต ามคู  ม ื อ ว าด ว ยความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ
สภาพแวดลอมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ
2.วิเคราะหงานในหนวยงานที่รับผิดชอบเพื่อคนหาความเสี่ยงหรืออันตรายเบื้องตนจากการทำงาน โดยอาจรวม
ดำเนินการกับเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูง หรือระดับวิชาชีพ
3.จัดทำคูมือวาดวยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานของหนวยงานที่รับผิดชอบ โดยรวม
ดำเนิ น การกั บ เจ าหน า ที ่ ความปลอดภั ย ในการทำงานระดับ เทคนิ ค ระดับ เทคนิค ขั้น สูง หรือระดับ วิช าชี พ เพื่อ เสนอ
คณะกรรมการความปลอดภัยหรือนายจาง แลวแตกรณี และทบทวนคูมือดังกลาวตามที่นายจางกำหนด โดยนายจางตอง
กำหนดใหมีการทบทวนอยางนอยทุกหกเดือน
4.สอนวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกตองแกลูกจางในหนวยงานที่รับผิดชอบเพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการทำงาน
5.ตรวจสอบสภาพการทำงานเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณใหอยูในสภาพที่ปลอดภัยกอนลงมือปฏิบัติงาน
ประจำวัน
6.กำกับ ดูแล การใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลของลูกจางในหนวยงานที่รับผิดชอบ
7.รายงานการประสบอันตราย การเจ็บปวย หรือการเกิดเหตุเดือดรอนรำคาญ อันเนื่องจากการทำงานของลูกจางตอ
นายจาง และแจงตอเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูง หรือระดับวิชาชีพ สำหรับสถาน
ประกอบกิจการที่มีหนวยงานความปลอดภัยใหแจงตอหนวยงานความปลอดภัยทันทีที่เกิดเหตุ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 27


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

8.ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บปวย หรือการเกิดเหตุเดือดรอนรำคาญอันเนื่องจากการทำงานของ


ลูกจางรวมกับเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูง หรือระดับวิชาชีพ และรายงานผลการ
ตรวจสอบ รวมทั้งเสนอแนะแนวทางแกไขปญหาตอนายจางเพื่อปองกันการเกิดเหตุโดยไมชักชา
9.สงเสริมและสนับสนุนกิจกรรมความปลอดภัยในการทำงาน
10.ปฏิ บ ั ต ิ งานด า นความปลอดภั ย ในการทำงานอื่น ตามที่เจาหนาที่ความปลอดภัย ในการทำงานระดับ บริห าร
มอบหมาย
วิศวกร ผูควบคุมงาน โฟรแมน หัวหนางาน
มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้
1.ผูควบคุมงานตองทำหนังสือแสดงความยินยอมเปนผูควบคุมงาน มอบใหเจาของโครงการ เพื่อทำหนังสือแจงชื่อผู
ควบคุมงานตอเจาพนักงานทองถิ่นตามมาตรา 29 และมาตรา 30
2.ผูควบคุมงานที่ประสงคจะถอนตัวจากการเปนผูควบคุมงาน (มาตรา 30) ในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
วิศวกรผูลงลายมือชื่อเปนผูควบคุมงาน จะตองรับผิดชอบจนกวางานกอสรางจะแลวเสร็จ หากวิศวกรตองการจะถอนตัวออก
จากการเปนผูควบคุมงาน จะตองทำหนังสือขอยกเลิกการเปนวิศวกรผูควบคุมงานตอเจาพนักงานทองถิ่น จึงจะพนจากความ
รับผิดยกตัวอยางเชน การที่วิศวกร ช ไดรับเปนวิศวกรผูควบคุมงานตามใบอนุญาตกอสรางอาคาร วิศวกร ช จะหลุดพนความ
รับผิดชอบก็ตอเมื่อไดแจงถอนตัวจากการเปนผูควบคุมงานเปน ลายลักษณอักษรตอเจาพนักงานทองถิ่นผูอนุญาตเทานั้น การที่
วิศวกร ช มีหนังสือแจงถอนตัวจากการเปนผูควบคุมงานตอเจาของอาคารโดยมิไดแจงตอ เจาพนักงานทองถิ่น สงผลใหวิศวกร
ช ยังคงมีความรับผิดในฐานะผูควบคุมงานอยู
3.ผูควบคุมงานวิศวกรรมจะตองควบคุมการกอสราง ดัดแปลง หรือรื้อถอนอาคาร ใหเปนไปตามแผนผังบริเวณ แบบ
แปลน และรายการประกอบแบบแปลนที่ไดรับอนุญาต และจะตองปฏิบัติตามวิธีการและเงื่อนไขที่เจาพนักงานทองถิ่นกำหนด
ไวในใบ อนุญาต หรือตามที่ไดแจงไวตอเจาพนักงานทองถิ่น หากมีการฝาฝนกฎหมายใหสันนิษฐานไวกอนวาเปนการกระทำ
ของผูควบคุมงาน เวนแตผูควบคุมงานจะพิสูจนไดวาเปนการกระทำของผูอื่น ซึ่งผูควบคุมงานไดมีหนังสือแจงขอทักทวงการ
กระทำดังกลาวใหเจาของหรือ ผูครอบครองอาคาร และผูดำเนินการทราบแลว แตบุคคลดังกลาวไมยอมปฏิบัติตาม (มาตรา
31)
4.ในกรณีที่มีการกอสราง ดัดแปลง หรือรื้อถอนอาคาร ที่ฝาฝนพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 กฎกระทรวง
หรือขอบัญญัติทองถิ่นที่ออกตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคารฯ ผูควบคุมงานเปนบุคคลหนึ่งซึ่งจะตองรับผิดชอบและปฏิบัติ
ตามคำสั่งของเจา พนักงานทองถิ่น มิฉะนั้น อาจถูกดำเนินคดีตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคารฯ และอาจถูกแจงเวียนชื่อ
มายังสภาวิศวกรตามมาตรา 49 ทวิ เพื่อพิจารณาจรรยาบรรณแหงวิชาชีพวิศวกรรม

พนักงาน
มีหนาที่ ปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนางาน

คณะกรรมการความปลอดภัย
มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้
1.จัดทำนโยบายดานความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทำงานของสถานประกอบกิจการเสนอตอ
นายจาง
2.จัดทำแนวทางการปองกันและลดการเกิดอุบัติเหตุ การประสบอันตราย การเจ็บปวยหรือการเกิดเหตุเดือดรอน
รำคาญอันเนื่องจากการทำงานของลูกจางหรือความไมปลอดภัยในการทำงานเสนอตอนายจาง

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 28


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

3.รายงานและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางปรับปรุงแกไขสภาพการทำงานและสภาพแวดลอมในการทำงาน ให
เปนไปตามกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานตอนายจางเพื่อความปลอดภัยในการทำงานของลูกจาง ผูรับเหมา
และบุคคลภายนอกที่เขามาปฏิบัติงานหรือเขามาใชบริการในสถานประกอบกิจการ
4.สงเสริมและสนับสนุนกิจกรรมดานความปลอดภัยในการทำงานของสถานประกอบกิจการ
5.พิจารณาคูมือวาดวยความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทำงานของสถานประกอบกิจการเพื่อ
เสนอความเห็นตอนายจาง
6.สำรวจการปฏิบัติการดานความปลอดภัยในการทำงานและรายงานผลการสำรวจดังกลาว รวมทั้งสถิติการประสบ
อันตรายที่เกิดขึ้นในสถานประกอบกิจการนั้น ในการประชุมคณะกรรมการความปลอดภัยทุกครั้ง
7.พิจารณาโครงการหรือแผนการฝกอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน รวมถึงโครงการหรือแผนการอบรม
เกี่ยวกับบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบในดานความปลอดภัยของลูกจาง หัวหนางาน ผูบริหาร นายจางและบุคลากรทุกระดับ
เพื่อเสนอความเห็นตอนายจาง
8.จัดวางระบบใหลูกจางทุกคนทุกระดับมีหนาที่ตองรายงานสภาพการทำงานที่ไมปลอดภัยตอนายจาง
9.ติดตามผลความคืบหนาเรื่องที่เสนอตอนายจาง
10.รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปรวมทั้งระบุปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะในการปฏิบัติหนาที่ของ
คณะกรรมการความปลอดภัยเมื่อปฏิบัติหนาที่ครบหนึ่งปเสนอตอนายจาง
11.ประเมินผลการดำเนินงานดานความปลอดภัยในการทำงานของสถานประกอบกิจการ
12.ปฏิบัติงานดานความปลอดภัยในการทำงานอื่นตามที่นายจางมอบหมาย
คปอ. ตามกฎหมายใหม 2565

คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการ
มีหนาที่รับผิดชอบดังนี้
1. รวมหารือกับนายจางเพื่อจัดสวัสดิการแกลูกจาง
2. ใหคำปรึกษาหารือและเสนอแนะความเห็นแกนายจางในการจัด สวัสดิการสำหรับลูกจาง
3. ตรวจตรา ควบคุม ดูแล การจัดสวัสดิการที่นายจางจัดใหแกลูกจาง
4. เสนอขอคิดเห็น และแนวทางในการจัดสวัสดิการที่เปนประโยชนสำหรับลูกจางตอคณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม 29
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ความปลอดภัยในการขนสงทางบก

การจัดการรถ
- จัดการบำรุงรักษารถและอุปกรณ
- ตรวจความพรอมของรถและอุปกรณ
- ตรวจอุปกรณความปลอดภัยที่จำเปน

การจัดการผูขับรถ
- กำหนดหนาที่พนักงานขับรถ
- จัดทำแผนการทำงานของพนักงานขับรถ
- จัดทำแผนอบรมพนักงานขับรถ
- จัดทำแผนตรวจสุขภาพพนักงานขับรถ
- ตรวจแอลกอฮอล
- ตรวจความพรอมดานรางกายและจิตใจ
- สุมตรวจสารเสพติด

การจัดการเดินรถ
- จัดทำแผนการเดินทาง
- ตรวจสอบการจัดการ การใชความเร็ว
- ตรวจสอบสถานการณ การเดินทาง

การจัดการการบรรทุกและโดยสาร
- จัดทำคูมือการปฏิบัติงาน
- ตรวจสอบความปลอดภัยในการบรรทุกหรือรถโดยสาร

การบริหารจัดการ การวิเคราะหและประเมินผล
- จัดทำแผนรับมือกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน
- บริหารจัดการ และติดตอประสานงานกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน
- รายงานอุบัติเหตุ วิเคราะหขอมูลอุบัติเหตุแลปองกันไมใหเกิดเหตุซ้ำ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 30


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับงานขุดเจาะ

การขุด การเจาะ เปนกระบวนการหนึ่งที่เปนองคประกอบสำคัญในการกอสราง มีการขุดหรือเจาะอยูเสมอ เชน การทำ


ฐานราก การสรางชั้นใตดิน การวางทอระบายน้ำ เปนตน การทำงานอาจทำใหเกิดอันตรายจนเปนเหตุใหลูกจางเสียชีวิตได

อันตรายที่อาจเกิดขึ้น
1. การพังทลายของดิน หิน กรวด ทราย
2. ลูกจางพลัดตกลงไปในหลุม บอ หรือคู ที่ขุด
3. ขาดอากาศหายใจหรือสูดดมกาซพิษ

มาตรการเพื่อความปลอดภัย
1.การปองกันพังทลายดิน ดำเนินการดังนี้
1.1 ปองกันการพังทลายของดินโดยการกำหนดแนวปฏิบัติดานความปลอดภัยใหสอดคลองกับกระบวนการ
ทำงานของงานกอสราง การทำไหลลาดเอียง หรือใชแผนโลหะหรือวัสดุอื่นที่มีความแข็งแรงเพียงพอทำใหเปนผนังกั้นหรือค้ำ
ยัน
1.2 หามนำเครื่องจักรกลที่มีน้ำหนักมาเขาใกลปากรู หลุม บอหรือคูที่ขุดไวรวมทั้งการกองวัสดุที่มีน้ำหนักมาก
ดวย เวนแตจะไดปองกันการพังทลายเนื่องจากแรงดันดินไวแลว
1.3 มาตรการที่วิศวกรเปนผูกำหนด
2.ปองกันการตกหลนลงไปในรู หลุม บอหรือคูที่ขุดไว ดำเนินการดังนี้
2.1 ปดปากรู หลุม บอหรือคู ดวยวัสดุที่มั่นคงแข็งแรง
2.2 ทำรั้วหรือราวกันตก สูง 0.90 – 1.10 เมตร โดยรอบ
3.ถาในรู หลุม บอหรือคู มีสภาพเปนที่อับอากาศตองปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 31


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับการปองกันและระงับอัคคีภัย
กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการดานความปลอดภัยอาชีวอนามัย และ
สภาพแวดลอมในการทำงานเกี่ยวกับการปองกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. 2555 หมวด 1 บททั่วไป ไดกำหนดไวดังนี้
1. ใหนายจางจัดใหมีระบบปองกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการตามกฎกระทรวงนี้ และตองดูแลระบบ
ปองกันและระงับอัคคีภัยใหอยูในสภาพพรอมใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
2. ในสถานประกอบกิจการทุกแหง ใหนายจางจัดทำปายขอปฏิบัติเกี่ยวกับการดับเพลิงและการอพยพหนีไฟ และปด
ประกาศใหเห็นไดอยางชัดเจน
3. ในสถานประกอบกิจการที่มีลูกจางตั้งแตสิบคนขึ้นไป นอกจากตองปฏิบัติตามขอ 3 แลว ใหนายจางจัดใหมีแผน
ปองกันและระงับอัคคีภัย ประกอบดวยการตรวจตรา การอบรม การรณรงคปองกันอัคคีภัย การดับเพลิง การอพยพหนีไฟ
และการบรรเทาทุกข
ใหนายจางจัดเก็บแผนปองกันและระงับอัคคีภัย ณ สถานประกอบกิจการพรอมที่จะใหพนักงานตรวจความปลอดภัย
ตรวจสอบได
4. อาคารที่มีสถานประกอบกิจการหลายแหงตั้งอยูรวมกัน ใหนายจางทุกรายของสถานประกอบกิจการในอาคารนั้นมี
หนาที่รวมกันในการจัดใหมีระบบปองกันและระงับอัคคีภัย รวมทั้งแผนปองกันและระงับอัคคีภัยดวย
5.ในกรณีที่นายจางสั่งใหลูกจางทำงานที่มีลักษณะงานหรือไปทำงาน ณ สถานที่ที่เสี่ยงหรืออาจเสี่ยงตอการเกิด
อัคคีภัย ใหนายจางแจงขอปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานใหลูกจางทราบกอนการปฏิบัติงาน
7.ใหนายจางจัดเก็บวัตถุตาง ๆ ดังตอไปนี้
7.1 วัตถุซึ่งเมื่อรวมกันแลวจะเกิดการลุกไหมหรืออาจกอใหเกิดการลุกไหม ใหแยกเก็บโดยมิใหปะปนกัน
7.2 วัตถุซึ่งโดยสภาพสามารถอุมน้ำหรือซับน้ำไดมาก ใหจัดเก็บไวบนพื้นของอาคารซึ่งสามารถรองรับน้ำหนัก
ที่เพิ่มขึ้นได

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม 32
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

การฝกอบรม
ใหนายจางจัดใหมีการฝกอบรมดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน เพื่อใหบริหาร
จัดการและดำเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานไดอยางปลอดภัยใหแกลูกจางระดับ
บริหาร หัวหนางาน และลูกจางทุกคนภายใน 60 วัน นับแตวันที่ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ
วิธีการ และเงื่อนไขการฝกอบรมผูบริหาร หัวหนางาน และลูกจาง ดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการ
ทำงาน ใชบังคับ

การฝกอบรมดานความปลอดภัยสำหรับพนักงานใหม/เกา
มีระยะเวลาการฝกอบรม 6 ชั่วโมง ประกอบดวยหัวขอวิชา
1. ความรูเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานมีระยะเวลาการฝกอบรม 1 ชั่วโมง
30 นาที
2.กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน มีระยะเวลาการฝกอบรม 1 ชั่วโมง 30
นาที
3.ขอบังคับวาดวยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน มีระยะเวลาการฝกอบรม 3 ชั่วโมง

การฝกอบรมเจาหนาที่ความปลอดภัย
จป.ระดับบริหาร มีระยะเวลาการฝกอบรม 12 ชั่วโมง ประกอบดวย 3 หมวดวิชาดังตอไปนี้
หมวดวิชาที่ 1 การบริหารงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน มีระยะเวลาการฝกอบรม 3
ชั่วโมง ประกอบดวยหัวขอวิชา
(ก) การควบคุมความสูญเสียจากอุบัติเหตุและโรคจากการทํางาน
(ข) บทบาทหนาที่ของลูกจางระดับบริหารเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน
หมวดวิชาที่ 2 กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานมีระยะเวลาการฝกอบรม 3 ชั่วโมง
ประกอบดวยหัวขอวิชา
(ก) การบริหารกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานของกระทรวงแรงงาน
(ข) สาระสําคัญของกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานและการนํากฎหมายไปสู
การปฏิบัติ
หมวดวิชาที่ 3 ระบบการจัดการดานความปลอดภัยในการทํางาน มีระยะเวลาการฝกอบรม 6 ชั่วโมง ประกอบดวยหัวขอวิชา
(ก) แนวคิดการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน
(ข) ระบบการจัดการความปลอดภัยในการทํางานของกระทรวงแรงงาน
(ค) การประยุกตใชระบบการจัดการความปลอดภัยในการทํางานในสถานประกอบกิจการ

จป.ระดับเทคนิค มีระยะเวลาการฝกอบรม 18 ชั่วโมง ประกอบดวย 4 หมวดวิชา


หมวดวิชาที่ 1 การจัดการความปลอดภัยในการทำงาน มีระยะเวลาการฝกอบรม 3 ชั่วโมง ประกอบดวยหัวขอวิชา
(ก) แนวคิดการจัดการเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน
(ข) บทบาทหนาที่ของเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 33


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

หมวดวิชาที่ 2 กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน มีระยะเวลาการฝกอบรม 3 ชั่วโมง


ประกอบดวยหัวขอวิชา
(ก) สาระสำคัญของกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน
(ข) การตรวจสอบความปลอดภัยตามขอกำหนดของกฎหมาย
หมวดวิชาที่ 3 การวิเคราะหงานเพื่อชี้บงอันตราย มีระยะเวลาการฝกอบรม 6 ชั่วโมง ประกอบดวยหัวขอวิชา
(ก) เทคนิคการชี้บงอันตรายเพื่อปองกันอุบัติเหตุจากการทำงาน
(ข) เทคนิคการชี้บงอันตรายเพื่อปองกันโรคจากการทำงาน
(ค) เทคนิคการชี้บงอันตรายเพื่อปองกันอุบัติภัยรายแรง
หมวดวิชาที่ 4 การฝกปฏิบัติการปองกันและควบคุมอันตราย มีระยะเวลาการฝกอบรม 6 ชั่วโมง ประกอบดวยหัวขอวิชา
(ก) การฝกปฏิบัติการตรวจสอบความปลอดภัยตามขอกำหนดของกฎหมาย
(ข) การฝกปฏิบัติการจัดทำขั้นตอนการปฏิบัติงาน
(ค) การฝกปฏิบัติการสอบสวนอุบัติเหตุและการจัดทำรายงาน

จป.ระดับหัวหนางาน มีระยะเวลาการฝกอบรม 12 ชั่วโมง ประกอบดวย 4 หมวดวิชา


หมวดวิชาที่ 1 ความรูเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานและบทบาทหนาที่ของหัวหนา
งาน มีระยะเวลาการฝกอบรม 3 ชั่วโมง ประกอบดวยหัวขอวิชา
(ก) ความรูเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน
(ข) บทบาทหนาที่ของลูกจางระดับหัวหนางานเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน
หมวดวิชาที่ 2 กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน มีระยะเวลาการฝกอบรม 3 ชั่วโมง
ประกอบดวยหัวขอวิชา
(ก) การบริหารกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานของกระทรวงแรงงาน
(ข) สาระสําคัญของกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานและการนํากฎหมายไปสู
การปฏิบัติ
หมวดวิชาที่ 3 การคนหาอันตรายจากการทํางาน มีระยะเวลาการฝกอบรม 3 ชั่วโมง ประกอบดวยหัวขอวิชา
(ก) การตรวจความปลอดภัย
(ข) การวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย และการเฝาสังเกตงาน
(ค) การสอบสวนและการรายงานอุบัติเหตุ
หมวดวิชาที่ 4 การปองกันและควบคุมอันตรายตามความเสี่ยงที่เกี่ยวของของสถานประกอบกิจการ มีระยะเวลาการฝกอบรม
3 ชั่วโมง โดยอาจประกอบดวยหัวขอวิชา
(ก) การปองกันและควบคุมอันตรายจากเครื่องจักร
(ข) การปองกันและควบคุมอันตรายจากไฟฟา
(ค) การปองกันและควบคุมอันตรายจากการเคลื่อนยายและการจัดเก็บวัสดุ
(ง) การปองกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ
(จ) การปองกันและควบคุมอันตรายจากสิ่งแวดลอมในการทํางาน
(ฉ) การปองกันและควบคุมอันตรายจากสารเคมี
(ช) การปองกันและควบคุมปญหาดานกายศาสตร
(ซ) การปองกันและควบคุมอันตรายในงานกอสราง
(ฌ) การใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 34


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

การฝกอบรมความปลอดภัยอื่นๆ

การติดตั้งนั่งราน
1.นายจางตองจัดใหมีและดูแลใหลูกจางสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลที่เหมาะสมกับสภาพของ
การทำงานกับนั่งรานหรือค้ำยัน และลักษณะอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ตลอดระยะเวลาที่ลูกจางทำงาน
2.นายจางตองจัดใหมีขอบังคับ และขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย
3.นายจางตองกำหนดเขตอันตรายในบริเวณพื้นที่ โดยจัดทำรั้วหรือกั้นเขตดวยวัสดุที่เหมาะสมกับอันตรายนั้น และมี
ปาย “เขตอันตราย”
4.นายจางตองติดหรือตั้งปายสัญญาลักณเตือนอันตรายและเครื่องหมายปายบังคับ เชน หามเขา เขตอันตราย
5.นายจางตองปฏิบัติตามคูมือการใชงานหากไมมีใหวิศวกรเปนผูจัดทำ รายละเอียดคุณลักษณะและคูมือการใชงาน
เปนหนังสือและตองมีสำเนาเอกสารดังกลาวไวใหพนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได
6.นายจางตองจัดใหมีการคำนวณออกแบบและควบคุมการใชนั่งรานโดยวิศวกร ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข
7.นายจางตองมิใหลูกจางทำงานบนนั่งรานในกรณีดังตอไปนี้
- นั่งรานที่มีพื้นลื่น
- นั่งรานที่มีสวนหนึ่งสวนใดชำรุด
- นั่งรานที่อยูภายนอกอาคาร

