Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559

สิทธิมนุษยชนและองค์การสหประชาชาติ: การเหยียดสีผิวในสหรัฐอเมริกา ทศวรรษที่


1960
นวพร อุทัยศรี 1

บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทขององค์การสหประชาชาติต่อกรณีปัญหาสิทธิมนุษยชน
และการแก้ไขปัญหาการเหยียดสีผิวที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา ช่วงทศวรรษที่ 1960 โดยศึ ก ษาจากข้ อ มู ล
เอกสารชั้นต้นและเอกสารชั้นรอง ผลการวิจัยพบว่าบทบาทในการเรียกร้องสิทธิมนุษยชนในสหรัฐอเมริกา
ที่ได้รับผลสาเร็จ มาจากนักเคลื่อนไหวจากองค์กรเพื่อสิทธิมนุษยชนภายในประเทศมากกว่านอกประเทศ
และ นอกจากนีอ้ งค์การสหประชาชาติไม่สามารถเข้าทางานแก้ไขปัญหาได้โดยตรงในสหรัฐอเมริกา จึงเน้น
การมีบทบาทต่อปัญหาการเหยียดสี ผิว ด้วยการสนับสนุนโดยการให้ ความรู้ความเข้าใจแก่องค์กรสิทธิ
มนุษย์ภายในสหรัฐอเมริกา และมุ่งเน้นไปที่การร่างกฎกติกาและอนุสัญญาที่มีความครอบคลุมถึงเรื่องสิทธิ
มนุษยชนมากขึ้น เพื่อเป็นข้อตกลงร่วมแก่ประเทศสมาชิก และเพื่อให้เป็นแม่แบบของการจัดทากฎหมาย
ว่าด้วยสิทธิมนุษยชนในประเทศ แทนการที่องค์การสหประชาชาติจะเข้าไปแก้ไขโดยตรง

คาสาคัญ: การเหยียดสีผิว สิทธิมนุษยชน

1
นักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ หลักสูตรรัฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคาแหง
215/14 บางนา-ตราด 27 บางนา กรุงเทพฯ 10260
e-mail: Rosemarie_xx@hotmail.com
Kasem Bundit Journal Volume 17 No. 2 July - December 2016

Human Rights and the United Nations: Racism in the United States in
1960s
Nawaphon Uthaisri1

Abstract
This research aimed to study the role of the United Nations (UN) in addressing the
problem of racial discrimination in the United States of America during the 1960s and to
consider the guidelines used by the US government in solving or at least coping with the
problem of racial discrimination. The researcher studied secondary data in order to
analyze situations and social conditions and the role and participation of the UN in
respect to issues of human rights and the problem of racial discrimination in the US
during the 1960s. It was, and revealed that the UN’s role in calling for human rights in the
US was successful because the UN directly influenced activists from human rights
organizations in the country rather than those from outside the country. Although the UN
could not directly solve racial discrimination problems in the US, it still was able to play
a role in confronting the problem of racial discrimination. It lent support by providing
knowledge and understanding to human rights organizations in the US. It also increasingly
focused on the drafting of regulations and conventions covering human rights. These
were be used as agreements by all member countries and to serve as a model for the
makings of human rights laws in member nations, instead of the UN directly tackling the
problems.

Key words: Racial discrimination, Human rights.

1
Graduate students Master’s degree in Political Science, Ramkhamhaeng University.
215/14 Bangna-Trad 27 Bangna Bangkok, 10260.
e-mail: Rosemarie_xx@hotmail.com
วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559