การใชปนจั่น-การใหสัญญาณเครน
ภาคทฤษฎี มีระยะเวลาการอบรมไมนอยกวา 9 ชั่วโมง ซึ่งอยางนอยตองมีเนื้อหาวิชาที่อบรมดังนี้
- ความรูพื้นฐาน และระยะเวลาการฝกอบรมไมนอยกวา 6 ชั่วโมง
- การใชสัญญาณมือ
- การเลือกใช และการตรวจสอบอุปกรณยก
- วิธีผูกมัดและการยกเคลื่อนยาย
- การประเมินน้ำหนักสิ่งของ
การทดสอบภาคปฏิบัติเสมือนจริง มีระยะเวลาไมนอยกวา 3 ชั่วโมง ซึ่งตองมีการทดสอบเกี่ยวกับการใหสัญญาณ
การผูก มัด การยึดเกาะวัสดุ การวางแผนการยกอยางปลอดภัยและพิจารณาพิกัดน้ำหนักที่จะทำการยกโดยกำหนด
ลักษณะรูปราง วัสดุของสิ่งของที่จะยก
งานขุด
การเจาะหรือขุดรู หลุม บอ คู และงานอื่นในลักษณะเดียวกัน ใหนายจางจัดใหมีราวกั้นหรือรั้วกันตก แสงสวาง และ
ปายเตือนอันตราย ตามลักษณะของงานกอสรางเพื่อใหเกิดความปลอดภัยไวตลอดเวลาทํางาน และในเวลากลางคืนตองจัดให
มีสัญญาณไฟสีสมหรือปายสีสะทอนแสงเตือนอันตรายใหเห็นไดชดั เจน

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 35


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

การทำงานในที่อับอากาศ
หลักสูตรการฝกอบรมผูอนุญาต ผูควบคุมงาน ผูชวยเหลือ และผูปฏิบัติงาน ในที่อับอากาศ ใชระยะเวลาการฝกอบรมทั้ง
ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไมนอยกวา 24 ชั่วโมง โดยจัดฝกอบรม 4 วันตอเนื่อง ดังนี้
1. ภาคทฤษฎีตองมีหัวขอวิชาและระยะเวลาการฝกอบรม 15 ชั่วโมง
(ก) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ 1 ชั่วโมง
(ข) ความหมาย ชนิด ประเภทของที่อับอากาศ และอันตรายในที่อับอากาศ 1 ชั่วโมง
(ค) การชี้บงอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความ
พรอมในการทำงานในที่อับอากาศ 1 ชั่วโมง
(ง) วิธีการปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกตองและปลอดภัย 1 ชั่วโมง
(จ) การใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลที่ใชในที่อับอากาศและอุปกรณ ชวยเหลือและชวยชีวิต
ในที่อับอากาศ 1 ชั่วโมง
(ฉ) ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาตทำงานในที่อับอากาศ และ
หลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย 30 นาที
(ช) บทบาท หนาที่ ความรับผิดชอบของผูอนุญาต ผูควบคุมงาน ผูชวยเหลือ และ ผูปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
และการสื่อสารระหวางผูอนุญาต ผูควบคุมงาน ผูชวยเหลือ และผูปฏิบัติงานในที่อับอากาศ 30 นาที
(ซ) เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใชและการตรวจสอบ เครื่องมือหรืออุปกรณ
ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ 1 ชั่วโมง
(ฌ) เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ 1 ชั่วโมง
(ญ) การสั่งใหหยุดทำงานชั่วคราว 30 นาที
(ฎ) การวางแผนการปฏิบัติงานและการปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงาน ในที่อับอากาศ 30 นาที
(ฏ) อันตรายที่อาจไดรับในกรณีฉุกเฉินและวิธีการหลีกภัย 1 ชั่วโมง
(ฐ) การชวยเหลือและชวยชีวิต 1 ชั่วโมง
(ฑ) การปฐมพยาบาลและการชวยเหลือเบื้องตน และการปฐมพยาบาลเพื่อชวยเหลือ ผูที่หยุดหายใจหรือ
หัวใจหยุดเตน (CPR) 2 ชั่วโมง
(ฒ) เทคนิคในการจัดทำแผนปฏิบัติงานและการปองกันอันตราย 1 ชั่วโมง
(ณ) การควบคุมดูแลการใชเครื่องปองกันและอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล 1 ชั่วโมง
2. ภาคปฏิบัติตองมีหัวขอวิชาและระยะเวลาการฝกอบรมไมนอยกวา 9 ชั่วโมง
(ก) เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใชและการตรวจสอบ เครื่องมือหรืออุปกรณ
ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ ไมนอยกวา 1 ชั่วโมง
(ข) เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ ไมนอยกวา 1 ชั่วโมง
(ค) เทคนิคการตรวจสภาพพื้นที่และงาน กอนตัดสินใจอนุญาต ไมนอยกวา 1 ชั่วโมง
(ง) เทคนิคในการควบคุมการทำงานในที่อับอากาศ ไมนอยกวา 30 นาที

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 36


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

(จ) การอนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการสื่อสาร ไมนอยกวา 1 ชั่วโมง


(ฉ) การใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลที่ใชในที่อับอากาศ ไมนอยกวา 45 นาที
(ช) การใชอุปกรณชวยเหลือและชวยชีวิตในที่อับอากาศ ไมนอยกวา 45 นาที
(ซ) การชวยเหลือและชวยชีวติ ไมนอยกวา 1 ชั่วโมง
(ฌ) การปฐมพยาบาลและการชวยเหลือเบื้องตน และการปฐมพยาบาลเพื่อชวยเหลือ ผูที่หยุดหายใจหรือ
หัวใจหยุดเตน (CPR) ไมนอยกวา 1 ชั่วโมง
(ญ) สถานการณการปฏิบัติงานในที่อับอากาศในสภาพปกติ และกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ไมนอยกวา 1 ชั่วโมง

การทำงานบนที่สูง
1.ในกรณีที่นายจางให ลูกจางทํางานในที่สูงจากพื้นดินหรือพื้นอาคารตั้งแต 2 เมตร ขึ้นไป ให นายจางจัดให มีนั่งราน
บันได ขาหยั่ง หรือมายืน ที่ปลอดภัยตามสภาพของงานสําหรับลูกจางในการทํางานนั้น
2. ในกรณีนายจางใหลูกจางทำงานในสถานที่ที่ลูกจางอาจไดรับอันตรายจากการพลัดตกหรือถูกวัสดุพังทับ เชน การ
ทำงานบนหรือในเสา ตอมอ เสาไฟฟา หรือคานที่มีความสูงตั้งแต 4 เมตรขึ้นไป นายจางตองทำราวกั้นหรือรั้วกันตก ตาขาย สิ่ง
ปดกั้น หรืออุปกรณปองกันอื่นใด ที่มีลักษณะเดียวกัน เพื่อปองกันการพลัดตกของลูกจางหรือสิ่งของ และจัดใหมีการใชสายหรือ
เชือก ชวยชีวิตและเข็มขัดนิรภัยพรอมอุปกรณ หรือเครื่องปองกันอื่นใดที่มีลักษณะเดียวกัน ใหลูกจางใชในการทำงานเพื่อให
เกิดความปลอดภัย

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 37


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

การวางแผนฉุกเฉิน
การวางแผนฉุกเฉิน เปนแผนงานที่วางไวเ พื่อเปนแนวทางในการใชแกไขปญหากรณี เกิดอุบัต ิเหตุฉุกเฉินขึ้ น ใน
หนวยงาน กอสราง ซึ่งงานกอสรางเปนงานที่มีลูกจางจำนวนมากและมีพื้นฐานความรูเกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติความรูดานความ
ปลอดภัยในการทำงานแตกตางกัน อีกทั้งมีความหลากหลายในการใชเทคโนโลยีกระบวนการทำงานการใชเครื่องมือ เครื่องจักร
และอุปกรณ ประเภทกิจการงานกอสรางถือเปนงานที่มีความเสี่ยงสูง ดังนั้นการจัดทำแผนฉุกเฉิน ตองกำหนดอยางชัดเจนวา
อุบัติเหตุกรณีใดบางที่เกิดขึ้นแลวตองปฏิบัติตามแผนฉุกเฉินที่จัดทำขึ้นนี้ โดยตองคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดจากอุบัติเหตุที่เกิด
จากภั ย ธรรมชาติล ักษณะของงานกอสรา งรวมทั ้ งสภาพพื้น ที่ ที่มีการดำเนินการกอสรางและสิ่งแวดลอมโดยรอบ เชน
แผนดินไหว น้ำทวม การเคลื่อนตัวของผิวหนาดินขณะ มีการขุดเจาะหลุมหรือบอ การกอสรางในน้ำโดยนำมาพิจารณา
วิเคราะหเพื่อจัดทำเปนแผนฉุกเฉินกรณีเกิด อุบัติเหตุที่สอดคลองกับงานที่ทำ ซึ่งเปนปจจัยที่อาจสงผลกระทบตอการเกิด
อุบัติเหตุจากการทำงาน ดังนั้น เพื่อใหแผนฉุกเฉินที่จัดทำขึ้นสามารถปฏิบัติและนำมาแกไขปญหาหรือสถานการณที่เกิดขึ้น อัน
เนื่องจากปจจัย ตางๆ ขางตนตองวางแนวทางการดำเนินการขณะเกิดเหตุอยางนอยควรประกอบดวยเรื่อง ดังนี้
- มาตรการควบคุมดูแลบุคคลในกรณีเกิดอุบัติเหตุ
- แผนการอพยพและการวางเสนทางอพยพที่ปลอดภัย รวมถึงจุดรวมพลฉุกเฉิน เพื่อตรวจสอบ จํานวนคน
- ขอความชวยเหลือจากหนวยงานภายนอกที่เกี่ยวของ
- มาตรการควบคุมความปลอดภัยไมทุกพื้นที่
- ขั้นตอนการคนหา ชวยชีวิตผูบาดเจ็บ
- การควบคุมวัสดุอันตราย
- การเคลื่อนยายและปองกันเครื่องมือ เครื่องจักรที่สำคัญ
- ขั้นตอนการยกเลิกแผนฉุกเฉิน และการกลับเขาทำงานปกติ
ทั้งนี้แผนฉุกเฉินกรณีเกิดอุบัติเหตุในการทำงานที่จัดทำขึ้นตองกำหนดผูมีหนาที่รับผิดชอบสูงสุด เพื่อทำหนาที่ตัดสินใจ
อำนวยการ สั่งการ ควบคุมสถานการณฉุกเฉินหรือบุคคลใดมาทำหนาที่ตางๆ เชน ควบคุมดูแลบุคคล และอพยพ คนหา
ชวยชีวิต เปนตนและขั้นตอนตางๆ ของแผนที่จัดทำขึ้นใหชัดเจนและสิ่งสำคัญตองกำหนดใหมีการฝกซอมตามแผนเปนระยะๆ
ตามความจำเปนและความเหมาะสมของหนวยงาน กอสรางนั้นๆ
การทำงานตางๆ ที่มีพนักงานอยูมากในหนวยงานที่กอสรางการจัดทำแผนฉุกเฉิน มีความจำเปนอยางมากที่ตองการให
พนักงานเกิดความมั่นใจวางานที่ทำอยูนั้นปลอดภัย เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินสามารถปฏิบัติตามแผน ที่กำหนดและชวยปองกันการ
ประสบอันตรายตางๆ ไดเปนอยางดี ในกรณีแผนฉุกเฉิน ที่ตองมีการอพยพคนงาน หรือผูเกี่ยวของขณะที่ทำงาน มีระดับความ
รุนแรงแตกตางกันดังตอไปนี้
1. ระดับธรรมดา ที่สามาถควบคุมได ขณะเกิดเหตุในระยะเวลาไมมากและสามารถปฏิบัติงานได ดวยทีมงานภายใน ที่ผานการ
อบรมและฝกฝนใหปฏิบัติ
2. ระดับขั้นรุนแรง ที่ไมสามารถควบคุมได ขณะเกิดเหตุเปนระยะเวลานานและตองขอกำลัง สนับสนุนภายนอก

การปฏิบัติกรณีเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ
1. อุทกภัย คือภัยที่เกิดจากน้ำ มีสาเหตุสวนใหญมาจากสภาพพื้นทองที่และความวิปริตผัน แปรของธรรมชาติที่ทำให
เกิดฝนตกหนักตอเนื่องเปนเวลานาน บางครั้งทำใหเกิดน้ำปา ไหลหลากลงมาอยางรวดเร็วมีน้ำทวมฉับพลันและอาจมี
ดินโคลนถลม
ขอควรปฏิบัติ
- ตรวจสอบดูเขตแนวพื้นที่น้ำทวม เพื่อหาพื้นที่สูงที่ปลอดภัย
แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 38
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

- หลีกเลี่ยงการกอสรางสำนักงานและแคมปคนงาน ในบริเวณพื้นที่น้ำทวมถึง บริเวณทายเขื่อนหรืออางเก็บ


น้ำ เปนบริเวณที่ไมปลอดภัย ควรเตรียม กระสอบทรายไวทำผนังกั้นน้ำ
- ควรทำความสะอาดพื้นที่ไมใหมีเศษวัสดุที่สามารถลอยตามน้ำได ซึ่งอาจกอ อันตราย
- หามขับขี่ยานพาหนะ หามเดิน หามเลนน้ำในกระแสน้ำที่ไหลเชี่ยว
การเตรียมการกอนน้ำทวม
- ทำความคุนเคยกับระบบการเตือนภัยของหนวยงานที่เกี่ยวของ
- เรียนรูเสนทางการเดินที่ปลอดภัยและขั้นตอนการอพยพ
- ในพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำทวม ควรเตรียมกระสอบทราย เพื่อกั้นน้ำไมใหเขาสู สำนักงานและแคมปคนงาน
- นำทรัพยสินและตกสารสำคัญไปเก็บไวในพื้นที่ซึ่งน้ำทวมไมถึง
- ปรึกษาและทำขอตกลงกับบริษัทประกันภัย เกี่ยวกับการประกันความ เสียหาย
- ติดประกาศหมายเลขโทรศัพทสำหรับเหตุการณฉุกเฉิน ในที่ที่เห็นไดชัดเจน การรับมือระหวางน้ำทวม
- พักในอาคารที่มั่นคงตลอดเวลาขณะเกิดวาตภัย อยาออกมาในที่โลงแจง เพราะตนไมและกิ่งไมอาจหักโคน
ลงมาทับได รวมทั้งสังกะสีและกระเบื้อง จะปลิวตามลมมาหาอันตรายได
- ปดประตู หนาตางทุกบาน รวมทั้งยึดประตูและหนาตางใหมั่นคงแข็งแรง ถาประตูหนาตางไมแข็งแรง ใหใช
ไมทาบตีตะปูตรึงปดประตู หนาตางไวจะปลอดภัยยิ่งขึ้นปดกั้นชองทางลมและชองทางตางๆ ที่ลมจะเขาไป
ทำใหเกิด ความเสียหาย
- เตรียมตะเกียง ไฟฉาย และไมขีดไฟไวใหพรอมใหอยูใกลมือ เมื่อเกิดไฟฟา ดับจะไดหยิบใชไดอยางทันทวงที
และน้ำสะอาด พรอมทั้งอุปกรณเครื่องหุงตม
- เตรียมอาหารสํารอง อาหารกระปองไวบางสําหรับการยังชีพในระยะเวลา 2- 3 วัน
- ดับเตาไฟใหเรียบรอยและควรจะมีอุปกรณสำหรับดับเพลิงไว
- เตรียมเครื่องเวชภัณฑ
- สิ่งของควรไวในที่ต่ำเพราะอาจจะตกหลน แตกหักเสียหายได
- บรรดาเรือ แพ ใหลงสมอยึดตรึงใหมั่นคงแข็งแรง
- ถามีรถยนตหรือยานพาหนะ ควรเตรียมไวใหพรอมภายหลังพายุสงบอาจ ตองนำผูปวยไปสงโรงพยาบาล
น้ำมันควรเติมใหเต็มถังอยูตลอดเวลา
- เมื่อลมสงบแลวตองรออยางนอย 3ชั่วโมง ถาพนระยะเวลานี้แลวไมมีลมแรง เกิดขึ้นอีกจึงจะวางใจวาพายุได
ผานพนไปแลว ทั้งนี้เพราะเมื่อศูนยกลางพายุ ผานไปแลวจะตองมีลมแรงและฝนตกหนักผานมาอีก 2 ชั่วโมง
การปฏิบัติเมื่อพายุสงบลง
- เมื่อมีผูบาดเจ็บใหรีบชวยเหลือและนำสงโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลที่ ใกลเคียงใหเร็วที่สุด
- ตนไมใกลจะลมใหรีบจัดการโคนลมลงเสีย มิฉะนั้นจะหักโคนลมภายหลัง
- ถามีเสาไฟฟาลม สายไฟขาดอยาเขาใกลหรือแตะตองเปนอันขาด ทำเครื่องหมายแสดงอันตราย
- แจงใหเจาหนาที่หรือชางไฟฟาจัดการดวน อยาแตะโลหะที่เปนสื่อไฟฟา
- เมื่อปรากฏวาทอประปาแตก ใหรีบแจงเจาหนาที่มาแกไขโดยดวน
แผนปองกันและระงับอัคคีภัย
แผนปองกันและระงับอัคคีภัยประกอบดวย
1. แผนตรวจตรา
2. แผนอบรม
3. แผนรณรงคปองกันอัคคีภัย
แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 39
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

4. แผนดับเพลิง
5. แผนอพยพหนีไฟ
6. แผนบรรเทาทุกข

1. แผนการตรวจตรา
เปนแผนที่สำรวจความเสี่ยงและตรวจตรา เพื่อเฝาระวังปองกันและขจัดตนเหตุของการเกิดเพลิงไหม ดังนี้

ลำดับ เรื่องที่ตรวจ ความถี่ ผูดำเนินการ


1. สำรวจความเรียบรอยของอาคารสำนักงาน 1 ครั้ง / 3 เดือน จป.ว
2. ตรวจสอบการใช และจัดเก็บวัตถุไวไฟ 1 ครั้ง / 3 เดือน จป.ว
3. ตรวจสอบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม 1 ครั้ง / 3 เดือน จป.ว
4. ตรวจสอบอุปกรณดับเพลิง 1 ครั้ง / 3 เดือน จป.ว
5. ตรวจสอบปายเตือน,แผนผังอพยพ,ปายจุดรวมพล 1 ครั้ง / 3 เดือน จป.ว
6. ผังขั้นตอนเบอรโทรการแจงเหตุเพลิงไหม 1 ครั้ง / 3 เดือน จป.ว
7. ตรวจสอบเสนทางอพยพหนีไฟไมมีสิ่งกีดขวาง 1 ครั้ง / 3 เดือน จป.ว
8. ตรวจสอบอุปกรณไฟฟา 1 ครั้ง / ป ชางไฟฟา

2.แผนอบรม เปนการใหความรูพนักงานทั้งในเชิงปองกันและปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุโดยกำหนดหัวขออบรมไวดังนี้
ลำดับ หัวขอเรื่องที่อบรม ความถี่ ผูดำเนินการ
1. การดับเพลิงขั้นตน (อยางนอย 40% ของพนักงาน) 1 ครั้ง / ป วิทยากรภายนอก
2. การฝกซอมดับเพลิงและอพยพหนีไฟประจำป 1 ครั้ง / ป วิทยากรภายนอก
3. การปฐมพยาบาล และการชวยชีวิต 1 ครั้ง / ป วิทยากรภายนอก

3.แผนการรณรงคปองกันอัคคีภัย เปนแผนเพื่อปองกันการเกิดอัคคีภัยในสถานประกอบการโดยเปนการสรางความสนใจ
และสงเสริมในเรื่องการปองกันอัคคีภัยใหเกิดขึ้นในทุกระดับของพนักงาน
ลำดับ หัวขอเรื่องที่อบรม ความถี่ ผูดำเนินการ
1. การสนทนาความปลอดภัยเรื่องการปองกันอัคคีภัย 1 ครั้ง / เดือน จป.ว
2. การจัดทำสื่อโปสเตอร 2 ครั้ง / ป จป.ว
3. การจัดกิจกรรม 5ส. ทำอยางตอเนื่อง จป.ว

4. แผนการดับเพลิง
แผนปฏิบัติกรณีเกิดเพลิงไหมดังนี้
1. ใหผูพบเห็นหรือทราบเหตุ แจงหัวหนางานหรือเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพโดยทันที
2. พยายามดับเพลิงหรือควบคุมเพลิงดวยเครื่องมือดับเพลิงชนิดมือถือที่เหมาะสม เพื่อลดภัยอันเนื่องจากเพลิงไหม ใน
กรณีเกิดเพลิงไหมอุปกรณไฟฟาเนื่องจากไฟฟาควรตองตัดระบบไฟฟากอน

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 40


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

3. เจาหนาที่ความปลอดภัยวิชาชีพ เปนผูใหสัญญาณเหตุฉุกเฉินซึ่งเปนที่เขาใจและแจงใหผูบริหาร หรือนายจางทราบ


ทันที เพื่ออพยพลูกจางไปตามเสนทางที่กำหนดหรือปลอดภัย (หัวหนางาน/ควบคุม) ขอความชวยเหลือ จากหนวยงาน
ภายนอกที่เกี่ยวของ
4. วิศวกรสนาม ดำเนินการตามมาตรการปองกัน หรือการเคลื่อนยายเครื่องมือ เครื่องจักร พยายามขนยายวัสดุทุก
ชนิดที่จะเปนเชื้อเพลิงออกจากพื้นที่อันตรายหรือทำลายสิ่งตางๆ ที่อาจเปนสื่อ ไฟใหลุกลามไปยังบริเวณอื่นๆ
5. หัวหนางาน หรือผูควบคุมงาน ดูแลลูกจางแตละสวนไปยังพื้นที่ หรือจุดที่ปลอดภัย แลวนับจำนวนและแจงยอด
จำนวนลูกจางตอ จป.วิชาชีพ ทันที
5.1 กรณีจำนวนลูกจางขาดหาย ตองดำเนินการคนหา
5.2 คนหาชวยชีวิตผูบาดเจ็บเสียชีวิต และปฐมพยาบาลนำสงโรงพยาบาล
6. จป.วิชาชีพ วิศวกรสนาม ผูบริหารและหนวยงานภายนอก ตองทำการตรวจสอบและวิเคราะหสถานการณรวมกัน
เพื่อใหมั่นใจวาทุกอยางคลี่คลาย
7. ผูบริหารสูงสุดของหนวยงานแจงยกเลิกแผนฉุกเฉิน เพื่อสั่งใหทุกคนกลับเขาทำงาน
8. กรณีเกิดอุบัติเหตุไดรับบาดเจ็บไมวาเล็กนอยหรือรุนแรงตองดำเนินการปฐมพยาบาลทุก ครั้ง
- บาดเจ็บเล็กนอย ใหนำผูปวยไปทำการรักษาที่หองปฐมพยาบาลในหนวยงานกอสราง
- หากบาดเจ็บสาหัส ใหเรียกรถพยาบาลเพื่อนำไปสงโรงพยาบาล
9. เมื่อเหตุการณสงบแลวหัวหนางานหรือเจาหนาที่ความปลอดภัยจะตองทำรายงานอุบัติเหตุ และแจงสาเหตุของการ
เกิดเหตุ และความเสียหายตางๆรวมทั้งการบาดเจ็บหรือตายของลูกจางใหผูจัดการโครงการทราบโดยเร็วที่สุด

หนาที่การรับผิดชอบกรณีเพลิงไหมรุนแรง
1. ผูจัดการโครงการเปนผูอำนวยการสั่งการแผนฉุกเฉินและการติดตอประสานงานผูที่เกี่ยวของ ทั้งภายในและ
ภายนอก
2. วิศวกรสนามเปนผูแจงเหตุการณที่เกิดขึ้นและแจงเหตุขอกำลังสนับสนุนจากภายนอก พรอมกับประสานการติดตอ
ไปยังหนวยความปลอดภัยโครงการเพื่อเขาทำการชวยเหลือ เบื้องตน
3. จป.ระดับวิชาชีพ มีหนาที่ชวยเหลือและเขาระงับเหตุ
4. วิศวกรสนาม มีหนาที่ควบคุมการสั่งการใหชุดชวยเหลือ และชุดผจญเพลิงเขาทำการระงับ เหตุกอนกำลังสนับสนุน
จากภายนอกเขามา
5.วิศวกรสนามมีหนาที่ควบคุมการจัดการจราจรในขณะเกิดเหตุและอำนวยความสะดวก
6.ชุดระงับเหตุ หัวหนาควบคุมงานและทีมงาน เขาระงับเหตุที่เกิดขึ้น
7.ชุดชางไฟฟา หัวหนาควบคุมงานระบบไฟฟาของงานกอสราง จะตองคอยควบคุมไฟฟาพื้นที่และอำนวยความ
สะดวกขณะเกิดเหตุฉุกเฉิน
8.รปภ. มีหนาที่ตรวจสอบบุคคลที่เขาออกพื้นที่ รวมถึงอำนวยความสะดวกการจราจรภายในพื้นที่

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 41


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนฉุกเฉินเมื่อเกิดอุบัติเหตุ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 42


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

การประชุมดานความปลอดภัย
การประชุม คปอ.

1. การประชุม คปอ. อยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง หรือเมื่อคณะกรรมการกึ่งหนึ่งรองขอ หรือเมื่อเกิดอุบัติเหตุหรือภัย


อันตรายใดๆ ที่อาจเปนเหตุใหลูกจางหรือบุคคลภายนอกสูญเสียอวัยวะ ทุพพลภาพ หรือเสียชีวิต
2. แจงกำหนดการประชุมและระเบียบวาระการประชุมใหกรรมการทราบอยางนอย 3 วันกอนถึงวันประชุม
3. การประชุมแตละครั้งตองมีคณะกรรมการเขาประชุมอยางนอยกึ่งหนึ่ง จึงจะสามารถประชุมได
4. ตองติดประกาศรายงานการประชุมในที่เปดเผย ภายใน 7 วัน หลังการประชุม

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 43


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

อุบัติเหตุ
การเกิดอุบัติเหตุ/สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ

การกระทำที่ไมปลอดภัย (Unsafe Action)


- การมีทัศนคติที่ไมถูกตอง เชน อุบัติเหตุเปนเรื่องของเคราะหกรรม,โชคชะตา
- การรูเทาไมถึงการณ,ประมาทเลินเลอ เหมอลอย
- การทำงานที่เรงรีบ,ลัดขั้นตอน,การใชเครื่องมือผิดประเภท
- ซอมแซมหรือบำรุงรักษาในขณะที่เครื่องยนตกำลังทำงาน

สภาพแวดลอมที่ไมปลอดภัย (Unsafe conditions)


- เครื่องจักรไมมีครอบหรือเซฟการด
- พื้นโรงงานลื่น ขรุขระ หรือมีของวางเกะกะ
- สถานที่ทำงานสกปรก รกรุงรัง กีดขวางทางเดิน
- ขาดระบบเตือนภัย

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 44


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ความสูญเสียจากอุบัติเหตุ

ความสูญเสียทางตรง
- คารักษาพยาบาล
- คาเงินทดแทนจากการไดรับบาดเจ็บ
- คาทำขวัญ
- คาทำศพ
- คาประกันชีวิต

ความสูญเสียทางออม
- อาคาร/อุปกรณ/เครื่องมือชำรุด
- ผลิตภัณฑและวัตถุดิบเสียหาย
- การผลิตลาชาหรือหยุดชะงัก
- คาใชจายในการสงของฉุกเฉิน
- คาเชาเครื่องจักร
- เงินคาจางสูญเปลา/คาใชจายทางกฎหมาย

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 45


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

การตรวจสอบและการติดตามผลความปลอดภัย
กรณีการเกิดอุบัติเหตุขึ้นในหนวยงานกอสราง ไมวาอุบัติเหตุนั้นจะทำใหลูกจางเสียชีวิตหรือไดรับบาดเจ็บ เกิดความ
เสียหายหรือไมก็ตาม ผูที่จะเขาไปตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุตองเปนผูที่ไดรับมอบหมายหนาที่รับผิดชอบเทานั้น ในเบื้องตน
ตองทำการตรวจสอบความเสียหายและตรวจสอบความปลอดภัยของพื้นที่ที่เกิดเหตุเพื่อประเมินสถานการณกอนเข าไปสู
กระบวนการสอบสวนเพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลรายละเอียด โดยทำการสอบสวนหาขอเท็จจริงและวิเคราะหหาสาเหตุของอุบัติเหตุ
โดยผูที่มีหนาที่ในการสอบสวนตองเปนผูที่มีหนาที่ เชน หัวหนางาน ผูควบคุมงาน หรือเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงาน
รวมกับวิศวกร หรือผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานจากหนวยงานภายใน หรือหนวยงานภายนอกแลวแตกรณี เพื่อรวบรวมขอมูลการ
เกิดอุบัติเหตุ มากำหดมาตรการหรือแนวทาง การปองกันหรือแกไขไมใหเกิดซ้ำอีก
ภายหลังจากที่มีการตรวจสอบเหตุการณของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นแลว สิ่งที่ตองดำเนินการตอมาคือ การนำผลของการ
ตรวจสอบ ณ สถานที่เกิดอุบัติเหตุ ที่มีการสอบสวน หรือการคนหาทางเทคนิควิธีการเพื่อหาสาเหตุ โดยนำผลนั้นมาทำการ
วิเคราะหหาสาเหตุของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อนำขอมูลที่ไดมาวางแผนหาแนวทางหรือวิธีปองกันไมใหเกิด
เหตุการณนั้นเกิดขึ้นซ้ำอีก

การรายงานอุบัติเหตุ
เปนหนาที่ของหัวหนางานหรือผูควบคุมงานหรือเจาหนาความปลอดภัยในการทำงานโดยตรง แตทั้งนี้ ตองมีการ
กำหนดบทบาทและความชัดเจนของตัวบุคคลในการทำหนาที่รายงานและตองรายงานใหใครทราบบางขึ้นอยูกับโครงสรางการ
บริหารงานหรือการจัดการองคกรภายในหนวยงานกอสรางนั้นๆ ซึ่งการกำหนด รูปแบบและวิธีการรายงานอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
นั้น ไมวาจะกอใหเกิดความเสียหายตอทรัพยสิน ลูกจาง ไดรับ บาดเจ็บ หรือเสียชีวิตหรือไมก็ตาม ผูที่ไดรับมอบหมายให
รายงานขณะเกิดเหตุอาจกำหนดใหสามารถแจง โดยตรงตอนายจางหรือผูที่มีหนาที่รับผิดชอบสูงสุดของหนวยงานกอสรางโดย
ใชชองทางการรายงาน เชน ทาง โทรศัพท ทางสื่ออิเล็คทรอนิคส เปนตน เพื่อใหสามารถตัดสินใจแกไขปญหาเรงดวน ทันตอ
สถานการณหรือหากเปนการรายงานภายหลังจากเกิดอุบัติเหตุแลวอาจสามารถกำหนดใหมีการใชแบบฟอรมการบันทึก
อุบัติเหตุ และคำอธิบายการกรอกแบบฟอรมพอสังเขป ซึ่งขึ้นอยูกับการกำหนดขอบเขตของความรายแรง หรือความรุนแรง
ของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นใหใชรูปแบบหรือวิธีการใด ในการทํางานของงานกอสราง

วิธีการเขียนรายงาน
1. หัวหนางาน ตองรีบไปที่เกิดเหตุ สอบถามเหตุการณที่เกิดขึ้น จากผูพบเห็นเหตุการณและเขาระงับเหตุ
2. หัวหนางาน ตองเขียนแผนที่และถายรูปสถานที่ที่เกิดเหตุ รวบรวมขอมูลเสนอผูบังคับบัญชาทราบและรายงานให
เจาหนาที่ความปลอดภัยระดับวิชาชีพ
3. เจาหนาที่ความปลอดภัยระดับวิชาชีพ รวบรวมเอกสารเกิดอุบัติเหตุ สรุปผลของการรายงานให คณะกรรมการ
ความปลอดภัยในการทำงาน พรอมติดปายประกาศใหผูที่เกี่ยวของทราบเมื่อมีการเกิด

อุบัติเหตุตางๆ ในขณะทำงาน ไมวาอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจะเปนขั้นเล็กนอยหรือขั้นรุนแรงจะตองมีการ สอบสวนหา


สาเหตุการเกิดอุบัติ เพื่อไมใหเกิดอุบัติเหตุซ้ำอีก การสอบสวนอุบัติเหตุสามารถทำไดโดย
1. อธิบายวาเกิดอะไรขึ้น
2. สาเหตุที่เกิด
3. การตัดสินใจตอความเสี่ยง
4. พัฒนาการควบคุมและการปรับปรุงแกไข
5. การคนหาแนวโนมที่อาจเกิดขึ้น
แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 46
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

6. แจงผูที่เกี่ยวของทราบการเกิดอุบัติเหตุ

การเกิดอุบัติเหตุและการกำหนดหนาที่รับผิดชอบในการสอบสวน
1. ผูควบคุมงานหัวหนางาน ตองมีหนาที่รับผิดชอบตองานที่ตนไดรับมอบหมายกำกับดูแลผูใตบังคับบัญชา ดังนั้น การ
เกิดอุบัติเหตุกับผูใตบังคับบัญชากับการสูญเสียตอทรัพยสินและเครื่องมือจนเปนผลทำใหเกิดการบาดเจ็บ เจ็บปวยถึง
ขั้นหยุดงานหรือเสียชีวิต ผูบังคับบัญชา ตองทำการสอบสวน
2. ผูบริหารระดับกลาง/ผูควบคุมงานวิศวกรสนาม วิศวกรโครงการ)
- ตองเปนผูมีสวนรวมในการสอบสวนอุบัติเหตุ
- ตองเปนแกนนำในการเรียกหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของในเหตุการณเขารวมสอบสวน อุบัติเหตุ
- แนวทางแกไขและการปองกันอุบัติเหตุจากการสอบสวน บางครั้งตองไดรับการอนุมัติ ใหดำเนินการ
หรืออนุมัติงบประมาณจากผูบริหารระดับสูง(ผูจัดการโครงการ)
3. เจาหนาที่ความปลอดภัยระดับวิชาชีพ
การสอบสวนจําเปนตองไดรับความรวมมือจากบุคคลที่มีความชำนาญเฉพาะเรื่อง เชน โรคจากการทำงาน
อันตรายจากสารเคมี งานวิศวกรรมฯลฯ

ขั้นตอนการสอบสวนอุบัติเหตุ
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในแตละครั้ง ตองรีบดำเนินการในเรื่องของการชวยเหลือผูบาดเจ็บการปองกัน อุบัติเหตุที่จะเกิด
ซ้ำซอน เชนไฟไหม หรือการระเบิด การตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุการณการสอบสวนผูรูเห็น เหตุการณ ตรวจสอบอุปกรณ
และเก็บบันทึก การวิเคราะหสาเหตุที่เกิดขึ้นการเขียนรายงานปองกันและการแกไข และการนำพนักงานกลับเขาทำงาน
ตามปกติ
1.เมื่อเกิดอุบัติเหตุหรือเหตุการณผิดปกติขึ้น หัวหนาผูควบคุมงานและหัวหนางานจะตองไปที่เกิดเหตุ ทันทีเพื่อ
ควบคุมสถานการณ เชนใหคำแนะนำ ชวยเหลือผูประสบเหตุ แจงผูที่ไมเกี่ยวของออกนอกบริเวณที่เกิดเหตุ แจงผู ค ว บ คุ ม
ภาวะฉุกเฉิน ถาเหตุการณรุนแรงมากขึ้น แจงการอพยพ การประเมินคา ความสูญเสียและรายงานใหผูที่ เกี่ยวของทราบ
2. การเก็บรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของ มีอะไรเกิดขึ้น ใครเปนผูรูเห็นเหตุการณ อุปกรณ เครื่องมือเครื่องจักร หรือผูใด
ไดรับผลจากเหตุการณนั้น อะไรคือสิ่งที่ไมควรเกิด อะไรคือสิ่งที่อาจทำใหเกิดความสูญเสีย หรือเสียหาย อะไรคือสิ่งจำเปนที่
ควรจะรูเกี่ยวกับขอมูล การฝกอบรม การซอมแซมการบำรุงรักษา และ อื่นๆ ไดบันทึกไว
3. วิเคราะหสาเหตุที่สำคัญ ตองพิจารณาความเสียหายหรือการบาดเจ็บ วาเกิดจากการกระทำหรือ สภาพการณที่ไม
ปลอดภัย ปจจัยในงาน ปจจัยดานบุคคลที่เกี่ยวของกับเหตุการณนั้นรวมไปถึง การวิเคราะหเพื่อหาสาเหตุซึ่งพอจะสันนิษฐาน
ไดวา อะไรคือสิ่งที่ทำใหเกิดอุบัติเหตุ
4. พัฒนาและหามาตรการปองกันและแกไข เพื่อปองกันมิใหเกิดเหตุการณในทำนองเดียวกันหรือเกิดซ้ำ เชน การหก
หรือรั่วของสารเคมี มีความจำเปนตองรีบทำความสะอาดพื้นที่ทันที งานที่ไดรับคำสั่งให แกไขควรจะมีการบันทึกขอแนะนำที่
จำเปนในการพัฒนาและแกไข เชนดานวิศวกรรมหรือการสับเปลี่ยนตำแหนงงาน
5. การพิจารณาตรวจสอบ และขอแนะนำผลการตรวจสอบทุกครั้งควรไดรับการพิจารณาจากผูบริหาร ระดับสูงกวา
ขึ้นไป เพื่อพิจารณาปญหาที่พบและวิธีการแกไขในการสอบสวน โดยเสริมขอแนะนำเพิ่มเติมและวิเคราะหดานความบกพรอง
ของความปลอดภัย อันจะมีผลทำใหเกิดอุบัติเหตุ
6. การติดตามผลการปองกันแกไขอยางมีประสิทธิภาพ การละเลยหรือไมติดตามการปองกันและแกไข อุบัติเหตุที่
เกิดขึ้นจากผลการสอบสวน อาจทำใหอุบัติเหตุมีแนวโนมที่จะเกิดขึ้นไดอีกและผลการ สอบสวนก็จะไมมีความหมาย

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 47


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

หมายเหตุ
1.กรณีอุบัติเหตุรายแรงและผูบาดเจ็บเสียชีวิตให จป.วิชาชีพโครงการเปนผูประสานงานกับ เจาหนาที่ตำรวจ
2. ฝายธุรการโครงการเปนผูรวบรวมและสรุปคาใชจาย(ถามี) และดำเนินการเรียกรองคาสินไหม จากบริษัทประกันภัย
3. กรณีที่ตองมีการใหขาวกับสื่อมวลชนใหผูจัดการโครงการเปนผูรับผิดชอบ

การติดตอประสานงาน
การติดตอประสานงานแจงอุบัติเหตุภายในโครงการฯ สามารถแจงติดตอไดโดยใชระบบสื่อสารดังนี้
1. ระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ ตามหมายเลขตามรายนามบุคลากรดานความปลอดภัย
2. ระบบ Walky Talky ที่ใชในการสื่อสารประจำสวนงานตางๆภายในพื้นที่กอสรางจะตอง ดำเนินการสอบสวนและ
แจงผูเกี่ยวของภายใน 24 ชั่วโมง

รายละเอียดขั้นตอนการขออนุญาตทำงาน
1. แจงการปฏิบัติงาน
1.1 หัวหนาผูปฏิบัติงานแจงความประสงคในการปฏิบัติงาน หรือยื่นใบขออนุญาตทำงาน (Permit To Work) ที่ออก
และลงนามโดยผูควบคุมงานของบริษัท ตอเจาหนาที่ความปลอดภัยของโครงการ พรอมทั้งแนบกรประเมินความเสี่ยงงาน
(Job safety analysis) ตามแบบฟอรม เพื่อตรวจสอบกอนพิจารณาอนุญาต
1.2 เจาของพื้ นที ่และเจาหน าที่ความปลอดภัยของโครงการ พิจ ารณาลั กษณะงานตาม Permit To Work และ
ประเภทงานพิเศษ ซึ่งหมายถึง การทำงานที่มีความเสี่ยงและอันตรายในการทำงาน ไดแก
- งานที่มีความรอนหรือประกายไฟ (Hot work)
- งานในที่อับอากาศ (Confined space entry work)
- งานยก (Lifting work) – งานยกอุปกรณ โดยรถบรรทุกเครน (Mobile crane)
- งานบนที่สูง (Work at height) – งานปนปายบนที่สูงตั้งแต 10 เมตร ขึ้นไป
2. เตรียมระบบและตรวจสอบความปลอดภัย
ผูปฏิบัติงานเตรียมระบบและตรวจสอบความปลอดภัยตามหัวขอที่ระบุใน Permit To Work รวมถึงอุปกรณปองกัน
อันตรายสวนบุคคล (PPE) ที่ตองจัดเตรียมตามลักษณะงาน และทำการอนุมัติตามระบบขออนุญาตทำงานของบริ ษัท
หลังจากนั้นใหหัวหนา และเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานชี้แจงถึงอันตรายและมาตรการปองกัน เชน Tool Box
Meeting, Safety Talk
3. การปฏิบัติงาน
- ผูปฏิบัติงานจะเริ่มทำงานไดเมื่อ Permit To Work ไดรับการอนุมัติแลวตามวันเวลาที่กำหนดและแสดง
Permit To Work (สำเนาสำหรับผูปฏิบัติงาน) ไวบริเวณที่ทำงานใหเดนชัดจนกวางานจะแลวเสร็จ หรือหมดเวลาตามที่
ระบุไวใน Permit To Work
- สำหรับ Permit To Work (สำเนาสำหรับเจาของพื้นที่) ใหเจาของพื้นที่จัดเก็บไว เมื่อไดรับสำเนาสำหรับการ
ปฏิบัติงานแลว (กรณี Permit To Work) ใหรวมไวในแฟมเอกสารของโครงการ
4. สงคืนใบอนุญาต
เมื่อปฏิบัติงานแลวเสร็จหรือหมดเวลาการขออนุญาต ผูปฏิบัติงานจะตองทำการเก็บอุปกรณที่นำมาพรอมเศษวัสดุ
ออกจากพื้นที่ปฏิบัติงาน และรวมกับเจาของพื้นที่ดำเนินการตรวจสอบงาน ตรวจสอบความสะอาดของพื้นที่ปฏิบัติงาน และ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 48


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

เซ็ น ป ด งานพร อมจั ด เก็ บ Permit To Work ออกจากจุดปฏิบ ัติงาน หากตรวจสอบแลว ไมผ านเจาของพื้น ที่จ ะตองแจง
ผูปฏิบัติงานทำการแกไข

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


49
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

มาตรการปองกันการเกิดอุบัติเหตุ
อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 50


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

มาตรฐานความปลอดภัยในการใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล ( PPE )

ลูกจาง มีหนาที่สวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล และดูแลรักษาอุปกรณตามวรรคหนึ่งใหสามารถใช


งานไดตามสภาพและลักษณะของงานตลอดระยะเวลาทำงานในกรณีที่ลูกจางไมสวมใสอุปกรณดังกลาว ใหนายจางสั่งใหลูกจาง
หยุดการทำงานนั้นจนกวาลูกจางจะสวมใสอุปกรณดังกลาว

หมวกนิรภัย กระบังหนานิรภัย อุปกรณปองกันลำตัว

อุปกรณปองกันเสียงดัง (หู) แวนตานิรภัย

อุปกรณปองกันมือ รองเทานิรภัย

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 51


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

สี/สัญลักษณความปลอดภัยและสุขภาพ

ปายหาม/หยุด

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 52


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ปายบังคับ/ตองปฏิบัติ

ปายเตือน/ระวังอันตราย

ปายแสดงสภาวะความปลอดภัย

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 53


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

มาตรฐานความปลอดภัยเกี่ยวกับอุปกรณไฟฟา
1. เลือกใชอุปกรณไฟฟาที่ไดมาตรฐานอยูในสภาพที่ดี ปลอดภัย
2. มีสวิตชตัดไฟ/ปองกัน (ELCB)
3. มีการตอสายดิน
4. ตรวจสอบกอนที่จะนำไปใชงาน
5. เขาใจในทุกขั้นตอนการทำงาน
6. ตองตัดพลังงานไฟฟาเมื่อมีการแกไข

มาตรฐานความปลอดภัยเกี่ยวกับอุปกรณไฟฟา

มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานกับแผงไฟฟา

1. ตัวตูไมแตกราว ผุกรอน และสามารถปดล็อคได


2. ตองมี Main Circuit Breaker และทำการทดสอบ
3. ตองติดตั้ง ELCB และทำการทดสอบ
4. สายไฟตองเปนไปตามมาตรฐานการไฟฟา
5. การตอสายไฟตองใชหางปลาหรืออุปกรณที่ไดมาตรฐาน
6. ย้ำจุดตอใหแนนดวยเครื่องย้ำไฮดรอลิด หรือคีมย้ำสายไฟ
7. ตองมีฉนวนหุมจุดย้ำสายไฟกับหางปลา
8. ตองมีฝาครอบกันน้ำที่ SOCKET PLUG
9. ตองมีแผงกั้นที่ BUS BAR
10. สายดินตองมีขนาด 1 สวน 4 ของสายเมน
11. ตอสายดินเขาที่หลักดิน
12. แผงไฟฟาตองติดปายเตือนอันตราย
13. ใหใช CABLE TIE สำหรับมัดสายไฟ (หามใชลวด)
14. จุดตั้งแผงไฟฟาตองมั่นคงแข็งแรง ไมมีน้ำทวมขัง

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 54


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

มาตรฐานความปลอดภัยเกี่ยวกับอุปกรณไฟฟา

มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานกับปลั๊กพวง

1. โครงสรางตองแข็งแรง ไมมีรอยแตกราว หรืออาออกจนเสียรูปทรง


2. สกรูตองขันแนนและใสครบทุกตัว
3. สวนประกอบที่ติดตั้งเขากับกลองปลั๊ก จะตองใสซีลกันน้ำ และสามารถกันน้ำไดดี
4. โครงสรางของปลั๊กและฝาครอบตองปดสนิท
5. สายไฟตองเปนแบบฉนวนสองชั้น
6. ขนาดของสายไฟตองไมนอยกวา 1.5X3 SQM.
7. ไมอนุญาตใหมีจุดตอที่สายไฟ
8. สายไฟจะตองไมเสื่อมสภาพเปอยยุย โปงพอง หรือชำรุดจนเห็นเสนลวดทองแดง
9. ตองมีการตรวจสอบสภาพกอนการใชงานทุกครั้ง

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 55


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

มาตรฐานความปลอดภัยเกี่ยวกับการทำงานกับสวานไฟฟาเฉือน

1. โครงสวานตองไมชำรุด และสกรูยึดโครงขันแนนทุกตัว
2. สวานตองตอสายดินทุกตัว ยกเวนสวานที่โครงเปนฉนวน และใชสายไฟที่มีฉนวนหุม 2 ชั้น
3. สายไฟไมชำรุด หรือมีรอยตอ
4. ปลั๊กตองไมชำรุดและตองกันน้ำได
5. ดามจับตัวสวานตองมั่นคงแข็งแรง
6. สวานตองไมมีสวิตชที่ลอคใหทำงานตลอดเวลา
7. หัวจับดอกสวานตองจับยึดแนนกับดอกสวาน
8. จัดใหมีอุปกรณสำหรับถอดดอกสวาน
9. เลือกใชสวานและดอกสวานใหเหมาะสมกับงาน
ดึงปลั๊กออกทุกครั้งที่เปลี่ยนดอกสวาน

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 56


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

มาตรฐานความปลอดภัยในการเคลื่อนยายวัสดุ

กฎกระทรวง กำหนดอัตราน้ำหนักที่นายจางใหลูกจางทำงานได พ.ศ. 2547


ขอ1 ใหนายจางใชลูกจางทำงานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนักไมเกินอัตราน้ำหนักโดยเฉลี่ยตอลูกจาง 1 คน
ดังตอไปนี้
1. ยี่สิบกิโลกรัมสำหรับลูกจางซึ่งเปนเด็กหญิงอายุตั้งแตสิบหาปแตยังไมถึงสิบแปดป
2. ยี่สิบหากิโลกรัมสำหรับลูกจางซึ่งเปนเด็กชายอายุตั้งแตสิบหาปแตยังไมถึงสิบแปดป
3. ยี่สิบหากิโลกรัมสำหรับลูกจางซึ่งเปนหญิง
4. หาสิบหากิโลกรัมสำหรับลูกจางซึ่งเปนชาย
ในกรณีของหนักเกินอัตราน้ำหนักที่กำหนดตามวรรคหนึ่ง ใหนายจางจัดใหมีเครื่องทุนแรงที่เหมาะสม และไมเปนอันตรายตอ
สุขภาพและความปลอดภัยของลูกจาง
การยกดวยแรงคน
 วางเทาใหถูกตำแหนง
 หลังตรงแขนแนบชิดลำตัว
 จับสิ่งของที่จะยกใหถูกตอง
 ถายน้ำหนักสูเทาทั้ง 2 ขาง

การเคลื่อนยายดวยรถ
 จัดวางของใหสมดุล
 ไมวางวัสดุบังสายตาผูเข็น
 การเคลื่อนยายใหดันไปดานหนา ยกเวนทางลาดชันใหดึง
 การเข็นรถผานพื้นที่เปนหลุม หรือมุมอาคารตองเพิ่มความ
ระมัดระวัง

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 57


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

การเคลื่อนยายดวยรอกและเครน
ผูรับจางตองมั่นใจวารายการเครื่องชักรอกทั้งหมดที่ใชงานในหนวยงานนั้นมีการระบุรหัสสี การจำแนกเฉพาะ
อยางเหมาะสมและไดรับการรับรองการรับน้ำหนักอยางปลอดภัย
 ขณะที่วัสดุลอยสูงจากพื้นตองไมสัมผัสกับสิ่งกีดขวาง
 หามผูปฏิบัติงานสัมผัส เกาะ บนสิ่งของที่ยก
 หามผูปฏิบัติงานอยูใตสิ่งของที่ยก
 หลีกเลี่ยงการแขวนสิ่งของคางไวกลางอากาศ
 จัดใหมีแสงสวางเพียงพอ
 ทำการตรวจสอบรอก สลิงกอนทำการยกทุกครั้ง
 เครนตองไดรับการตรวจสอบทุก ๆ 3 เดือน ตามแบบ ปจ.2 โดยมีวิศวกรลงชื่อกำกับ
 มีการบำรุงรักษาเปนระยะ พรอมจดบันทึก

การใชลวดสลิง
 การฉีกขาดของลวดเสนเล็กใน 1 เสนเกลียว ตองไมเกิน 3 เสน หรือไมเกิน
6 เสนในหลาย ๆ เสนเกลียวรวมกัน
 ขนาดของลวดสลิงตองไมเล็กลงเกินรอยละ 5 ของเสนผาศูนยกลางเดิม
 ตองไมมีรอยกระแทก แตกเกลียว หรือภายในเสนเกลียวมีเศษวัสดุเขาไปอยู
 ตองไมขมวดเปนปม
 ตองไมหักงอ
 ตองไมโปงออกของกลุมเสนลวด
 ตองไมเปนสนิมหรือผุกรอนและชำรุด จากการถูกความรอน

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 58


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

การใชสลิงผาใบ
 ตองไมมีการฉีกขาดบริเวณหวงของสลิง
 ตองไมมีการชำรุดของสลิงวามีรอยตัดรอยฉีก
เปนรู และการฝงตัวของเศษโลหะ หรือสะเก็ด
ลูกไฟ จากงานเชื่อม
 ตองไมมีการเปอยยุยของเนื้อสลิง
 ตองไมมีการหลอมละลายเนื่องจากความรอน
 ตองไมมีรอยการถูกกรด ดาง น้ำมันกัดกรอน
 ตองไมมีรอยเปนปุมหรือปมของสลิง

การใชสลิงใยสังเคราะห

 ตรวจสอบการฉีกขาดบริเวณรอยตอของวัสดุปองกัน
 ตรวจสอบการชำรุดของสลิงวามี รอยตัด รอยฉีก เปนรู การถูกเจาะ
และการฝงตัวของเศษโลหะหรือสะเก็ดลูกไฟจากงานเชื่อม
 ตรวจสอบการไหมและการละลายตัวของสลิง

การใชรอกโซ

 น็อตยึดโครงสรางไมชำรุด
 จานโซไมแตก
 มีสลักนิรภัยที่ตะขอยกและไมชำรุด
 ตะขอยกไมมีรอยแตกราว บิดงอหรือถางออกจนเสียรูป
 โซจะตองไมบิดเบี้ยว หรือหักงอ
 โซจะตองไมเปนสนิมและผุกรอน
 โซตองไมมีรอยบิ่นหรือนูนดวยลูกไฟจากงานเชื่อมโลหะ
 การเคลื่อนตัวของโซเขาลูกรอกกลับไปมาตองไมติดขัด
 ประกับล็อคตะขอจะตองไมแตกราว

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 59


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

การใชหวงเหล็กในงานยก(Shackle)
 เลือกใช Shackle ใหถูกตองตามน้ำหนักของที่จะยกและมาตรฐาน ขีด
ความสามารถในการยก
 ตองไมมีการเสียรูปทรง เชน การโคงงอ การบิดตัว
 ตองไมมีการสึกหรอ การมีหลุมบอเกิน 10 %
 ตองไมมีการแตกราว
 ตองไมมีการเกิดสนิมกัดกรอน
 ตองไมมีเกลียวชำรุด
 ตองไดมาตราฐานและมี SWL หรือ WLL
 ตองใช Shackle ที่มีการรับรองมาตรฐานจากบริษัทผูผลิตและ
มาตรฐานสากล หามใชของที่มีการดัดแปลงโดยเด็ดขาด
 การใชตองหมุนเกลียวใหสุด และตองล็อคดวยกิ๊บล็อคทุกครั้ง
สำหรับชนิดที่มีกบิ๊ ล็อค

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 60


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

มาตรฐานความปลอดภัยในการจัดเก็บวัสดุ

 ไมจัดเก็บวัสดุกีดขวางทางเดิน ทางออกฉุกเฉินหรืออุปกรณดับเพลิงโดยเด็ดขาด
 จัดวางอยางมั่นคง
 การจัดเรียงกองวัสดุจะตองไมมีมุมอับ
 ไมวางวัสดุไวไฟใกลแหลงความรอน
 หามจัดเก็บสี ทินเนอร สารเคมีไวไฟ ไวในพื้นที่อาคารของธนาคารโดยเด็ดขาด
(จบงานในแตละวันจะตองนำออกจากพื้นที่ทันที)

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 61


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง

 ตองทำการปดลอมพื้นที่ใหครอบคลุม
 ตรวจสอบสภาพกอนขึ้นไปทำงาน
 สวมใสอุปกรณปองกันการตกจากที่สูง
 จัดเก็บสิ่งของ เศษวัสดุใหเปนระเบียบ
 ทำการผูกยึดอุปกรณที่ใชงาน
 กำจัดสิ่งที่อาจกอใหเกิดการลื่นไถล
 จัดแสงสวางใหเพียงพอ
 หามวิ่งหรือกระโดด
 หามไมใหทำงานทับซอนกัน
 ไมเอื้อมหรือโนมตัวทำงานจนสุดตัว
 ผูควบคุมงานที่ตองใชการโรยตัวจากอาคารสูงตองผานการอบรมการ
ปฏิบัติงานบนที่สูง(ROPE ACCESS) และมีใบรับรองโดย หนวยงาน IRATA
(International Industrial Rope Access Trade Association)

พื้นที่การทำงานบนที่สูงที่ปลอดภัย
 มีความมั่นคงและแข็งแรง
 มีราวกันตก ราวกลาง และแผนกั้นกันของตก
 ราวกันตกทำจากวัสดุที่เข็งแรงสูงระหวาง 90 – 110 ซม.
 ราวกลางทำจากวัสดุที่แข็งแรง สูงระหวาง 45 - 55 ซม.
 แผนกั้นกันของตกทำจากวัสดุทึบแข็งแรง สูง 10 ซม.
 ตองไมมีการเปดชองในพื้นที่ปฏิบัติงาน

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 62


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

วิธีการสวมใสเซฟตี้ฮาเนส

ยกฮาเนสใหลอยไวโดยยกสวยดี-ริงและเขยา ในกรณีที่สายรัดหนาอก,ขาและ/หรือ
ใหสายรัดตกลงมา เอวถูกล็อคอยูใหปลดออก

ใสสายรัดที่ไหลโดยใหดี-ริงอยูก ลางระหวางไหล ดึงสายรัดขาลออดหวางขาแลวล็อคและทำซ้ำ


ทั้งสองขาง กับสายอีกขางหนึ่งหลังจากนั้นล็อคสายที่เอว

ล็อคสายรัดหนาอกและใหอยูตำแหนงกลาง หลังจากรัดสายรัดหมดแลวใหปรับใหตรงแตสามารถ
หนาอกและดึงใหตรึง เคลื่อนไหวไดอยางสะดวกและเก็บสายรัดเขาที่

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 63


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ตัวอยางการปองกันอันตรายจากการตก
ในพื้นที่ปฏิบัติงาน,ทางเดิ
ฃ น ที่มีชองเปด

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 64


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

มาตรฐานความปลอดภัยในการใชบันได

 สวมใสอุปกรณปองกันการตกจากที่สูง
 หลีกเลี่ยงการใชบันไดบริเวณ ประตู พื้นเอียง
 หามทำงานโดยใชมือทั้งสองขาง
 ตรวจสอบสภาพกอนขึ้นไปทำงาน
 ขาค้ำยันและขั้นบันไดตองมั่นคงแข็งแรง
 ขาบันไดตองกางทำมุมเทากันทั้ง 2 ขาง
 บันไดไมเสียรูป บิดเบี้ยว คดงอ แตก หรือหัก
 หามถืออุปกรณปนขึ้นบันได
 ไมเอื้อมหรือโนมตัวทำงานจนสุดตัว
 ตองมี 3 จุดสัมผัสบนบันไดตลอดเวลาที่ทำงาน

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 65


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

มาตรฐานความปลอดภัยในการใชนั่งราน

กฎหมายที่เกี่ยวของกับนั่งราน
1.ในกรณีนายจางใหลูกจางทำงานบนที่ลาดชันที่ทำมุมเกินสามสิบองศาจากแนวราบและสูงตั้งแต 2 เมตร
นายจางตองจัดใหมีนั่งรานที่แข็งแรงไดมาตรฐาน
2.หามผูหญิงทำงานที่ตองทำบนนั่งรานที่สูงกวาพื้นดินตั้งแต 10 เมตร ขึ้นไป
3.การทำงานสูง 2 เมตร ตองสรางนั่งรานและนั่งรานตองตินตั้งราวกันตก
4.นั่งรานหรือค้ำยันชั่วคราวที่มีความสูงตั้งแต 4 เมตร ขึ้นไปควรจัดใหมีวิศวกรโยธากำหนดรายละเอียดความ
ปลอดภัยในการสรางนั่งราน
5.เหล็กที่ใชค้ำยันหรือสรางนั่งราน ตองเปนเหล็กที่มีจุดคราก (yield point) ไมนอยกวา 2,400 กิโลกรัมตอ
ตารางเซนติเมตร และมีคาความปลอดภัยไมนอยกวา 2 เทา
6.นั่งรานตั้งสามารถรับน้ำหนักไมนอยกวา 2 ของน้ำหนักแหงการใชงานสำหรับนั่งรานที่สรางดวยโลหะ ไม
นอยกวา 4 ของน้ำหนักแหงการใชงานสำหรับนั่งรานที่สรางดวยไม

การใชนั่งรานประกอบ
 ความสูงตองไมเกิน 4 เทาของฐานสวนที่แคบที่สุด
 สวมใสอุปกรณปองกันการตกจากที่สูง
 ตรวจสอบกอนใชงาน ถามีลอตองล็อคได
 หามจัดเก็บวัสดุอุปกรณบนพื้นที่ทำงานบนนั่งราน
 หามพนักงานอยูดานบนขณะที่มีการเคลื่อนยาย
 ผูกมัดอุปกรณและเครื่องมือที่นำขึ้นไปใชงาน
 ปรับขาหยั่งใหติดพื้นทุกตัวกอนขึ้นไปใชงาน
 หามยืนหรือใชไมกระดานพาดราวกันตกเพื่อทำงาน
และหามปนปาย
 ลอมบริเวณทุกครั้งที่ทำงาน
 หามแบกของเดินขึ้นบันได

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 66


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

มาตรฐานความปลอดภัยในการใชอุปกรณชุดตัดแกส

 ถังอัดอากาศตองไมบุบ หรือผุกรอน
 ถังกาซตองตั้งบนรถเข็นและตองจับยึดดวยโซใหแข็งแรง
 เกจวัดแรงดันตองอานคาได, ปรับคาแรงดันได และตองไมชำรุด
 มีประแจสำหรับเปด ปด ที่ถังตลอดเวลา
 จัดใหมีอุปกรณกันเปลวไฟยอนกลับตอจากเกจวัดแรงดัน
 จุดตอตองใชเข็มขัดรัดสายขันใหแนน
 สายลม สายแกส จะตองไมชำรุด
 ชุดหัวตัดแกสตองใชงานไดดี ไมมีการรั่วซึมของแกส
 จัดใหมีอุปกรณสำหรับจุดไฟไวที่ชุดตัด
 จัดใหมีถังดับเพลิงวางไวในตำแหนงที่เหมาะสมที่จุดปฏิบัติงาน
 จัดใหมีขวดใสน้ำสบูเพื่อตรวจสอบการรั่วซึมตามจุดขอตอ
 เมื่อเลิกใชงานตองถอดเก็บชุดหัวตัดใสฝาครอบที่หัว
 ถังอัดแรงดันและจัดเก็บในที่เหมาะสม

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 67


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการ
ทำงานที่อับอากาศ พ.ศ.2562
“ที่อับอากาศ " คือ ที่ซึ่งมีทางเขาออกจํากัดและไมไดออกแบบไวสําหรับเปนสถานที่ทํางานอยางตอเนื่องเปนประจํา
และมีสภาพอันตรายหรือมีบรรยากาศอันตราย เชน อุโมงค ถ้ำ บอ หลุม หองใตดิน หองนิรภัย ถังน้ำมัน ถังหมัก ถัง ไซโล ทอ
เตา ภาชนะ หรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคลายกัน

ขอควรปฏิบัติในการปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
1. จัดใหมีปาย “ที่อับอากาศ อันตราย หามเขา" มีขนาดมองเห็น ไดชัดเจน ติดไวบริเวณทางเขา-ออกที่อับ
อากาศ
2. ผูปฏิบัติงานตองไดรับการฝกอบรมความปลอดภัยในการ ทํางานในที่อับอากาศ
3. หามผูปฏิบัติงานที่เปนโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคหัวใจ หรือโรคอื่นทีแพทยเห็นวาเปนอันตรายในการ
เขาไปในที่อับอากาศ โดยเด็ดขาด
4. จัดใหมีการตรวจวัด และบันทึกผลการตรวจวัด และประเมิน สภาพอากาศในที่อับอากาศทั้งกอน และ
ระหวางปฏิบัติงาน
5. สวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลสำหรับ ปฏิบัติงานในที่อับอากาศทุกครั้ง
6. จัดใหมีแผนการปฏิบัติงาน แผนการปองกันอันตรายที่ อาจเกิดขึ้น และแผนชวยเหลือผูปฏิบัติงานในกรณี
เหตุฉุกเฉิน
7. ปดกั้นบริเวณพื้นที่อับอากาศเพื่อไมใหบุคคลใดเขาไปใน บริเวณนั้น เพื่อปองกันการตกลงไปในที่อับอากาศ
8. จัดใหมีบริเวณทางเดิน หรือทางเขาออกใหสะดวกและ ปลอดภัย

**การทำงานในพื้นที่อับอากาศตองผานการฝกอบรมหลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ ซึ่งมี 4 ผู


ไดแก
1. ผูอนุญาต
2.ผูควบคุมงาน
3.ผูชวยเหลือ
4.ผูปฏิบัติงาน

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 68


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ตัวอยางสถานที่อับอากาศ

26

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 69


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ความปลอดภัยในสำนักงาน (SAFETY IN OFFICE)

1.ทำความสะอาดพื้นใหแหงอยูเสมอ เพราะถาเปยกจะทำใหลื่นได
2. เมื่อยกของขึ้นบันได ไมควรยกของสูงเกินไป จนมองไมเห็นทาง และสวมรองเทาใหรัดกุม
3.อยาใชเกาอี้หมุนมารองยืนเพื่อหยิบของเพราะอาจหงายหลัง ควรใชบันไดที่มั่นคง / เกาอี้มีคนชวยจับ
4.ไมควรวางโตะหรือสิ่งของขวางจุดที่เปนทางเขา-ออกเพราะอาจจะเดิน ชนได
5.ในบริเวณมุมอับ อยาเดินชิดหัวมุมเพราะอาจทำให เดินชนกันได
6. ตูเอกสารที่ใสของหนัก ควรใสซองหนัก และยึดตูใหมั่นคงอยาเปดลิ้นชักมากกวาครั้งละ 1 ลิ้นชัก และเมื่อใช
แลวตองปดทันที
7. อยาวางสิ่งของเกะกะทางเดินเพราะอาจทำใหเตะหรือ สะดุดได
8.ใบมีดคัตเตอรที่นำออกมาใช เมื่อใชเสร็จแลวตองเก็บใบมีดทุกครั้ง
9. ถอดปลั๊กไฟและปดเครื่องใชไฟฟาเมื่อเลิกใชงาน
10. เรียนรูการใชถังดับเพลิง และเสนทางการอพยพหนีไฟในที่ทำงาน

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 70


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

การรายงานอุบัติเหตุและการสอบสวนอุบัติเหตุ วิเคราะหอุบัติเหตุ
การตรวจสอบและติดตามผลดานความปลอดภัย จะใชรูปแบบการรายงานผลปฏิบัติงานความปลอดภัย คาสถิติตางๆที่นำมาใช
วัดผลการปฏิบัติงาน รวมไปถึงสถิติการเกิดอุบัติเหตุหรือการเจ็บปวยประกอบดวยขอมูลที่ใชในการประเมินผลดังนี้
1. ขอมูลเกี่ยวกับการเกิดอุบัติเหตุ ไดแก จำนวนราย จำนวนวันที่หยุดงาน ลักษณะการบาดเจ็บสวนของรางกาย
ที่บาดเจ็บ ตนแหลงที่ทำใหบาดเจ็บ ชนิดของอุบัติเหตุ สภาวะที่เปนอันตราย ตัวการที่ทำใหเกิดอุบัติเหตุ สวน
ของตัวการที่ทำใหเกิดอุบัติเหตุ การกระทำที่ไมปลอดภัย การสูญเสีย วัน เวลา หนวยงานที่เกิดอุบัติเหตุ และ
ขอมูลจา การสอบสวนอุบัติเหตุ
2. รายงานการปฐมพยาบาล ขอมูลเกี่ยวกับการเจ็บปวยและภาวะสุขภาพของพนักงาน ไดแก ขอมูลการ
เจ็บปวย ขอมูลกรพบแพทย ขอมูลการใชยา
3. ขอมูลเกี่ยวกับการเกิดเหตุการณเกือบเกิดอุบัติเหตุ (Near Miss) และเหตุเดือดรอนรำคาญ
4. ขอมูลเกี่ยวกับการตรวจสอบสภาพแวดลอมในการทำงาน เชนผลการตรวจวัดระดับเสียง ฝุนละออง ความ
รอน แสงสวางในที่ทำงาน
5. ขอมูลเกี่ยวกับคาใชจาย เชนคาใชจายในการรักษาพยาบาล คาใชจายที่สูญเสียจากการเกิดอุบัติเหตุ และโรค
จากการทำงาน เปนตน
6. จำนวนวันทำงาน
7. สถิติการประสบอันตรายจากการทำงาน เชน อัตราการประสบอันตรายจากการทำงาน ตอลูกจาง 1,000 คน
อัตราความถี่การบาดเจ็บ (I.F.R.) อัตราความรุนแรงของการบาดเจ็บ (I.S.R.) โดยมีรายละเอียดการคำนวณ
ดังนี้
7.1 อัตราความถี่การบาดเจ็บ (I.F.R.)
อัตราความถี่การบาดเจ็บ (Injury Frequency Rate I.F.R.) เปนการคำนวณอัตราความถี่ของการบาดเจ็บ
จากจำนวนรายของลูกจางที่บาดเจ็บเนื่องจากการทำงานในชวงเวลาหนึ่งตอชั่วโมงทำงานทั้งหมดจำนวน
1,000,000 ชั่วโมง
สูตรคำนวณ I.F.R. = N/MH×1,000,000
N = จำนวนรายที่รับบาดเจ็บในหนวยงาน
MH = จำนวนชั่วโมงการทำงานทั้งสิ้นของคนงานในหนวยงานนั้นๆ
7.2 อัตราความรุนแรงของการบาดเจ็บ (I.S.R.)
อั ต ราความรุ น แรงของการบาดเจ็บ (Injury Severity Rate I.S.R.)เป น การคำนวนความรุ น แรงของการ
บาดเจ็บ คำนวณจากวันทั้งหมดที่ลูกจางตองหยุดงานเพื่อรักษาพยาบาล จนกวาจะกลับไปทำงานไดใหมตอการ
ทํางาน 1,000,000ชั่วโมง
สูตรคำนวณ I.S.R. = DL/MH×1,000,000
DL = จำนวนวันที่หยุดงานหรือสูญเสียไปเนื่องจากเกิดการบาดเจ็บ
MH = จํานวนชั่วโมงการทำงานทั้งสิ้นของคนงานในหนวยงานนั้นๆ
เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ จะเปนผูจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงานดานความ
ปลอดภัยรายเดือนเสนอตอผูจัดการโครงการ ภายในวันที่ 25 ของแตละเดือนหรือไตรมาส หรือแลวแตกำหนด

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 71


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

วิธีปฏิบัตงิ านดานความปลอดภัย
ในการทำงานบนรางและขางทางรถไฟ
1. จัดพนักงานประจำสถานีบานไผ พรอมวิทยุสื่อสารโดยตองรายงานตัวในการปฏิบัติงานผานทางวิทยุสื่อสารกอน
เริ่มงานและเมื่อเลิกงานทุกวัน
2. พนักงานประจำจุดปฏิบัติงาน (วิศวกรควบคุมงานหรือหัวหนางาน) ตองวิทยุแจงพนักงานประจำสถานีระหวางจุด
ทำงานทั้ง 2 สถานี วามีการทำงานที่ กม..........ทุกเชากอนเริ่มงาน และพนักงานประจำสถานีตองไปแจงนายสถานี
ใหรับทราบดวย
3. เมื่อรถไฟจะผานแตละสถานี พนักงานประจำสถานีตองแจงเวลาที่รถไฟเขา - ออกสถานี โดยใชขอความวา ขณะนี้
รถไฟขบวนที่...........ไดเขาสูสถานี........แลว เวลา.......... และ กำลังมุงหนาไปที่สถานี.........ขอใหจุดปฏิบัติงาน
ในชวงสถานี........ถึง สถานี.......แจงใหเครื่องจักร และพนักงานที่ทำงานใกลทางรถไฟหยุดปฏิบัติงาน และถอย
ออกจากทางรถไฟเพื่อความปลอดภัย
4. เมื่อพนักงานประจำจุดปฏิบัติงานรับทราบแลว ตองแจงใหเครื่องจักร และพนักงานที่ทำงานขางทางรถไฟทราบ
ทันที และเมื่อรถไฟผานจุดทำงานแลวตองวิทยุแจงเปนขอความวา รถไฟไดผานจุดปฏิบัติงาน กม. .........แลวโดย
ปลอดภัย
5. วิศวกรที่ควบคุมงาน หรือหัวหนางาน ที่มีจุดการทำงานขางทางรถไฟตองจัดพนักงานเฝาระวังที่เครื่องจักร 2 คน
พรอมธงสีแดง และนกหวีด กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินตองวิ่ง หรือเดินเร็วออกไปจากจุดทำงานใหไกลที่สุดประมาณ 1
กม. และโบกธงแดงใหสัญญาณขบวนรถไฟทราบ วิศวกรควบคุมงานหรือหัวหนางานตองวิทยุแจงใหพนักงานที่
ประจำสถานีทราบโดยทันที โดยขอมูลที่แจงตองสั้น กระชับ ไดใจความ เชน เกิดเครนลมทับทางรถไฟที่ จุด
ปฏิบัติงาน กม. .........เมื่อเวลา.......เปนตน
6. การทำงานที่ใกลกับทางรถไฟ หากทำงานในระยะมากกวา 2.50 เมตร จากศูนยกลางทางรถไฟจะตองกั้นแนวริ้ว
ขาว - แดง ที่ระยะ 2.50 เมตร เพื่อแสดงเขตทำงานที่ปลอดภัย และตองหามพนักงาน หรือเครื่องจักรทำงานเขา
ไปเกินระยะที่กั้นริ้วขาว - แดง ไวโดยเด็ดขาด

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 72


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 73


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 74


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 75


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 76


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


77
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 78


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ขั้นตอนการปฏิบัติดานความปลอดภัย การทำงานบนราง และขางทางรถไฟ


แบงออกได 3 ลักษณะงานดังนี้
1. การทำงานในพื้นที่ทางปด (Window Time)
2. การทำงานในพื้นที่ทางเปด (อยูนอกเวลาการเดินรถ)
3. การทำงานในพื้นที่ทางเปด (อยูในเวลาการเดินรถ)

1. การทำงานในพื้นที่ทางปด (Window Time)


โดยมีประกาศปดทางตองดำเนินการแจงแผนวันระยะเวลา ระยะกม.และตองไดรับการอนุมัติจากทางการ
รถไฟกอนจึงจะสามารถดำเนินงานไดโดยตองมีแผนงานการดำเนินการประชาสัมพันธ และประกาศปดทาง เมื่อ
ดำเนินการปดทางแลวตองปฏิบัติดังนี้.
1.1 กอนการปฏิบัติงาน ตองแจงการรถไฟ แจงนายสถานี ตนทางและปลายทางทุกครั้งวามีแผนการในการทำงาน
อยางไร ใชเครื่องจักรใดในแตละวันโดยใหระบุตำแหนงสถานที่จุดทำงาน โดยยึดเอาเลขที่เสาโทรเลข ระยะเวลา
ในการปฏิบัติงาน เวลาเริ่ม และเลิกงาน
1.2 จัดใหมีพนักงานประจำอยูสถานีทั้งสองดานพรอมกับอุปกรณในการใชติดตอสื่อสารอยางนอย 2ระบบ เชน
วิทยุมือถือ โทรศัพทมือถือ หรืออุปกรณสื่อสารอื่นๆซึ่งพนักงานที่ประจำอยูที่สถานีจะมีหนาที่คอยประสานงาน
นายสถานีกับจุดที่ปฏิบัติงาน เพื่อแจงขาวสารในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉิน
1.3 จัดใหมี Look out man 2 คน ยืนประจำอยูทั้ง 2 ขางของจุดที่ทำงาน โดยใหยืนออกหางไปจากจุดที่ทำงาน
ดานละ 1 กม. พรอมอุปกรณสื่อสาร ธงใหสัญญาณ เขียว แดง หมวกนิรภัย นกหวีดสวมเสื้อสะทอนแสงและถา
ปฏิบัติงานในเวลากลางคืนจะตองมีแทงสัญญาณ เรืองแสง หรือสะทอนแสง ไฟฉาย
1.4 ในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉิน กีดขวางการเดินรถ แตระบบการติดตอสื่อสารทุกระบบ ไมสามารถใชการได ให Look
out man วิ่งหรือเดินเร็ว ออกไปใหไกลที่สุด เพื่อคอยโบกธงใหสัญญาณในกรณีที่อาจจะมีขบวนรถวิ่งเขามาในจุด
ที่ปฏิบัติงาน
1.5 วิศวกร/ผูควบคุมงานจะตองติดตอกับเจาหนาที่การรถไฟ เพื่อขออนุญาตติดตั้งปายเตือน/ปายบอกทางกอน
ถึงจุดที่ปฏิบัติงานโดยใหปฏิบัติตามระเบียบรฟท.ตามระบุใน ขดร.2549
1.6 โฟรแมนหรือผูควบคุมงานตองแจงใหพนักงานที่ประจำอยูที่สถานีและ นายสถานี ทราบทันทีที่มีเหตุฉุกเฉิน
หรือหากมีเครื่องจักรกีดขวางการเดินรถ โดยใหแจง ดังนี้ “เครื่องจักร..อะไร...กีดขวางการเดินรถอยูที่เสาโทรเลข
ตนที่....และจะดำเนินการแกไขหรือเคลื่อนยายออกใหเดินรถไดภายในเวลากี่นาที” และเมื่อเคลื่อนยายหรือ
ดำเนินการแกไขเรียบรอยแลวใหแจงพนักงานที่ประจำอยูที่สถานีวา “เครื่องจักร...ไดดำเนินการแกไขหรือได
เคลื่อนยายออกเรียบรอยแลว สามารถเดินรถไดตามปกติ”
1.7 ตองมีการอบรมพนักงานใหสัญญาณ (Look out man) และพนักงานที่ปฏิบัติงานกอนการปฏิบัติงาน เพื่อให
เขาใจถึงการสื่อสารและสัญญาณตาง ๆ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 79


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

2.การทำงานในพื้นที่ทางเปด (อยูนอกเวลาการเดินรถ)
เชน งานยกระดับสะพานเหล็ก การเปลี่ยนหมอนเหล็ก และงานอื่น ๆ ที่ทำงานบนทางรถไฟ
2.1 กอนการปฏิบัติงาน ตองแจงการรถไฟ แจงนายสถานี ตนทางและปลายทาง ทุกครั้งวามีแผนการในการทำงาน
อยางไร ใชเครื่องจักรใดในแตละวัน โดยใหระบุตำแหนงสถานที่ จุดทำงาน โดยยึดเอาเลขที่เสาโทรเลข ระยะเวลาในการ
ปฏิบัติงาน เวลาเริ่ม และเลิกงาน
2.2 จัดใหมีพนักงานประจำอยูสถานี ทั้งสองดาน พรอมกับอุปกรณในการใชติดตอสื่อสารอยางนอย 2 ระบบ เชน
วิทยุมือถือ โทรศัพทมือถือ หรืออุปกรณสื่อสารอื่นๆซึ่งพนักงานที่ประจำอยูที่สถานีจะมีหนาที่คอยประสานงานนายสถานี
กับจุดที่ปฏิบัติงานเพื่อแจงขาวสารในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉิน
2.3 จัดใหมี Look out man 2 คน ยืนประจำอยูทั้ง 2 ขางของจุดที่ทำงาน โดยใหยืนออกหางไปจากจุดที่ทำงานดาน
ละ 1 กม. พรอมอุปกรณสื่อสาร ธงใหสัญญาณ เขียว แดง หมวกนิรภัย นกหวีดสวมเสื้อสะทอนแสงและถาปฏิบัติงานใน
เวลากลางคืนจะตองมีแทงสัญญาณ เรืองแสง หรือสะทอนแสง ไฟฉาย
2.4 ในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉิน กีดขวางการเดินรถ แตระบบการติดตอสื่อสารทุกระบบ ไมสามารถใชการได ให Look out
man วิ่งหรือเดินเร็ว ออกไปใหไกลที่สุด เพื่อคอยโบกธงใหสัญญาณในกรณีที่อาจจะมีขบวนรถวิ่งเขามาในจุดที่ปฏิบัติงาน
2.5 วิศวกร/ผูควบคุมงาน จะตองติดตอกับเจาหนาที่การรถไฟ เพื่อขออนุญาตติดตั้งปายเตือน/ปายเบาทางกอนถึงจุด
ที่ปฏิบัติงานโดยใหปฏิบัติตามระเบียบรฟท.ตามระบุใน ขดร.2549
2.6 โฟรแมนหรือผูควบคุมงาน ตองแจงใหพนักงานที่ประจำอยูที่สถานีและ นายสถานี ทราบทันทีที่มีเหตุฉุกเฉิน หรือ
หากมีเครื่องจักรกีดขวางการเดินรถ โดยใหแจง ดังนี้ “เครื่องจักร..อะไร...กีดขวางการเดินรถอยูที่เสาโทรเลขตนที่....และ
จะดำเนินการแกไขหรือเคลื่อนยายออกใหเดินรถไดภายในเวลากี่นาที” และเมื่อเคลื่อนยายหรือดำเนินการแกไขเรียบรอย
แลวใหแจงพนักงานที่ประจำอยูที่สถานีวา “เครื่องจักร...ไดดำเนินการแกไขหรือไดเคลื่อนยายออกเรียบรอยแลวสามารถ
เดินรถไดตามปกติ”
2.7 ตองมีการอบรมพนักงานใหสัญญาณ (Look out man) และพนักงานที่ปฏิบัติงานกอนการปฏิบัติงาน เพื่อให
เขาใจถึงการสื่อสารและสัญญาณตาง ๆ

3. การทำงานในพื้นที่ทางเปด (อยูในเวลาการเดินรถ)
ตองปฏิบัติตามกฎระเบียบของการรถไฟทุกประการเชน ขอบังคับและระเบียบการเดินรถ พ.ศ. 2549 (ขดร.2549)
3.1 กอนการปฏิบัติงาน ตองแจงการรถไฟ แจงนายสถานี ตนทางและปลายทางทุกครั้งวามีแผนการในการทำงาน
อยางไรใชเครื่องจักรใดในแตละวัน โดยใหระบุตำแหนงสถานที่ จุดทำงาน โดยยึดเอาเลขที่เสาโทรเลข ระยะเวลาใน
การปฏิบัติงาน เวลาเริ่ม และเลิกงาน
3.2 จัดใหมีพนักงานประจำอยูสถานี ทั้งสองดาน พรอมกับอุปกรณในการใชติดตอสื่อสารอยางนอย 2 ระบบ เชน
วิทยุมือถือ โทรศัพทมือถือ หรืออุปกรณสื่อสารอื่น ๆ ซึ่งพนักงาน ที่ประจำอยูที่สถานีจะมีหนาที่คอยประสานงานนาย
สถานีกับจุดที่ปฏิบัติงานเพื่อแจงขาวสารในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉิน
3.3 จัดใหมี Look out man 2 คน ยืนประจำอยูทั้ง 2 ขางของจุดที่ทำงาน โดยใหยืนออกหางไปจากจุดที่ทำงานดาน
ละ 1 กม. พรอมอุปกรณสื่อสาร ธงใหสัญญาณ เขียว แดง หมวกนิรภัย นกหวีด สวมเสื้อสะทอนแสง และถาปฏิบัติงาน
ในเวลากลางคืนจะตองมีแทงสัญญาณ เรืองแสง หรือสะทอนแสง ไฟฉาย
3.4 ในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉิน กีดขวางการเดินรถ แตระบบการติดตอสื่อสารทุกระบบ ไมสามารถใชการได ให Look out
man วิ่งหรือเดินเร็ว ออกไปใหไกลที่สุด เพื่อคอยโบกธงใหสัญญาณในกรณีที่อาจจะมีขบวนรถวิ่งเขามาในจุ ด ที่
ปฏิบัติงาน
3.5 วิศวกร/ผูควบคุมงาน จะตองติดตอกับเจาหนาที่การรถไฟ เพื่อขออนุญาตติดตั้งปายเตือน/ปายบอก ทาง กอนถึง
จุดที่ปฏิบัติงาน โดยใหปฏิบัติตามระเบียบ รฟท. ตามระบุใน ขดร.2549
แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 80
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

3.6 โฟรแมนหรือผูควบคุมงาน ตองแจงใหพนักงานที่ประจำอยูที่สถานีและ นายสถานี ทราบทันทีที่มีเหตุฉุกเฉิน หรือ


หากมีเครื่องจักรกีดขวางการเดินรถ โดยใหแจง ดังนี้ “เครื่องจักร..อะไร...กีดขวางการเดินรถอยูที่เสาโทรเลขตนที่....และจะ
ดำเนินการแกไขหรือเคลื่อนยายออกใหเดินรถไดภายในเวลากี่นาที” และเมื่อเคลื่อนยายหรือดำเนินการแกไขเรียบรอยแลวให
แจงพนักงานที่ประจำอยูที่สถานีวา “เครื่องจักร...ไดดำเนินการแกไขหรือไดเคลื่อนยายออกเรียบรอยแลว สามารถเดินรถได
ตามปกติ”
3.7 ตองมีการอบรมพนักงานใหสัญญาณ (Look out man) และพนักงานที่ปฏิบัติงานกอนการปฏิบัติงาน เพื่อให
เขาใจถึงการสื่อสารและสัญญาณตาง ๆ
3.8พนักงานที่ประจำอยูสถานี จะตองรีบแจงผูที่ปฏิบัติงานที่หนางานทันทีที่มีขบวนรถไฟมาถึงสถานี โดยแจงวา “มี
ขบวนรถไฟมาถึงสถานี....แลว”
3.9 พนักงานที่ปฏิบัติงานจะตอง หยุดการทำงานทันที เมื่อไดรับแจงจากพนักงานที่ประจำอยูที่สถานีวามีขบวนรถไฟ
มาหากมีการใชเครื่องจักรอยูในระยะใกลกับรางรถไฟใหเคลื่อนยายออกใหพนระยะโครงสรางของรถไฟและจอดนิ่งอยูในทา
ขนานกับรางรถไฟ โดยใหดานหนาของเครื่องจักรหันไปในทิศทางที่ขบวนรถวิ่งเขามา และพนักงานควบคุมเครื่องจักรตองดับ
เครื่องจักรแลวลงมายืนดานลาง
3.10 ในกรณีที่ขบวนรถไฟมาชากวาเวลาการเดินรถปกติ ใหพนักงานที่ประจำอยูสถานีสอบถามกับนายสถานี วามี
เหตุขัดของอันใด หรือไม (และคาดวาขบวนรถจะมาถึงสถานีเวลาเทาใด) แลวใหแจงทางผูที่ปฏิบัติงานที่หนางานทราบดวย

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 81


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ตารางสรุปมาตรการความปลอดภัยตามลักษณะงาน
ลักษณะงาน
พื้นที่ทางปด พื้นที่ทางเปด พื้นที่ทางเปด
ลำดับ
(Window (อยูนอกเวลาการ (อยูในเวลาการ
Time) เดินรถ) เดินรถ)
1. แจงนายสถานีทุกครั้งกอนเริ่มและเลิกงาน   
2. จัดพนักงานประจำอยูที่สถานีพรอมอุปกรณสื่อสาร   
3. จัดใหมี Look out man อยู 2 ขางจุดทำงาน   
4. ขออนุญาตเบาทาง   
5. กรณีฉุกเฉินแจงนายสถานี   
6. การอบรมพนักงาน   
7. พนักงานประจำสถานีตองรีบแจงพนักงานประจำ
  
ทุกทำงานเมื่อมีขบวนรถไฟมา
8. พนักงานจะตองหยุดทำงานและเครื่องจักรอยูในทา
  
ขนานกับรางขณะมีรถไฟผาน
9. กรณีที่รถไฟมาชากวาปกติใหแจงพนักงานประจำ
  
จุดทำงาน

4.มาตรการความปลอดภัยสำหรับทางขามทางรถไฟชั่วคราว (Temporary Level Crossing)


4.1 ทางขามทางรถไฟ (Level Crossing) จะตองทำการปรับปรุงทางขามและเนินดินใหราบเรียบมีความชันนอยที่สุด
และมีความกวางเพียงพอสำหรับการสัญจรของยานพาหนะ
4.2 รั้วกั้นทางขามทางรถไฟชั่วคราว (Temporary Level Crossing) จะตองอยูหางจากกึ่งกลางรางรถไฟเดิมไมนอย
กวาเขตโครงสรางรถไฟ (2.50 เมตร) ดังแสดงในรูปที่ 1

รูปที่ 1 ภาพแสดงการปรับปรุงทางขึ้น - ลง บริเวณจุดตัดทางรถไฟ


4.3พาหนะที่จะขามทางรถไฟจะตองหยุดและรอดูสัญญาณที่ปลอดภัยใหขามทางรถไฟจากพนักงานดูแลความ
ปลอดภัยที่ประจำอยู ณ จุดทางขามนั้น ๆ โดยจะตองขับรถขามทางรถไฟในแนวรถที่ตั้งตรง
4.4 รั้วกั้นทางขามรถไฟชั่วคราว (Temporary Level Crossing) จะตองอยูในตำแหนงปดตลอดเวลาและจะเปดก็
ตอเมื่อไดมีการตรวจสอบแลววาไมมีรถไฟแลนผานในขณะชวงเวลานั้น

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 82


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

5. มาตรการความปลอดภัยสำหรับการเบี่ยงเสนทางจราจรชั่วคราวขามทางรถไฟ
5.1 ดำเนินการจัดทำตามมาตรการความปลอดภัยสำหรับทางขามทางรถไฟชั่วคราว ขอ 1.1 และขอ 1.2
5.2 จัดใหมีพนักงานดูแลความปลอดภัยในการทำงานประจำ ณ จุดทางเบี่ยงการจราจรชั่วคราวขามทางรถไฟตลอด
24 ชั่วโมง เพื่อชวยเหลือเจาหนาที่เครื่องกั้นทางผานของการรถไฟ ในการกั้นการจราจรของยานพาหนะใหรถไฟผาน ทางเบี่ยง
การจราจรชั่วคราวขามทางรถไฟ
5.3 พนักงานดูแลความปลอดภัยในการทำงาน ที่ทำหนาที่ชวยเหลือเจาหนาที่เครื่องกั้นทางผานของการรถไฟ จะ
ชวยเหลือในการเปด – ปด เครื่องกั้นทางผานตามคำสั่งของเจาหนาที่ประจำเครื่องกั้นทางผานของการรถไฟ

6.มาตรการความปลอดภัยสำหรับการขุดแตงดินขางคันทางเดิม
6.1 จัดใหมีพนักงานดูแลความปลอดภัยในการทำงาน 1 คนประจำทุกจุดที่มีการทำงานเพื่อเตือนใหพนักงานควบคุม
เครื่องจักรและผูปฏิบัติงานทราบวารถไฟกำลังจะมา โดยเครื่องจักรและผูปฏิบัติงานที่ทำงานอยูใกลคันทางเดิม จะตองหยุด
การทำงานทันทีและรถใหขบวนรถไฟแลนผานบริเวณที่ทำงานไปกอนแลวคอยเริ่มงานตอ
6.2 พนักงานดูแลความปลอดภัยในการทำงาน มีหนาที่จะต องคอยสั งเกตและระมั ดระวั งของขบวนรถไฟให แก
ผูปฏิบัติงาน และตองดูสภาพคันทางเดิมที่ทำการขุดแตงวามีการลื่นไหลของดิน คันทางและหินโรยทางหรือไม หากเกิด
เหตุการณดังกลาวขึ้นจะตองหยุดการทำงานและรีบกลบหรือถมดินเขาที่เดิมและรีบแจงใหวหนางานหรือเจาหนาที่ ความ
ปลอดภัยหรือวิศวกรสนามที่รับผิดชอบงานทราบทันที
6.3 จัดใหมีธงรั้วขาว – แดง ปกหางจากกึ่งกลางของทางเดิมออกมาไมนอยกวาเขตโครงสรางรถไฟ (2.50 เมตร)
ระยะหางของระยะเสาไมเกินกวา 10 เมตร/ตน ตลอดแนวที่ปฏิบัติงาน หามไมใหผูปฏิบัติงานและเครื่องจักรทำงานลวงล้ำเขา
ไปในแนวเขตธงรั้วขาว – แดง โดยเด็ดขาด

รูปที่ 2 ภาพแสดงการทำงานขุดแตงดินขางคันทางเดิม
6.4 หากพิจารณาแลววาดินคันทางเดิมมีสภาพที่อาจจะกอใหเกิดการลื่นไหลของดินอันเนื่องจากการขุดแตงดินขางคัน
ทางเดิม ซึ่งจะเปนผลใหร ะดั บทางรถไฟทรุดตัว รถไฟอาจจะตกรางได ดังนั้นใหทำการตอก Sheet Pile หรือวัสดุอื ่ น ที่
เหมาะสม เพื่อปองกันการลื่นไหลของดินคันทางเดิม กอนทำการปฏิบัติงานขุดแตงดินขางคันทางเดิม
6.5 จัดใหมีพนักงานดูแลความปลอดภัยหรือพนักงานธงสัญญาณ ตองสวมใสและมีอุปกรณประจำกายดังนี้
- หมวกแข็งนิรภัยสีเหลือง
-นกหวีด หรือ เครื่องสัญญาณใหเสียงชนิดอื่นที่สามารถสงเสียงใหผูปฏิบัติงานไดยินเสียงสัญญาณเตือนใหหยุดการ
ปฏิบัติงานชั
- ่วคราวขณะที่รถไฟกำลังผานบริเวณที่ปฏิบัติงาน
- ธงผาสีแดง และ ธงผาสีเขียว (สำหรับใชในเหตุการณฉุกเฉิน)
- แทงสัญญาณสะทอนแสง (ใชเฉพาะการปฏิบัติงานชวงกลางคืน)
แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 83
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

6.6 งดการปฏิบัติงานตอนกลางคืน นอกจากไดรับอนุญาตจากผูควบคุมงาน และตองอยูภายใตการควบคุมและดูแล


ของวิศวกรสนามอยางใกลชิด และตองจัดใหมีแสงสวางที่เพียงพอตอการปฏิบัติงาน

7. มาตรการความปลอดภัยสำหรับงานตอกเสาเข็มและงานสะพาน
7.1จัดใหมีพนักงานดูแลความปลอดภัย 1 คน ในระยะที่มองเห็นไดอยางชัดเจนคอยใหสัญญาณเตือนแกพนักงาน
ควบคุมเครื่องตอกเสาเข็มวา รถไฟกำลังจะมา ใหหยุดการปฏิบัติงานชั่วคราว รอใหรถไฟผานไปกอนแลวคอยเริ่มปฏิบัติงานตอ
7.2พนักงานดูแลความปลอดภัยมีหนาที่ที่จะตองคอยสังเกต และระมัดระวังอันตรายจากเครื่องตอกเสาเข็มอันจะ
กอใหเกิดความเสียหายแกทางรถไฟ และคันทางเดิมจากการที่เครื่องตอกเสาเข็มลมลงขวางทางรถไฟ,เสาเข็มหักขวางทางรถไฟ
หากพบสภาพการณที่อาจจะกอเหตุขางตนใหหยุดการปฏิบัติงานทันทีและรีบแจงใหหัวหนางานหรือเจาหนาที่ความปลอดภัย
หรือวิศวกรสนามทราบทันทีเพื่อดำเนินการปรับปรุงแกไขกอน
7.3 จัดใหมีธงรั้วขาว – แดง ปกหางจากกึ่งกลางของทางเดิมออกมาไมนอยกวาเขตโครงสรางรถไฟ (2.50 เมตร)
ระยะหางของระยะเสาไมเกินกวา 10 เมตร/ตน ตลอดแนวที่ปฏิบัติงาน หามไมให ผูปฏิบัติงานและเครื่องจักร ทำงานลวงล้ำ
เขาไปในแนวเขตธงรั้วขาว – แดงโดยเด็ดขาด

รูปที่ 3 ภาพแสดงมาตรการความปลอดภัยบริเวณการทำงานสะพาน
7.4 จัดใหมีอุปกรณรองรับที่เหมาะสม และแข็งแรงมั่นคง สำหรับรองรับเครื่องตอกเสาเข็มและยึดโยงเครื่องตอกเสาเข็มดวย
สายสลิงที่ระดับความสูง ¾ สวนที่ดานหลังของเครื่องตอกเสาเข็มกับสมอบกอยางนอย 2 ตน เพื่อปองกันการลมของเครื่อง
ตอกเสาเข็ม

รูปที่ 4 ภาพแสดงมาตรการความปลอดภัยบริเวณการทำงานตอกเสาเข็ม

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 84


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

7.5 ในการเคลื่อนยายตำแหนงของเครื่องตอกเสาเข็ม ใหทำงานการตรวจสภาพของพื้นที่ในตำแหนงที่จะทำการยาย


เครื่องตอกเสาเข็มไปตั้งกอนวามีสภาพพื้นที่ออนหรือแข็งอยางไรและจะตองจัดเตรียมเครื่องอุปกรณรองรับใหเหมาะสม และ
มั่นคงแข็งแรงไวใหพรอม และทำการเคลื่อนยายดวยความระมัดระวัง
7.6 ในการเคลื่อนยายเสาเข็มหรืออุปกรณอื่น โดยใชเครนหรือปนจั่นหามไมใหทำการสวิงแขนของเครนหรือปนจั่น
ผานเขาไปในเขตโครงสรางรถไฟ หรือขามแนวเขตธงรั้วขาว – แดง โดยเด็ดขาด
7.7 ในการยกเสาเข็ม ดวยเครื่องตอกเสาเข็มเอง ตองตรวจดูสายสลิงและตำแหนงการวัดเสาเข็มเพื่อยกใหเหมาะสม
มั่นคงแข็งแรง และตองปฏิบัติงานดวยความระมัดระวัง
7.8 จัดใหพนักงานดูแลความปลอดภัยหรือพนักงานธงสัญญาณ ตองสวมใสและมีอุปกรณประจำกายดังนี้
- หมวกแข็งนิรภัยสีเหลือง
- นกหวีด หรือ เครื่องสัญญาณใหเสียงชนิดอื่นที่สามารถสงเสียงใหผูปฏิบัติงานไดยินเสียงสัญญาณเตือนใหหยุดการปฏิบัติงาน
ชั่วคราวขณะที่รถไฟกำลังผานบริเวณที่ปฏิบัติงาน
- สวมเสื้อกั๊กสะทอนแสง
- ธงผาสีแดงและธงผาสีเขียว(สำหรับใชในเหตุการณฉุกเฉิน)
- แทงสัญญาณสะทอนแสง (ใชเฉพาะการปฏิบัติงานชวงกลางคืน)

8. มาตการความปลอดภัยสำหรับงานกอสรางคันทางใหมและงานวางรางใหม
8.1จัดใหมีพนักงานความปลอดภัย 1 คนประจำจุดที่มีการลงดิน,หิน,ทราย,ดินลูกรังและหินโรยทางจากรถบรรทุกเพื่อ
คอยเตือนและใหสัญญาณแกพนักงานขับรถบรรทุกวารถไฟกำลังจะมาและหยุดการทำงานชั่วคราวรอใหรถไฟผานไปกอนแลว
คอยทำงานตอ

รูปที่ 5 ภาพแสดงการกอสรางหรือขนยายวัสดุอุปกรณบนคันทางใหม

8.2 จัดใหมีพนักงานดูแลความปลอดภัย 2 คน ที่บริเวณจุดเริ่มงานและจุดสิ้นสุดงาน ที่มีเครื่องจักรกลหนักทำงาน


หรือจุดที่มีการทำงานเปนบริเวณกวางเพื่อเตือนใหพนักงานควบคุมเครื่องจักรกลหนักและผูปฏิบัติงานทราบวา รถไฟกำลังจะ
มา ใหหยุดการปฏิบัติงานชั่วคราว รอใหรถไฟผานไปกอนแลวคอยเริ่มปฏิบัติงาน

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 85


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

รูปที่ 6 ภาพแสดงตำแหนงพนักงานความปลอดภัยบริเวณพื้นที่ทำงาน

8.3 จัดใหมีธงรั้วขาว – แดง ปกหางจากกึ่งกลางของทางเดิมออกมาไมนอยกวาเขตโครงสรางรถไฟ (2.50 เมตร)


ระยะหางของระยะเสาไมเกินกวา 10 เมตร/ตน ตลอดแนวที่ปฏิบัติงาน หามไมใหผูปฏิบัติงานและเครื่องจักร ทำงานลวงล้ำเขา
ไปในแนวเขตธงรั้วขาว – แดง โดยเด็ดขาด
8.4 จัดใหมีปายสัญญาณเตือนตาง ๆ ปกหางเปนระยะ ๆ และหางจากกึ่งกลางของรถไฟเดิมไมนอยกวาเขตโครงสราง
รถไฟ (2.50 เมตร) ตลอดแนวที่ปฏิบัติงาน เชน ปายเตือนความเร็ว ปายเตือนหามกลับรถ เปนตน
8.5 จัดใหมีสิ่งกีดขวางรั้ว หรืออุปสรรค เพื่อปองกันไมใหบุคคลภายนอกที่ไมเกี่ยวของกับงานกอสรางเขาไปหรือใช
เสนทาง หรือเพื่อจุดประสงคอื่นใด ในบริเวณงานกอสรางที่ไมมีการปฏิบัติงานหรือรอปฏิบัติงานในขั้นตอนตอไป เชน คันทาง
ใหม กองดิน ฯลฯ
8.6 เครื่องจักรกลหนักทุกประเภทและทุกชนิดที่ปฏิบัติงานใกลคันทางเดินตองหยุดการปฏิบัติงานทุกครั้งที่ ไดรับ
สัญญาณเตือนจากพนักงานดูแลความปลอดภัย วารถไฟกำลังจะมา
8.7 การกลับรถของยานพาหนะรถบรรทุกและเครื่องจักรกล ในพื้นที่ใกลคันทางเดิมจะตองหันดานหนาเขาหาคันทาง
เดิมตลอด และจะตองไมใหสวนหนึ่งสวนใดลวงล้ำเขาไปในแนวเขตธงรั้ว ขาว – แดง หรือเขตโครงสรางรถไฟ (2.50 เมตร
จากกึ่งกลางของคันทางเดิม) เปนอันขาด
8.8 จัดใหมีพนักงานดูแลความปลอดภัยหรือพนักงานธงสัญญาณ ตองสวมใสและมีอุปกรณประจำกายดังนี้
- หมวกแข็งนิรภัยสีเหลือง
- นกหวีด หรือ เครื่องสัญญาณใหเสียงชนิดอื่นที่สามารถสงเสียงใหผูปฏิบัติงานไดยินเสียงสัญญาณเตือนใหหยุดการ
ปฏิบัติงานชั่วคราวขณะที่รถไฟกำลังผานบริเวณที่ปฏิบัติงาน
- สวมเสื้อกั๊กสะทอนแสง
- ธงผาสีแดง และ ธงผาสีเขียว (สำหรับใชในเหตุการณฉุกเฉิน)
- แทงสัญญาณสะทอนแสง (ใชเฉพาะการปฏิบัติงานชวงกลางคืน)
8.9 ในการเคลื่อนยายหมอนรางรถไฟ และรางรถไฟ โดยใชเครน หามไมใหทำการหมุนแขนของเครนที่ยกวัสดุอุปกรณ
และหรือไมมีวัสดุอุปกรณ ผานขามเขาไปในเขตโครงสรางรถไฟ และหรือขามแนวธงรั้วขาว – แดง โดยเด็ดขาด ยกเวนในกรณี
ที่ทำการขนถายลงจากขบวนรถไฟที่มาจอดขนถายวัสดุอุปกรณลงที่บริเวณหนาสนามเทานั้น

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 86


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

รูปที่ 7 ภาพแสดงปายสัญญาณเตือนบนคันทางใหม

9. มาตรการความปลอดภัยสำหรับงานเปลี่ยนหมอนรางรถไฟในคันทางเดิม และในสะพาน
9.1 ปฏิบัติงานภายใตความปลอดภัยสำหรับการทำงานในชวงปดทาง (Window Time)
9.2 หากไมสามารถปฏิบัติตามขอ 9.1 ได ใหทำการปฏิบัติภายใตมาตรการความปลอดภัยตอไปนี้
- ประสานงานกับเจาหนาที่การรถไฟที่รับผิดชอบทางรถไฟตอนที่จะปฏิบัติงาน เพื่อแจงการทำงาน (ออกโทรเลข)
- จัดใหมีพนักงานดูแลความปลอดภัย 2 คน ที่บริเวณจุดเริ่มงานและจุดสิ้นสุดงาน ที่มีการทำงานเพื่อเตือนให
พนักงานที่ปฏิบัติงานทราบวา รถไฟกำลังจะมา ใหหยุดการปฏิบัติงานชั่วคราวและออกไปอยูนอกเขตโครงสรางรถไฟ (2.50
เมตร จากกี่งกลางทางรถไฟ) รอใหรถไฟผานไปกอนแลวคอยกลับเขาเริ่มปฏิบัติงานตอ
9.3 จัดใหมีการปกปายเตือน ปายเบาทาง 30 ก.ม./ช.ม. ตามขอกำหนดของการรถไฟ ทั้งสองทิศทางเดินรถ ครอบคลุม
บริเวณที่มีการเปลี่ยนหมอนรางรถไฟ จนกวาเจาหนาที่การรถไฟที่รับผิดชอบจะเห็นวาสภาพทางมั่นคงแข็งแรงดีแลว จึงทำการ
ปรับปายเบาทางเปน 50 ก.ม./ช.ม. หรือปลดปายออก
9.4 จัดใหมีและใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล ไดแก หมวกแข็งนิรภัย รองเทาหุมสน เสื้อกั๊กสะทอนแสง
และอุปกรณความปลอดภัยอื่นที่จำเปนและเหมาะกับสภาพงาน
9.5 จัดเก็บเศษวัสดุอุปกรณและเครื่องมือตางๆ ออกใหพนจากเขตโครงสรางรถไฟ (2.50เมตร จากกึ่งกลางทางรถไฟ) ทุก
ครั้งที่ไดรับสัญญาณเตือนจากพนักงานดูแลความปลอดภัย วารถไฟกำลังจะมา และเมื่อการปฏิบัติงานแลวเสร็จ

10. มาตรการความปลอดภัยในการติดตั้งรางระบายน้ำ (Manhole and U- ditch)


- มีพนักงานความปลอดภัย 1 คนประจำทุกจุดในการลงดินจากรถดัมพดิน เพื่อเตือนใหผูปฏิบัติทราบวารถไฟกำลังมา
- เครื่องจักรทุกชนิดที่ทำงานใกลรางเดิมตองหยุดทำงานขณะที่รถไฟกำลังจะมา
- ติดปายสัญญาณเตือน เชน ริ้วธงขาว – แดง หางจากศูนยกลางราว 2.50 เมตร ปายบอกความเร็วของรถ (60 กม./
ชม. บนคันทางใหม)
- งดทำงานตอนกลางคืนนอกจากอยูภายใตการดูแลของวิศวกรสนามและตองมีไฟสองสวาง
- หามยานพาหนะกลับรถบนคันทางใหมนอกจากจุดกลับ
รถซึ่งจะมีปายสัญญาณใหกลับรถและมีพนักงานความปลอดภัยใหสัญญาณ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 87


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

- รองระบายน้ำ (U- Ditch) จะติดตั้งหลังเสร็จชั้นรองพื้นทาง (Subgrade) จะตองหยุดการขุดดิน โดยเครื่องจักรหนัก


ขณะรถไฟกำลังวิ่งผาน
- ตอกเข็มพืด (Sheet Pile) ใหเรียบรอยกอนวางบอพักน้ำคอนกรีตหรือรางระบายน้ำคอนกรีต (Manhole and U-
Ditch) ที่ลึกกวา 600 มม.หรือสภาพดินคันทางไมมั่นคง เพื่อปองกันการพังทลายของดินคันทางหรือการเคลื่อนตัวของรางที่
อาจเกิดขึ้นไดในขณะขุดดิน
- บอพักน้ำและรางระบายน้ำคอนกรีตจะเปนแนวกั้นรถหรือพาหนะตาง ๆ ลวงล้ำเขาไปในทางรถไฟเดิม
- พื้นที่ที่ไมมีการทำงาน จะไมอนุญาตใหรถผานเขา-ออกและจะมีเครื่องกีดขวาง เชน กองดิน รั้วล็อคดวยกุญแจ เปน
ตน

รูปที่ 8 ภาพแสดงการติดตั้งรางระบายน้ำ ( Manhole and U-ditch )

11.มาตรการความปลอดภัยสำหรับเหตุการณฉุกเฉิน
11.1 ในกรณีที่เกิดเหตุกับผูปฏิบัติงาน ใหพนักงานดูแลความปลอดภัยรีบแจงเหตุตอหัวหนางานหรือเจาหนาที่ความ
ปลอดภัย หรือวิศวกรสนามโดยดวน เพื่อจะไดทำการสอบสวนหาสาเหตุและตนเหตุของการเกิดอุบัติเหตุนั้นๆและนำมา
ปรับปรุงแกไขวิธีการปฏิบัติงานและหาวิธีการปองกันเพื่อไมใหเกิดเหตุการณดังกลาวซ้ำขึ้นอีก
11.2 ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ และหรือเหตุสุดวิสัย อันกอใหเกิดผลกระทบตอการเดินรถของรถไฟบนทางเดิม ใหรีบแจง
เหตุการณและรายละเอียดตาง ๆ เชนจุดที่เกิดเหตุเกิดขึ้นในชวงใด ระหวางสถานีไหนกับสถานีไหน ชวงหลักกิโลเมตรหรือชวง
เสาโทรเลขที่เทาไร สิ่งที่กีดขวางการวิ่งของรถไฟบนทางเดิม หรือมีการทรุดตัวของดินคันทางเดิมซึ่งรถไฟไมสามารถวิ่งผานไป
ได ใหหัวหนางานหรือเจาหนาที่ความปลอดภัยหรือวิศวกรสนามทราบโดยเร็ว เพื่อจะไดทำการแจงตอนายสถานีเพื่อหยุดขบวน
รถไฟไวที่สถานีกอน และรีบ ดำเนินการขนยายสิ่งกีดขวางออกจากทางรถไฟ และปรับปรุงซอมแซมทางรถไฟ
11.3 ในกรณีที่เกิดเหตุและหรือเหตุสุดวิสัยที่พนักงานดูแลความปลอดภัยไมสามารถติดตอแจงเหตุการณตอหัวหนางาน
หรือเจาหนาที่ความปลอดภัย หรือวิศวกรสนามไดทัน ใหปฏิบัติดังนี้
- ใหสงพนักงานธงสัญญาณหรือพนักงานพรอมผาแดง ไปทั้งสองดานของจุดที่เกิดเหตุ ระยะทางไมนอยกวา 1,000
เมตร เพื่อใหสัญญาณกับพนักงานขับรถไฟทราบ วางทางรถไฟขางหนาไมสามารถผานไปได เนื่องจากมีสิ่งกีดขวางอยู ทาง
รถไฟทรุดตัว ดินคันทางลื่นไหล ฯลฯ โดยพนักงานธงสัญญาณหรือพนักงานที่ไปทำหนาที่ใหสัญญาณ จะตองแสดงทางสัญญาณ
ดังนี้

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


88
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

11.3.1 ทาสัญญาณ “หาม”


(1) เวลากลางวัน
ก. ถือธงแดงหรือผาสีแดง เหยียดแขนตรงออกไปเสมอระดับไหล อยูนิ่ง ๆ ใหไดแนวฉากกับทางรถไฟ ดังรูป หรือชูขึ้น
เหนือศีรษะแขนเหยียดตรง เพื่อใหผูรับสัญญาณเห็นไดอยางชัดเจน

ข.เมื่อไมมีธงแดง หรือ ผาสีแดง ใหเหยียดแขนทั้งสองขางชูขึ้นเหนือศีรษะและอยูนิ่ง ๆ ดังในรูป หรือถามีผาหรือธงสี


อื่น ๆ ที่ไมใชสีเขียว ใหโบกไปมาเร็ว ๆ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 89


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

(2) เวลากลางคืน
ก.ชูโคมไฟสีแดงเพื่อใหผูรับสัญญาณแลเห็นไดชัดเจน และอยูนิ่ง ดังในรูป

ข.เมื่อไมมีโคมไฟสีแดง ถามีโคมไฟสีอื่น ๆ ยกเวนสีเขียว ก็ใหแกวงโคมไฟไปมาโดยเร็วและถี่ ๆ


ขอสำคัญ : เมื่อแสดงสัญญาณในทา “หาม” แลว ไมใหแสดงสัญญาณเปลี่ยนเปนอยางอื่นโดยเด็ดขาด จนกวาขบวน
รถไฟจะหยุดนิ่ง
11.3.2 ทาสัญญาณ “ไปโดยระมัดระวัง”
(1)เวลากลางวัน
ก.ถือธงเขียวหรือผาสีเขียว เหยียดแขนตรงออกไปเสมอระดับไหลใหไดฉากกับทางรถไฟ และโบกขึ้น-ลง เปนจังหวะ
อยางชาๆ ดังในรูป

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


90
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ข.เมื่อไมมีธงเขียวหรือผาเขียว ใหเหยียดแขนตรงออกไปเสมอระดับไหลใหไดฉากกับทางรถไฟ และยกแขนขึ้น-ลง เปน


จังหวะชา ๆ ดังในรูป

(2)เวลากลางคืน
ก.ถือโคมไฟเขียว แขนแนบลำตัว ยกโคมขึ้น-ลง เปนจังหวะชา ๆ ดังในรูป

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 91


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

11.3.3 ทาสัญญาณ “อนุญาต”


(1) เวลากลางวัน
ก.ถือธงเขียวหรือผาเขียว เหยียดแขนตรงออกไปเสมอระดับไหล อยูนิ่ง ๆ ใหไดฉากกับทางรถไฟ ดังในรูป

ข. เมื่อไมมีธงเขียวหรือผาเขียว ใหเหยียดแขนตรงออกไปเสมอระดับไหล อยูนิ่ง ๆ และใหไดฉากกับทางรถไฟ ดังในรูป

(3) เวลากลางคืน
ก.ถือโคมไฟสีเขียวหรือแทงสะทอนแสง เหยียดแขนออกไปใหโคมไฟอยูที่ระดับหัวไหลและอยูนิ่ง ๆ ดังในรูป

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 92


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ขอควรระวังเกี่ยวกับการปฏิบัติงานบริเวณรางรถไฟ
- ผูที่ปฏิบัติงานบนรางรถไฟ ที่มีการใชงานอยูตลอดเวลาซึ่งเปนหนาที่ของผูปฏิบัติงานเอง ที่จะตองเตรียมพรอมตอ
การเคลื่อนไหวของรถไฟ และยานพาหนะที่ใชราง
- หามยืนบนรางที่ประชิดกัน ขณะปฏิบัติงานในบริเวณรางหลากหลายทางเพราะยานพาหนะอื่นอาจจะวิ่งมาบนรางที่
ผูปฏิบัติงานยืนอยูและอาจไมไดรับการปองกัน
- ใหพึงระวังเสมอวา รถไฟอาจเคลื่อนมาจากทิศทางใดทางหนึ่ง ชวงเวลาใด ๆ บนรางใด ๆ ก็ได อยายืนอยูหรือรีรอ
บนราง เวนแตผูปฏิบัติงานไดรับอนุญาตใหกระทำการดังกลาวได หากมีขอสงสัยสอบถามบุคคลที่รับผิดชอบ
- หามขึ้น-ลงจากเครื่องจักร หรือยานพาหนะ ขณะที่กำลังเคลื่อนที่ อยาปนปายหรือลอดใตรถไฟที่กำลังเคลื่อนไหว
- หากจำเปนตองขามรางรถไฟขณะใด ๆ ใหเหลียวดูทั้งสองดานดวยความระมัดระวัง พรอมทั้งฟงเสียง และออกจาก
บริเวณรางโดยเร็วที่สุดเทาที่สามารถ
- ควรกาวขามราง หามกาวบนราง เพราะดานบนของรางมักจะเปอนน้ำมันและลื่นอาจเปนอันตรายได
- กอนปฏิบัติงานบนรางรถไฟ ใหแนใจจะสามารถเคลื่อนยายไปทางใดทางหนึ่งไดบาง เมื่อจำเปนตองเคลื่อนยายใหพน
- ขนยายอุปกรณ เครื่องมือ และเครื่องจักร

ขอควรระวังเกี่ยวกับการจัดราง
เมื่อจัดรางรถไฟ จำเปนที่ตองใชเครื่องมือที่ถูกตอง และจัดทำโดยที่จะไมกอใหเกิดการบาดเจ็บ หรือทำใหเสียการทรง
ตัวอยางเฉียบพลัน
- เมื่อทำการพลิกราง ตองใชทอนเหล็กพลิกรางที่เหมาะสม ทอนเหล็กธรรมดาอาจทำใหติดขัด หรือทำใหรางลื่นไหล
- เมื่อจัดราง หามยืนครอมทอนเหล็ก ใหขาอยูในสภาพปลอดภัยโดยมีระยะหางพอสมควร เพื่อวาจะไมลม หากทอน
เหล็กลื่นไหล ยกทอนเหล็กดวยกำลังขา หลังตรง
- ตองทดสอบน้ำหนักดวยการลองดึง 2-3 ครั้ง เพื่อแนใจวารางเหล็กเขาอยูในที่อยางมั่นคง กอนใชแรงเต็มที่ในการ
กระทำตอราง
- เมื่อวัดรางในขณะที่อากาศรอน ใหเทาอยูในที่ปลอดภัยเพราะรางจะขยายตัวเมื่อรอน และอาจจะดีดตัวอยางแรงเมื่อ
ถูกปลดปลอย
- เมื่อจำเปน เพื่อการเคลื่อนยายอยางรวดเร็ว ใชแมแรงรางกับสวนนอกของรางเทานั้น หลังการยกขึ้นแลวใหเอาแม
แรงออก
- การดีดแมแรงออกเปนอันตราย จึงตองกระทำเฉพาะในกรณีฉุกเฉินเทานั้น

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 93


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 94


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


95
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 96


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


97
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


98
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 99


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ระยะหางของสายไฟฟาขามทางรถไฟ
ระยะหาง สายสงไฟฟาขามทางรถไฟซึ่งมีหรือไมมีสายโทรคมนาคม จะตองมีระยะหางในแนวดิ่งตามตาราง
ระยะหางนอยที่สุดในแนวดิ่ง (เมตร)
แรงดันของระบบไฟฟา
เหนือระดับสันราง เหนือสายโทรคมนาคม
1 Kv. หรือนอยกวา 7.00 1.20
11 Kv. 8.50 1.80
22 Kv. 9.00 1.80
33 Kv. 9.00 1.80
69 Kv. 9.50 2.50
115 Kv. 10.50 4.50
230 Kv. 11.50 5.20
(ตารางแสดง ระยะหางนอยที่สุดในแนวดิ่งสำหรับสายไฟฟาขามทางรถไฟ)

ตารางแสดง ระยะหางนอยที่สุดในแนวระดับสำหรับสายไฟฟา
ขามทางรถไฟ
ระยะหางนอยที่สุดระหวาง
ระยะหางนอยที่สุดระหวาง
แรงดันของระบบไฟฟา เสาไฟฟาและรางรถไฟ
เสาไฟฟาและเสาโทรคมนาคม (เมตร)
(เมตร)
1 Kv. หรือนอยกวา 2.00 X + 2.00
11 Kv. 2.00 X + 2.00
22 Kv. 2.00 X + 2.00
33 Kv. 2.00 X + 2.00
69 Kv. 4.00 X + 2.00
115 Kv. 10.00 X + 2.00
230 Kv. 15.00 X + 2.00
หมายเหตุ. (X) คือความสูงของเสาไฟฟาเหนือระดับพื้นดิน

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 100


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ระยะหางระหวางสายกับผูปฏิบัติงาน/เครื่องมือกลมาตรฐาน
ระยะหางที่ปลอดภัยของการทำงานใกลสายไฟฟาแรงสูงสำหรับบุคคล หรือผูปฏิบัติงานถึงอุปกรณหรือเครื่องมือทุกชนิด
เชน ปนจั่น รถเครน หรือวัตถุที่ถืออยูในมือจะตองอยูหางจากสวนที่มีไฟฟาแรงสูงไมนอยกวาระยะดังตอไปนี้
ขนาดแรงดันไฟฟา (โวลต) ระยะหางที่ปลอดภัย (เมตร)
12,000-69,000 3.05
115,000 3.20
230,000 3.90
หมายเหตุ หากบริเวณที่ตองการปฏิบัติงานมีระยะหางที่ต่ำกวามาตรฐานจะตองแจงใหการไฟฟานครหลวงดำเนินการหุมหรือ
คลุมสายกอนลงมือทำงาน

วิธีสังเกตุวาสายไฟฟาแรงสูงนั้นมีระดับแรงดันเทาใด ก็คือการนับจำนวนชั้นของลูกถวยที่ใชยึดจับสายไฟฟาอยูดังนี้
จำนวนชั้นของลูกถวยคว่ำ (ชั้น) แรงดันไฟฟา (โวลต)
2-3 12,000-24,000
4 69,000
7 115,000
14 230,000

การชวยเหลือผูประสบภัยจากไฟฟา
ผูที่จะชวยเหลือผูที่ประสบอันตรายจากไฟฟาตองรูจักวิธีทถี่ ูกตองในการชวยเหลือดังนี้
1. อยาใชมือเปลาแตะตองตัวผูที่ติดอยูกับกระแสไฟฟา หรือตัวนำที่เปนตนเหตุใหเกิดอันตรายเปนอันขาดเพื่อปองกัน
มิใหถูกกระแสไฟฟาจนไดรับอันตรายไปดวยอีกผูหนึ่ง
2. รีบหาทางตัดกระแสไฟฟาโดยฉับไว จะดวยการถอดปลั๊กหรืออาสวิตชออกก็ได
3. ใชวัตถุที่ไมเปนสื่อไฟฟา เชน ผา ไมแหง เชือกที่แหง สายยาง หรือพลาสติกที่แหงสนิท ถุงมือยาง หรือผาแหงพัน
มือใหหนาแลวถึงผลักหรือฉุดตัวผูประสบอันตรายใหหลุดออกมาโดยเร็ว เขี่ยสายไฟใหหลุดออกจากตัวผูประสบอันตราย
4. หากเปนสายไฟฟาแรงสูงใหพยายามหลีกเลี่ยง แลวรีบแจงการไฟฟานครหลวงใหเร็วที่สุด
อยาลงไปในน้ำกรณีที่มีกระแสไฟฟาอยูในบริเวณที่มีน้ำขังตองหาทางเขี่ยสายไฟฟาออกใหพนหรือตัดกระแสไฟฟากอน
จึงคอยไปชวยผูประสบอันตราย
" การชวยผูประสบอันตรายจากไฟฟาดังที่กลาวมาแลวจำเปนอยางยิ่งที่จ ะตองกระทำดวยความรวดเร็ว รอบคอบ และ
ระมัดระวังเปนพิเศษดวย "

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 101


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

การปฐมพยาบาล

เมื่อไดทำการชวยเหลือผูประสบอันตรายมาไดแลวจะดวยวิธีใดก็ตามหากปรากฏวาผูเคราะหรายที่ชวยออกมานั้นหมด
สติไมรูสึก ตัวหัวใจหยุดเตน และไมหายใจ ซึ่งสังเกตไดจากอาการที่เกิดขึ้นดังนี้ คือ ริมฝปากเขียว สีหนาซีดเขียวคล้ำ ทรวงอก
เคลื่อนไหวนอยมาก หรือไมเคลื่อนไหว ชีพจรบริเวณคอเตนชาและเบามาก ถาหัวใจหยุดเตนจะคลำชีพจรไมพบ มานตาขยาย
คางไมหดเล็กลง หมดสติไมรูสึกตัวตองรีบทำการปฐมพยาบาลทันที เพื่อใหปอดและหัวใจทำงาน โดยวิธีการผายปอดดวยการ
ใหลมทางปาก หรือที่เรียกวา “เปาปาก" รวมกับ การนวดหัวใจกอนนำผูปวยสงแพทย

CPR (Cardiopulmonary Resuscitation) คือ ปฏิบัติการชวยพื้นคืนชีพดวยวิธีการปมหัวใจ เปนการปฐมพยาบาลเพื่ อ


ชวยชีวิตแบบหนึ่งมีประโยชนในสถานการณฉุกเฉินที่ผูปวยหยุดหายใจกะทันหันหรือหัวใจหยุดทำงาน เชน หัวใจวาย จมน้ำ
หรือขาดออกซิเจน ซึ่งเปนภาระที่กอใหเกิดความเสียหายตอสมองอยางถาวรภายใน 4 นาที และอาจทำใหผูปวยเสียชีวิต
ภายในเวลา 8 - 10 นาที การปมหัวใจจึงอาจชวยยื้อเวลาและชวยฟนการทำงานของระบบไหลเวียนเลือดที่หยุดกะทันหัน ทำ
ใหหัวใจกลับมาเตนไดตามปกติ มีออกซิเจนหลอเลี้ยงสมองและอวัยวะสำคัญอื่น ๆ อีกครั้ง จนกวาจะไดรับการชวยเหลือทาง
การแพทย
เครื่องช็อกไฟฟาหัวใจอัตโนมัติ หรือ เออีดี :
(Automatic External Defibrillator: AED) เปนอุปกรณที่สามารถ “อาน” หรือ “วิเคราะห” คลื่นไฟฟาของผูปวยไดอยาง
แมนยำ
1669 คือ หมายเลขโทรศัพท บริการการแพทยฉุกเฉิน ที่ใหบริการนำสงผูปวยฉุกเฉินไปยังโรงพยาบาลใกลเคียง ตลอด 24
ชั่วโมง

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 102


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 103


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 104


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ความปลอดภัยในงานกอสรางในน้ำ
การกอสรางในน้ำ ถือเปนหนึ่งในงานกอสรางที่ยากพอสมควร ดวยสภาพพื้นเปนของเหลว ซึ่งหากพนักงานไมมี
มาตรการความปลอดภัยหรือไมเขาใจการทำงาน ยอมอาจเกิดอันตรายไดทุกเมื่อ ฉะนั้น ความปลอดภัยจึงเปนสิ่งสำคัญอันดับ
แรกในการทำงาน หัวหนางานตองประเมินสถานการณและตัดสินใจในแตละขั้นตอนใหไว
1.จัดอบรมใหพนักงานทราบถึงแผนการปฏิบัติงานทุกขั้นตอน
2.ตองสำรวจพื้นน้ำบริเวณที่จะทำการกอสรางใหละเอียด ทั้งความตื้นลึกของน้ำบริเวณตางๆ
3.จัดอบรมพนักงานในการชวยชีวิตทางน้ำหรือ CPR ในกรณีฉุกเฉิน
4.วางแผนปองกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นไดทุกเมื่อ
5.ทำการซอมแผนรับมือเมื่อเกิดอันตราย เพื่อจะไดทราบขั้นตอนการปฏิบัติอยางถูกวิธี
6.จุดไหนอันตรายตองมีปายเตือนหรือแถบกั้นอาณาเขต เพื่อปองกันไมใหผูที่ไมเกี่ยวของเขาไป
7.เตรียมทีมฉุกเฉินไวทุกเมื่อในการปฏิบัติงาน
8.ในการปฏิบัติงานตองสวมใสอุปกรณเซฟตี้ใหครบทุกชิ้น
9.จัดใหมีอุปกรณชวยชีวิตเตรียมไวเสมอ อันไดแก ชูชีพ เข็มขัดนิรภัย และอุปกรณอื่นๆที่จำเปนตองใชงาน
10.ในงานกอสรางยอมมีอุปกรณไฟฟา ซึ่งตองจัดเตรียมเปนอุปกรณไฟฟาแบบกันน้ำ เพื่อไมใหเกิดไฟดูดไฟช็อต
11.สะพานทางเดินบนน้ำหรือแครลอย ตองแข็งแรงที่จะรับน้ำหนักของพนักงานได
12.เมื่อเกิดภัยธรรมชาติ ไมวาจะเปนพายุฝนกระหน่ำ ตองยุติการทำงานโดยทันที
13.การทำงานในน้ำยอมตองทราบถึงน้ำขึ้นน้ำลงในแตละวันเพื่อจะไดปรับเปลี่ยนแผนการปฏิบัติงานไปตามถานการณ
14.การทำงานในเวลากลางคืน ควรมีแสงสวางจากไฟที่เพียงพอ และชุดหรืออุปกรณในการปฏิบัติงานควรที่จะเรือง
แสง

การปฐมพยาบาลการจมน้ำ
การชวยเหลือผูจมน้ำ ขณะจมใหเขาฝง
วิธีที่ 1 ใชวิธีดึงเขาหาฝงโดยการกอดไขวหนาอก
วิธีการนี้ผูชวยเหลือตองเขาดานหลังผูจมน้ำ ใชมือขางหนึ่งพาดบาไหลดานหลังไขวทแยงหนาอก จับขางลำตัวดานตรง
ขามผูจมน้ำ มืออีกขางใชวายเขาหาฝง ในขณะที่พยุงตัวผูจมน้ำเขาหาฝงตองใหใบหนา โดยเฉพาะปากและจมูกผูจมน้ำอยูพน
เหนือผิวน้ำ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 105


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

วิธีที่ 2 วิธีดึงเขาหาฝงดวยวิธจี ับคาง


วิธีนี้ผูชว ยเหลือเขาทางดานหลังของผูจมน้ำ ใชมือทั้ง 2 ขาง จับขากรรไกรทั้ง 2 ขางของผูจมน้ำ แลวใชเทาตีน้ำชวย
พยุงเขาหาฝง และพยายามใหใบหนาของผูจมน้ำลอยเหนือผิวน้ำ

วิธีที่ 3 วิธีดึงเขาหาฝงดวยวิธจี ับผม


ผูช วยเหลือเขาดานหลังผูจมน้ำ ใชมือขางหนึ่งจับผมผูจมน้ำไวใหแนน แลวใชมืออีกขางวายพยุงตัวเขาหาฝง โดยที่ปาก
และจมูกผูจมน้ำลอยเหนือผิวน้ำ วิธีเหมาะสำหรับผูที่ดิ้นมาก หรือ พยายามกอดรัดผูชวยเหลือ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 106


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

การปฐมพยาบาล
1. รีบตรวจสอบการหายใจและการเตนของหัวใจ ถาไมมีการหายใจหรือหัวใจไมเตน ใหชวยหายใจและกระตุนการเตนของ
หัวใจภายนอก (CPR)รายละเอียดจะกลาวในบทตอไป
2. ไมควรเสียเวลากับการพยายามเอาน้ำออกจากปอดหรือกระเพาะอาหารในระหวาง CPR อาจจะจัดใหผูจมน้ำนอนในทา
ศีรษะต่ำ ประมาณ 15 องศา ปลายเทาสูงเล็กนอย
2.1 กรณีมีน้ำในกระเพาะมาก ทำใหลำบากในการ CPR อาจตองเอาน้ำออกจากกระเพาะ โดยจัดใหนอนตะแคงตัว
แลวกดทองใหดันมาทางดานยอดอก น้ำก็จะออกจากกระเพาะอาหาร
2.2 ถาตองการเอาน้ำออกจากปอด อาจจัดใหนอนคว่ำตะแคงหนาไปดานใดดานหนึ่ง กมตัวลงใชมือทั้ง 2 ขางจับ
บริเวณชายโครงทั้งสองขางของผูจมน้ำยกขึ้นและลง น้ำจะออกจากปากและจมูก แตก็ไมควรเสียเวลากับสิ่งดังกลาวมาก
นัก
3. กรณีผูจมน้ำมีประวัติการจมน้ำเนื่ องจากการกระโดดน้ ำ หรือ เลนกระดานโตคลื่น การชวยเหลือตองระวังเรื ่ อง
กระดูกหัก โดยเฉพาะการเคลื่อนยายผูจมน้ำ โดยเมื่อนำผูจมน้ำถึงน้ำตื้นพอที่ผูชวยเหลือจะยืนไดสะดวกแลว ใหใชไม
กระดานแข็งสอดใตน้ำรองรับตัวผูจมน้ำ ใชผารัดตัวผูจมน้ำใหติดกับไมไว
4. ใหความอบอุนกับรางกายผูจมน้ำโดยใชผาคลุมตัวไว
5. นำสงโรงพยาบาลในกรณีอาการไมดี

ก. การใชไมกระดานรองรับตัว

ข. การรัดตัวกอนยกขึ้นจากน้ำ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


107
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

การใชงานถังดับเพลิง ( Fire Extinguisher )


องคประกอบของไฟ (Triangle of Fire)
เพลิงไฟเกิดจากองคประกอบซึ่งทำปฏิกิริยาตอเนื่องกันเปนลูกโซดังนี้

1. ออกซิเจน (Oxygen)
2. เชื้อเพลิง (Fuel) ตามาตรฐาน NFPA10 ที่มอก.ใชอางอิงอยูจะแบงเปน 5 ประเภทดังนี้
Class A เพลิงที่เกิดจากของแข็ง เชน ไม กระดาษ พลาสติก ยาง
Class B เพลิงที่เกิดจากของเหลวติดไฟ เชน น้ำมัน กาซ ทินเนอร หรือสารทำละลายตางๆ
Class C เพลิงที่เกิดจากไฟฟาหรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกส ไฟฟาลัดวงจร
Class D เพลิงที่เกิดจากโลหะติดไฟ โดยทั่วไปจะพบไดนอยมาก เชนกลุมโลหะอัลคาไลหรือ ธาตุกลุมที่4ในตารางธาตุ
เชน ไททาเนียม (Ti) เซอรโคเนียม (Zr)
Class K เพลิงที่เกิดจากน้ำมันที่ใชในการประกอบอาหาร โดยปกติแลวหมวดนี้จะอยูรวมกับClass B แตเนื่องจาก
ตัวเชื้อเพลิงทำใหเกิดไฟที่รุนแรงกวาจึงเห็นสมควรแยกประเภทออกมาเปน Class K เชน น้ำมันพืช น้ำมันสัตว เครื่องดับเพลิง
Water Mist หรือ โฟม AFFF เหมาะสำหรับใชกับเพลิงชนิดนี้
3. ความรอน (Heat)

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 108


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 109


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 110


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 111


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ระยะการเกิดเพลิงไฟ แบงออกเปน 3 ระยะ


1. ขั้นตน คือ ตั้งแตเห็นเปลวไฟจนถึง 4 นาที สามารถดับไดเองเบื้องตนโดยใชถังดับเพลิง
2. ขั้นปานกลาง คือ ระยะเวลาชวง 4 - 8 นาที อุณหภูมิจะสูงมากเกินกวา 400 องศาเซลเซียส หากจะใชเครื่อง
ดับเพลิง ตองมีความชำนาญและต องมีอุป กรณ จำนวนเพียงพอจึงควรใชร ะบบดับเพลิงขั ้นสู ง จะมีความปลอดภัย และ
ประสิทธิภาพที่มากกวา
3. ขั้นรุนแรง คือ ระยะเวลาเพลิงไหมตอเนื่องไปแลว เกิน 8 นาที และยังคงมีเชื้อเพลิงอีกมาก อุณหภูมิสูงมากกวา
600 องศาเซลเซียสไฟจะลุกลามและขยายตัวไปทุกทิศทางอยางรุนแรงและรวดเร็วการดับเพลิงตองใชผูที่ไดรับการฝกอบรม
พรอมอุปกรณในการระงับเหตุขั้นรุนแรง

การติดตั้งถังดับเพลิง
สำหรับเครื่องดับเพลิงขนาดเบาที่มีน้ำหนักรวมไปเกิน 10 กก. (5 ปอนด 10 ปอนด 15 ปอนด) ใหติดตั้งสูงจากพื้น โดยวัด
จากสวนที่สูงที่สุดของเครื่องดับเพลิง ตองไมเกิน 150 ซม.
สำหรับเครื่องดับเพลิงที่มีน้ำหนักมากกวา 10 กก. (20 ปอนด 50 ปอนด 100 ปอนด) ใหติดตั้งสูงจากพื้นไมเกิน 90 ซม.
พรอมติดตั้งปายที่ตำแหนงเครื่องดับเพลิงเพื่อใหสามารถมองเห็นไดชัดเจน

วิธีใชงานเครื่องดับเพลิง
'ดึง ปลด กด สาย' 4 ขั้นตอนงายๆที่จะชวยใหคุณสามารถใชถังดับเพลิงไดอยางถูกวิธีในสถานการณที่จำเปน

ดึง - จัดวางเครื่องดับเพลิงใหฉลากหันหนาเขาหาลำตัวในดานที่ผูใชถนัด จากนั้นใชนิ้วหัวแมมือแตะที่คันบีบดานบน


โดยที่นิ้วทั้งสี่ที่เหลือจับใตคันบีบดานลาง หิ้วเครื่องดับเพลิงไปยังตำแหนงของกองเพลิงโดยยืนหางจากกองเพลิงประมาณ 3-4
เมตร โดยเขาทางเหนือทิศทางลมจากนั้นจึงทำการดึงสลักนิรภัยออก
ปลด - ปลดปลายสายออกจากตัวถัง เล็งไปยังบริเวณฐานเชื้อเพลิง โดยจับปลายสายใหแนนอยาใหหลุดมือ
กด - เล็งสายที่กองเพลิงและกดคันบีบ ควรกดใหสุดคันบีบเพื่อใหเคมีออกมาไดอยางเต็มที่และตอเนื่อง
สาย - สายปลายสายไปมา เพื่อใหผงเคมีครอบคลุมทั่วกองเพลิง ยอตัวลงเล็กนอยเพื่อหลบควันไฟและความรอน ฉีด
จากใกลไปไกลและควรเขาสูเปาหมายดวยความระมัดระวัง เมื่อแนใจวาไฟดับสนิทแลวจึงถอยออกจากจุดเกิดเหตุ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 112


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

การบำรุงรักษาเครือ่ งดับเพลิง
เครื่องดับเพลิงเปนอุปกรณที่สำคัญตอชีวิตและทรัพยสินเปนอยางยิ่ง จึงควรบำรุงรักษาเพื่อใหอยูในสภาพพรอมใชงานตอ
เหตุไมคาดคิดไดอยางเต็มประสิทธิภาพอยูเสมอ
สถานที่ติดตั้ง
- หลีกเลี่ยงการติดตั้งไวในที่ที่มีอุณหภูมิสูง มีความชื้นสูง หรือเกิดความสกปรกไดงาย เชน ตากแดด ตากฝน หรือติดตั้ง
ใกลจุดกำเนิดความรอนตางๆ เชน เตาไฟ หรือเครื่องจักรที่มีความรอนสูง
การบำรุงรักษา
- ทำความสะอาดตัวถัง และอุปกรณ (สายฉีด, หัวฉีด) เปนประจำเพื่อตรวจดูสภาพตัวถังและอุปกรณอยูในสภาพพรอม
ใชงาน และมีสภาพใหมอยูเสมอ
- หากเปนเครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแหง ควรยกถังพลิกคว่ำ-หงาย ประมาณ 5-6 ครั้ง ทุกๆ 3-6 เดือน เพื่อใหผงเคมีมี
การเคลื่อนตัวและไมจับตัวเปนกอน
- เครื่องดับเพลิงที่มีอายุเกิน 5 ปขึ้นไป ควรสงมาตรวจสอบที่บริษัทเพื่อตรวจเช็คสภาพของตัวเครื่องและทำการถายเคมี
ออกและบรรจุใหม
การตรวจสอบแรงดันภายในเครื่องดับเพลิง

1.แรงดันปกติ (195 psi): เข็มอยูในแนวตั้ง 90ºC ที่แรงดันปกติ195 psi หรือในพื้นที่สีเขียวแสดงวาอยูใน สภาพพรอม


ใช
2.แรงดันตํ่า (RECHARGE): เข็มเอียงไปทางดานซายมือนอกพื้นที่สีเขียว หรือต่ำกวาแรงดันปกติ 195 psi แสดงวา
แรงดันภายในถังต่ำกวาปกติอยูในสภาพไมพรอมใชงาน ควรติดตอบริษัททันทีเพื่อทำการอัด ฉีดแรงดันใหม
3.แรงดันเกิน (OVERCHARGE): เข็มเอียงไปทางดานขาวมือนอกพื้นที่สีเขียว หรือสูงกวาแรงดันปกติ 195 psi แสดงวา
แรงดันภายในถังสูงกวาปกติสภาพถังอาจจะบวมหรือแตกออกหากแรงดันขึ้นสูงเกิน 1000 psi อาจทำใหเกิดอันตรายเนื่องจาก
ถังอาจระเบิดได!!! ควรติดตอบริษัทใหดำเนินการแกไขโดยดวน หมายเหตุ: เครื่องดับเพลิงชนิดCO2 จะไมมีมาตรวัดแรงดัน ผูใช
สามารถตรวจวัดแกสภายในถังไดโดย วิธีชั่งน้ำหนัก หากน้ำหนักแกสภายในถังลดลงต่ำกวา 80 % ควรติดตอบริษัทเพื่อทำการ
ดำเนินการบรรจุใหมในทันที

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 113


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ปายสัญลักษณความปลอดภัย

สิ่งแวดลอม (Environment)
1. เมื่อเริ่มมีการกอสราง ผูรับจางจะตองจัดเตรียมมาตรการควบคุมคุณภาพสภาพแวดลอมเสนอตอเจาของโครงการ หรือที่
ปรึกษาโครงการ เพื่อขออนุมัติ
2. รถทุกคันที่ใชในการกอสรางกอนออกจากหนวยงาน จะตองถูกทำความสะอาดและไมเปนเหตุใหสิ่งสกปรกหลุด ไปยังที่
สาธารณะ จะตองจัดสิ่งอำนวยความสะดวกในการลางลอ เพื่อแนใจวารถทุกคันที่ออกนอกหนวยงานสะอาดเพียงพอ
3. รถทุกคันจะตองปฏิบัติตามระเบียบของหนวยงานราชการในเรื่องความปลอดภัย และปองกันสิ่งแวดลอม จะตองไมมีรถที่ต่ำ
กวามาตรฐานใชภายในหนวยงาน
4. รถขนขยะหรือเศษวัสดุเหลือใช ที่ออกนอกหนวยงานจะตองมีการปดคลุมปองกันผลกระทบกับสาธารณะในระหวางการ
ขนสง
5. ผูรับจางหลักจะตองปฏิบัติใหมั่นใจวาในระหวางการกอสรางจะไมมีฝุนฟุงกระจายไปภายนอกหนวยงาน
6. น้ำเสียจะตองถูกบำบัดภายในหนวยงาน ตามมาตรฐานของหนวยราชการ
7. ทอหรือทางระบายน้ำจากชุมชนที่ผานทางเขา - ออก พื้นที่โครงการ ตองไดรับการดูแลระมัดระวังไมใหมีสิ่งกีดขวาง หรือปด
กั้นทางน้ำ
8. จะตองปองกันเสียงที่เกิดขึ้นจากการกอสราง ใหเกิดขึ้นนอยที่สุดโดยไมกระทบตอสาธารณะ
9. แรงสั่นสะเทือนเนื่องจากการปฏิบัติการกอสรางที่ไปถึงบริเวณชุมชนอาจเปนการรบกวนหรือทำความเสียหายแก อาคาร
บานเรือน ตองรีบแจงผูบริหารโครงการทราบเพื่อรีบสั่งการแกไขทันที
10. การรองเรียนของสาธารณะชน และเพื่อนบานจะตองดำเนินการแกไขทันที และจัดทำรายงานการแกไขเหตุการณที่
เกิดขึ้นทุกครั้งที่มีการรองเรียนและบันทึกไว
11. บันทึก การตักเตือน จากเจาหนาที่ของหนวยราชการจะตองปฏิบัติโดยทันทีและเครงครัด

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 114


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ขอบังคับและระเบียบการเดินรถ พ.ศ. 2549 (ขดร.2549)


แบบเขตบรรทุก และ เขตโครงสรางตามขอ 140
และรูปแสดงวิธีปกปายสัญญาณตามขอ 36

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


115
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 116


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 117


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 118


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 119


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 120


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 121


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 122


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 123


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 124


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ขอบังคับและระเบียบการเดินรถ พ.ศ. 2549 (ขดร.2549)


แบบ
เครื่องกั้นถนนผานเสมอระดับทาง
ตามขอ 259

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 125


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 126


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 127


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 128


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 129


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 130


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 131


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 132


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 133


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

เครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานกอสราง
1.มาตรการเพิ่มเติมเพื่อความปลอดภัย
 ควรจัดใหมีพื้นที่ขางทางที่กวางเพียงพอและไมลาดชัน เพื่อชวยเหลือรถที่เสียการทรงตัวใหสามารถหลบขางทางได
อยางปลอดภัย
 การแบงชองจราจรในระหวางงานกอสรางควรใชอุปกรณที่ไมทำใหเกิดความเสียหายรุนแรงเมื่อเกิดการชน
 เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณที่ใชในการกอสราง กองเศษวัสดุ รถยนตของสวนตัวของผูปฏิบัติงาน ควรจัดเก็บอยางเปน
ระเบียบ โดยไมใหไปกีดขวางการจราจรรวมถึงพื้นที่สำหรับหลบขางทางดวย

2.การแบงลักษณะพื้นที่ในบริเวณกอสราง (Components of Work Zone)


การติดตั้งเครื่องหมายจราจรในบริเวณพื้นที่กอสราง คือ การทำใหผูใชรถใชถนนไดรับรูถึงสภาพการเปลี่ยนแปลง
บริเวณของถนนเนื่องจากการกอสรางหรือเหตุอื่น ๆ โดยทั่วไปพื้นที่กอสรางสามารถแสดงไดดวยปายจราจร เครื่องหมายจราจร
บนพื้นทาง และอุปกรณแบงชองจราจรอื่น ๆโดยเริ่มจากปายเตือนเขตกอสราง ปายแรกไปจนถึงปายสิ้นสุดการกอสราง
การใชเครื่องหมายจราจรจะมีความแตกตางกันไป ตามในแตละสวนของพื้นที่กอสราง การทำความเขาใจสวนตาง ๆ ของพื้นที่
กอสรางจะทำใหสามารถเลือกใชเครื่องหมายจราจรไดเหมาะสมกับพื้นที่นั้น ๆ พื้นที่บริเวณกอสรางสามารถแบงออกไดเปน 4
สวน ไดแก
• พื้นที่การเตือนลวงหนา (Advanced Warning Area)
• พื้นที่ชวงการเปลี่ยนแปลง (Transition Area)
• พื้นที่ปฏิบัติงาน (Activity Area)
• พื้นที่ชวงสิ้นสุดการกอสราง (Termination Area)
2.1 พื้นที่การเตือนลวงหนา (Advanced Warning Area)
พื้นที่การเตือนลวงหนาถือเปนสิ่งที่จำเปนและมีผลตอการเกิดอุบัติเหตุการกอสรางหรือบำรุงรักษาไมวาจะมี
ขนาดใหญหรือเล็กก็ตาม ผูใชรถใชถนนควรไดรับการเตือนลวงหนากอนถึงบริเวณพื้นที่กอสราง หรือเหตุผิดปกติ
ขางหนา การติดตั้งเครื่องหมายจราจรเพื่อเตือนผูใชรถใชถนนสามารถติดตั้งไดตั้งแตปายจราจรปายเดียวหรือไฟเตือน
บนทายรถไปจนถึงกลุมของปาย โดยติดตั้งลวงหนากอนถึงพื้นที่ปฏิบัติงานระยะการติดตั้งปายเตือนลวงหน าจะ
แปรเปลี่ยนไปตามความเร็ว เชนการติดตั้งบนทางหลวงมาตรฐานสูงหรือทางหลวงพิเศษที่รถใชความเร็วสูง ระยะการ
เตือนลวงหนายอมมากกวาถนนในเมืองที่ใชความเร็วต่ำเพื่อใหผูขับขี่มีระยะเพียงพอสำหรับเปลี่ยนแปลงความเร็ว การ
เบี่ยงชองจราจรและการอานปาย

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 134


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ตารางแสดงระยะระหวางปายเตือนลวงหนา

หมายเหตุ ระยะ “ก” หมายถึง ระยะการติดตั้งปายชุดที่หนึ่ง นับถัดจากระยะเบี่ยงชวงไหลทาง


ระยะ “ข” หมายถึง ระยะการติดตั้งปายชุดที่สองนับถัดจากตำแหนงติดตั้งปายชุดที่หนึ่ง
ระยะ “ค” หมายถึง ระยะการติดตั้งปายชุดที่สามนับถัดจากตำแหนงติดตั้งปายชุดที่สอง

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม 135
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

2.2 พื้นที่ชวงการเปลี่ยนแปลง (Transition Area)


พื้นที่ชวงการเปลี่ยนแปลง คือ ชวงของถนนที่มีการเปลี่ยนแปลงจากชวงปกติไปสูชวงพื้นที่ปฏิบัติงาน การ
ควบคุมการจราจรในชวงนี้ จะควบคุมดวยการตีเสนหรือการใชอุปกรณจราจรอื่น ๆ เชน กรวยยาง แผงกั้นซึ่งเปนสิ่งที่
จำเปนในดานความปลอดภัยและประสิทธิภาพในการจราจรโดยทั่วไประยะทางของชวงการเปลี่ยนแปลง มักจะ
เกีย่ วของกับระยะการเบี่ยงการจราจร (Taper) เพื่อนำผูใชรถใชถนนเปลี่ยนชองจราจรอยางปลอดภัย

2.3 พื้นที่ปฏิบัติงาน (Activity Area)


พื้นที่ปฏิบัติงาน จะแบงออกเปน 2 สวน คือ
- พื้นที่กันชน (Buffer Space) คือ พื้นที่วางระหวางพื้นที่ปฏิบัติงานกับพื้นที่การจราจร เพื่อปองกัน
อันตรายจากอุบัติเหตุ ในกรณีที่มีพื้นที่เพียงพอควรจัดใหมีพื้นที่กันชนทั้งตามยาว (Longitudinal
Buffer Space) และตามขวาง (Lateral Buffer Space) โดยพิจารณาจากทิศทางการจราจรเปน
หลัก
- พื้นที่กอสราง (Work Space) คือ ชวงของถนนที่มีการกอสรางโดยรวมทั้งพื้นที่ทำงานกอสร าง
ทางเดินสำหรับผูปฏิบัติงาน พื้นที่ใชงานจราจร โดยมีการกันพื้นที่ถนนจากผูใชรถใชถนนมาให
คนงาน ทำงาน วางเครื่องมือและวัสดุพื้นที่ปฏิบัติงานทั้งแบบอยูกับที่หรือแบบเคลื่อนที่ได ขึ้นกับ
ลักษณะของงานกอสรางหรืองานบำรุงรักษานั้น ๆ ในงานกอสรางที่มีพื้นที่ปฏิบัติงานระยะทางยาว
มาก ๆ หรือมีการทำงานเปนชวง ๆ ควรมีการติดตั้งปายแสดงเขตการทำงานเปนระยะเพื่อใหขอมูล
และลดความสับสนของผูใชรถใชถนน

2.4 พื้นที่ชวงสิ้นสุดการกอสราง (Termination Area)


พื้นที่ชวงสิ้นสุดการกอสราง คือ ชวงของการคืนพื้นที่ถนนปกติใหกับผูใชรถใชถนน โดยมีระยะตั้งแตจุดสิ้นสุด
การกอสรางไปจนถึงปายสิ้นสุดการกอสราง หลังปายสิ้นสุดการกอสรางควรติดตั้งเครื่องหมายจราจรตาง ๆ เชน ปาย
กำหนดความเร็ว เพื่อใหผูใชรถใชถนนไดรับรูถึงการกลับสูการใชงานปกติของถนน
ในชวงสิ้นสุดการกอสรางสามารถจัดใหมีระยะการเบี่ยงจราจร (Taper) เพื่อผูใชรถใชถนนเปลี่ยนชองจราจร
กลับสูสภาพการจราจรปกติ โดยทั่วไปการเบี่ยงการจราจรในชวงสิ้นสุดการกอสรางจะมีระยะทางประมาณ30 ม. ตอ
การเบี่ยง 1 ชองจราจร

3.ระยะการเบี่ยง (Taper)
สวนสำคัญที่สุดสวนหนึ่งของการใชอุปกรณควบคุมการจราจรในงานกอสราง คือ การใชเครื่องจัดชองจราจร
สำหรับเบี่ยงเบนแนวจราจรไปจากเดิมเมื่อมีการปดชองจราจรขางหนาเพื่องานกอสราง

3.1 ระยะสอบเขา (Taper length) สำหรับงานกอสราง


การเบี่ยงชองจราจรมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูขับขี่มีระยะเพียงพอในการเปลี่ยนชองจราจรหรือทางเดินรถ ใน
เขตกอสราง ทั้งในสวนพื้นที่ชวงการเปลี่ยนแปลงและพื้นที่ชวงสิ้นสุดการกอสราง ระยะการเบี่ยงชองจราจรจะขึ้นอยู
กับความเร็วและประเภทของสถานที่ เชน ถามีการกอสรางใกลทางโคงระยะการเบี่ยงชองจราจรจะถูกขยายออกไปจน
พนเขตทางโคงการเบี่ยงชองจราจรสามารถทำไดดวยการใชอุปกรณในการแบงชองจราจรเชน กรวยยาง แผงตั้งหรือ
แผงกั้นจราจร ชนิดของการเบี่ยงชองจราจรสามารถจำแนกไดดังนี้

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


136
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

• สอบเขาเพื่อรวมการจราจร (Merging Taper)


• สอบเขาเพื่อเบี่ยงการจราจร (Shifting Taper)
• สอบเขาบริเวณไหลทาง (Shoulder Taper)
• สอบเขาบริเวณรถวิ่งสวนกันบน 1 ชองจราจร (One-lane, Two-way Traffic Taper)
• สอบเขาบริเวณสิ้นสุดงานกอสราง (Downstream Taper)
ตารางแสดงชนิดของการสอบเขาและระยะสอบเขา

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 137


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

3.2 การลดชองจราจรของทางที่มีรถวิ่งไปในทิศทางเดียวกันหลายชองจราจร
การเบี่ยงเบนแนวจราจร โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมีการลดความกวางของผิวทาง จำเปนตองจัดระยะที่สอบเขา
(Taper) ใหเพียงพอ มิฉะนั้นจะทำใหการจราจรไมสะดวกติดขัด และเกิดอุบัติเหตุไดงาย ระยะที่สอบเขาควรยาวไม
นอยกวาระยะที่กำหนด อยางไรก็ตามการกำหนดระยะที่สอบเขาจะตองคำนึงถึงความลาดชันและโคงดวยในทาง
ปฏิบัติเมื่อจัดระยะและตั้งเครื่องจัดชองจราจรแลว ควรสังเกตการจราจรวาระยะที่จัดไวเพียงพอหรือไม ถาเห็นวาไม
เพียงพอ เชน มีการหามลออยางแรง ก็ใหเพิ่มระยะทางขึ้น ในงานกอสราง โดยมากมักจะตองตั้งอุปกรณชองจราจรไว
นานวัน เครื่องควบคุมการจราจรเหลานั้นมักจะมีการเคลื่อนยาย ดังนั้นควรหมั่นตรวจดูความเรียบรอยดวย และควร
ทำเครื ่ องหมายแสดงตำแหน งที ่ ตั ้ งเครื ่ องจัดช อ งจราจรไว เพื่อที่จ ะไดจ ัดเขาสูตำแหนง เดิ มไดส ะดวกรวดเร็ ว
เครื่องหมายดังกลาวยังมีประโยชนสำหรับงานที่ทำเฉพาะกลางวันที่มีการยายเครื่องควบคุมการจราจรออกในเวลา
กลางคืน และตั้งใหมในเวลากลางวันอุปกรณชองจราจรที่ใชอาจเปนกรวยทุกระยะ 10 ม. หรือแผงกั้น หรือใชปาย
เตือนแนวทางไปทางซาย (ตก.25) หรือปายเตือนแนวทางไปทางขวา(ตก.26) ติดตั้งบนขาตั้ง โดยใหเริ่มตั้งที ่ขอบ
ทางเขามาทีละ 50-60 ซม.ระยะหางกันไมควรเกิน 30 ม.

การลดชองจราจรตั้งแต 2 ชองจราจรขึ้นไป ใหทำการลดทีละชอง โดยเมื่อเบี่ยงเบนเขาสูชองจราจรที่ 2 ให


คงความกวางชองจราจรที่ 2 ไวกอนเปนระยะทางครึ่งหนึ่งของระยะสอบเขา แลวจึงเบี่ยงลดชองจราจรที่ 2 โดยใช
ระยะเทากับครึ่งหนึ่งของระยะสอบเขาเชนเดียวกัน การลดชองจราจรดังกลาวตองติดตั้งไฟกระพริบสีเหลือง
ประกอบดวย โดยใหอยูประมาณกึ่งกลางชองจราจรหลังแนวเบี่ยงเบนวิธีการลดชองจราจรดังกลาวขางตนยังสามารถ
นำไปใชกับกรณีฉุกเฉิน อุบัติเหตุ การตั้งดานตรวจตาง ๆ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 138


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

4.ระยะกันชน (Buffer Space)


ระยะกันชนคือ ระยะหางระหวางพื้นที่ปฏิบัติงานกับพื้นที่จราจรมีไวเพื่อปองกันอันตรายจากอุบัติเหตุใหกับ
ผูปฏิบัติงานและผูขับขี่ที่อาจเสียหลักเขามาชนกับผูปฏิบัติงานหรือกองวัสดุ ในกรณีที่มีพื้นที่เพียงพอควรจัดใหมีพื้นที่กันชนทั้ง
ตามแนวยาว (Longitudinal Buffer Space)และตามขวาง (Lateral Buffer Space) โดยพิจารณาจากทิศทางการจราจรเปน
หลัก ระยะกันชนตามยาวจะพิจารณาโดยใชระยะหยุดเปนเกณฑซึ่งก็จะขึ้นอยูกับความเร็วจากัด ดังแสดงในตาราง

ตารางแสดงระยะกันชนตามยาว

สำหรับระยะกันชนตามขวางใหวิศวกรพิจารณาตามความเหมาะสมโดยพิจารณาจากชนิดของอุปกรณกั้นแนวกอสราง
วามีความปลอดภัยในระดับใด

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 139


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

การติดตั้งปายจราจรในงานกอสราง

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 140


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

การติดตั้งปายในงานกอสราง สำหรับ 2 ชองจราจร

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 141


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

การติดตั้งปายในงานกอสราง สำหรับทางหลายชองจราจร

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 142


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ตัวอยางอุปกรณควบคุมการจราจร เพื่อบอกเสนทางชั่วคราว เมื่อทางขาดเนื่องจากภัยธรรมชาติ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 143


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

ตารางแสดงปายจราจรในแตละพื้นที่กอสราง

81

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 144


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

กฎหมายและขอกำหนดตางๆที่เกี่ยวของ
สำหรับกฎหมายที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยที่ กิจการรวมคาเอเอส - ช.ทวี แอนด แอสโซซิเอทส ตองยึดถือและปฎิบัติตาม
อยางเครงครัด มีดังนี้
1.พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน พ.ศ.2554
2.พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541
3.พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่4) พ.ศ.2553
4.พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่6) พ.ศ.2560
5.กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ และดำเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดลอมในการทำงาน เกี่ยวกับความรอน แสงสวาง และเสียง พ.ศ.2555
6.กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดลอมในการทำงาน เกี่ยวกับการปองกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ.2555
7.กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดลอมในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ.2547
8.กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดลอมในการทำงานเกี่ยวกับรังสีชนิดกอไอออน พ.ศ.2547
9.กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑและวิธีการตรวจสุขภาพของลูกจางและสงผลการตรวจแกพนักงานตรวจแรงงาน
10.กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดลอมในการทำงานเกี่ยวกับงานประดาน้ำ พ.ศ.2548
11.กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมใน
การทำงาน พ.ศ.2549
12.กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดลอมใน
การทำงาน เกี่ยวกับความรอน แสงสวาง และเสียง พ.ศ.2549
13.กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดลอมใน
การทำงาน เกี่ยวกับงานกอสราง พ.ศ.2551
14.กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดลอมใน
การทำงาน (ฉบับที่2) พ.ศ.2553
15.ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่องกำหนดมาตรฐานอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล
พ.ศ.2554
16.ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง สัญลักษณ เตือนอันตราย เครื่องหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน และขอความแสดงสิทธิและหนาที่ของนายจางและลูกจาง พ.ศ.2554
17.ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการฝกอบรมผูบริหาร หัวหนา
งาน และลูกจาง ดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน ลงวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2555
18.ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการฝกอบรมความปลอดดภัยใน
การทำงานเกี่ยวกับไฟฟา สำหรับลูกจางปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟา ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2558
19.ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข การจัดทำบันทึก ผลการ
ตรวจสอบและรับรองระบบไฟฟาและบริภัณฑไฟฟา ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2558

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 145


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

20.ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการฝกอบรมความปลอดภัยใน


การทำงานเกี่ยวกับไฟฟา สำหรับลูกจางปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟา (ฉบับที่2) ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2558
21.ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง กำหนมาตรฐานอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล พ.ศ.
2554
22.ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่องกำหนดสารเคมีอันตรายที่ใหนายจางจัดใหมีการตรวจสุขภาพของลูกจาง พ.ศ.
2552
23.ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่องหลักเกณฑ วิธีการ และหลักสูตรการฝกอบรมความปลอดภัยใน
การทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ.2549
24.ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่องหลักเกณฑ วิธีการ การใชเชือก ลวดสลิง และรอก พ.ศ.2553
25.ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่องหลักเกณฑ วิธีการ ฝกอบรมเจาหนาที่ความปลอดภัยในการ
ทำงาน (ฉบับที่2) พ.ศ.2553
26.ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่องชนิดและประเภทเครื่องจักรและอุปกรณที่ใชในการทำงาน
กอสรางที่ตองตรวจรับรองประจำป พ.ศ. 2554
27.กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินงานดานความปลอดภัยอาชีวอนามัย และ
สภาพแวดลอมในการทำงานเกี่ยวกับงานกอสราง พ.ศ. 2564
28.กฎกระทรวง การจัดใหมีเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร หนวยงาน หรือคณะบุคคลเพื่อ
ดำเนินการดานความปลอดภัย ในสถานประกอบกิจการ พ.ศ.2565

หมายเหตุ: กฎหมายและขอกำหนดตางๆที่เกี่ยวของ จะมีการตรวจสอบและประเมินความสอดคลองเปนประจำเพื่อใหขอมูล


เปนปจจุบันอยูเสมอ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 146


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

หมายเลขโทรศัพท

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 147


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 148


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

เอกสาร
(ขึ้นทะเบียน จป. )

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 149


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 150


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 151


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 152


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 153


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 154


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 155


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 156


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 157


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 158


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แบบฟอรมเอกสาร
(Check list)

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 159


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 160


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

160

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


161
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 162


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 163


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 164


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 165


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 166


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 167


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 168


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 169


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 170


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 171


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 172


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 173


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 174


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 175


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 176


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 177


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 178


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 179


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 180


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 181


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 182


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 183


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 184


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 185


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 186


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


187
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 188


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 189


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 190


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 191


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 192


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 193


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 194


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 195


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 196


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 197


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 198


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


199
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 200


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 201


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 202


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 203


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 204


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แบบฟอรมเอกสาร
(Permit to Work)

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 205


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


206
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 207


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 208


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 209


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 210


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 211


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 212


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


213
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


214
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ


215
โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 216


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แบบฟอรมรายงานอุบัติเหตุ

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 217


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 218


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก
โครงการก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร–นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านไผ่-หนองพอก

แผนงานความปลอดภัยสํ าหรับงานก่ อสร้ างทางรถไฟ 219


โครงการก่อสร้ างทางรถไฟ สายบ้ านไผ่ -มหาสารคาม-ร้ อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
สัญญาที่ 1 ช่ วงบ้ านไผ่ -หนองพอก

You might also like