บทนา ตามธรรมชาติ ที่ว่ามนุษย์เกิดมาพร้อมสิทธิที่


ภายหลั ง จากที่ มี ก ารจั ด ตั้ ง องค์ ก าร ธรรมชาติไ ด้ม อบให้ แ ก่บุ คคลทุก คน ซึ่ งเป็ น
สหประชาชาติ ก็มีการจั ดตั้งองค์กรแยกย่อย สิ ท ธิ ที่ บุ ค คลอื่ น ใดก็ ไ ม่ มี สิ ท ธิ ใ นการที่ จ ะมา
ขึ้ น เ พื่ อ เ ป็ น เ ค รื อ ข่ า ย ข อ ง อ ง ค์ ก า ร พรากสิ ท ธินี้ ไปจากบุค คลอื่น ใดได้ สิ ท ธิต าม
สหประชาชาติ หนึ่ ง ในนั้ น คื อ องค์ ก รสิ ท ธิ ธรรมชาตินี้ประกอบไปด้วย สิทธิในการมีชีวิต
มนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เป็นองค์กรที่คอย และสิ ท ธิ ใ นการแสวงหาความสุ ข ทั้ ง นี้ สิ ท ธิ
ให้ ความช่วยเหลื อผู้ คน ไม่ให้เกิดการละเมิด ตามธรรมชาติต่างจากสิทธิที่เรามีในฐานะเป็ น
สิทธิขั้น พื้น ฐานอัน ชอบธรรมจากบุ คคลหรือ พลเมืองในแง่ที่เป็นสิทธิที่เกิดจากลักษณะทาง
กลุ่มต่าง ๆ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์ในอดีต ธรรมชาติ ข องมนุ ษ ย์ มิ ไ ด้ เ กิ ด จากการที่ รั ฐ
หลายเหตุการณ์จากทั่วทุกมุมโลก มนุษยชาติ กาหนดให้กับพลเมือง
ถูก แบ่ งแยกไม่ ว่า จะทางชนชั้ น หรื อ ทางชาติ ร่ า ง ป ฏิ ญ ญ า ส า ก ล ว่ า ด้ ว ย สิ ท ธิ
พั น ธุ์ จนน าไปสู่ เ หตุ ก ารณ์ ค วามรุ น แรง ซึ่ ง มนุ ษ ยชนจึ ง ได้ ร ะบุ ข้ อ ความลงในปฏิ ญ ญา
เ ห ตุ ผ ล ส า คั ญ ข อ ง ก า ร ก่ อ ตั้ ง อ ง ค์ ก า ร อย่างชัดเจนตามแนวความคิดที่ศึกษาต่อยอด
สหประชาชาติ และรวมถึงองค์กรแยกย่อยอีก และอ้างอิง โดยระบุไว้อย่างชัดเจนในมาตราที่
ต่ า ง ๆ นั้ น สื บ เนื่ อ งมาจากการสู้ ร บใน 1 เป็นมาตราหลักในการเรียกร้องสิทธิเสรีภาพ
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่ และความเสมอภาคเท่าเทียมกันในเวลาต่อมา
สอง (กระทรวงต่างประเทศ, [online], 2551) และมาตราที่ 1 นี้ก็ยังเป็นมาตราแรกที่เมื่อเกิด
ซึ่งส่ งผลกระทบต่อความเป็ น อยู่และศักดิ์ศรี ปัญหาเรื่องสิทธิมนุษยชนจะถูกหยิบยกขึ้นมา
ของความเป็นมนุษย์ในรูปแบบของการอดยาก เป็ นหลั ก การแนวความคิ ดในการจั ดการกั บ
การทรมานนักโทษ การใช้แรงงานเยี่ยงทาส ปั ญ ห าเ รื่ อง สิ ทธิ ม นุ ษ ย ช น (ก ร ะท ร ว ง
และการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ซึ่งภายหลังการสิ้นสุด ต่างประเทศ, [online], 2551)
สงครามโลกครั้ ง ที่ ส อง ประเทศสมาชิ ก อ ย่ า ง ไ ร ก็ ดี ใ น ปี ค . ศ . 1 9 6 0 ใ น
สหประชาชาติ จึ ง ได้ ใ ห้ ค ามั่ น ว่ า จะร่ ว มกั น สหรั ฐ อเมริ ก ามี ก ารละเมิ ด สิ ท ธิ ขั้ น พื้ น ฐาน
ปกป้ อ งและป้ องกั น ไม่ ใ ห้ เ กิ ดโศกนาฏกรรม ภายใต้กฎหมายมลรัฐอยู่อย่างกว้างขวาง ซึ่ง
ดั ง กล่ า วขึ้ น อี ก ปฏิ ญ ญาสากลว่ า ด้ ว ยสิ ท ธิ ถื อ ว่ า เป็ น การกระท าที่ ขั ด ต่ อ หลั ก การสิ ท ธิ
มนุ ษ ยชนจึ ง ได้ ถื อ ก าเนิ ด ขึ้ น เพื่ อ เป็ น การ มนุษยชนขององค์การสหประชาชาติโดยตรง
ประกันสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของปัจเจก (สมร นิติทัณฑ์ประภาศ, 2553)
ชนทั่ ว ทุ ก แห่ ง โดยได้ รั บ การยกร่ า งขึ้ น ในปี
ค.ศ. 1946 โดยคณะกรรมการภายใต้ วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ค ณ ะ ก ร ร ม า ธิ ก า ร สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ช น แ ห่ ง 1) เพื่อศึกษาถึงบทบาทขององค์ก าร
สหประชาชาติ (กระทรวงต่ า งประเทศ , สหประชาชาติ ต่ อ ปั ญ หาการเหยี ย ดสี ผิ ว ที่
[online], 2557a) เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา ช่วงทศวรรษที่ 1960
โดยรากฐานทางความคิดของปฏิญญา 2) เพื่อศึกษาถึงแนวทางในการแก้ไข
สากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนที่จัดทาขึ้นนั้น ได้มี และการรับมือต่อปัญหาการเหยียดสี ผิว ของ
การพัฒนาความคิดต่าง ๆ มาจากทฤษฏีสิทธิ รัฐบาลสหรัฐอเมริกา
Kasem Bundit Journal Volume 17 No. 2 July - December 2016

วิธีการดาเนินการวิจัย ผลการวิจัย
รูปแบบการวิจัย การศึกษาวิจัยชิ้นนี้ ร่างปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
เป็ น การวิ จั ย ทางเอกสาร (Documentary ขององค์ ก ารสหประชาชาติ นั้ น ไม่ อ าจที่ จ ะ
research) จากข้อมูลเอกสาร ได้แก่ เอกสารที่ สามารถมี ผ ลบั ง คั บ ใช้ต่ อ ประเทศสมาชิ ก ได้
ได้รับการตีพิมพ์โดยหน่วยงานราชการ รวมถึง แม้กระทั่งสหรัฐอเมริกา ประเทศผู้เป็นผู้นาใน
ค าปราศรั ย ของบุ ค คลส าคั ญ หนั ง สื อ ทาง การจั ด ท าร่ า งปฏิ ญ ญาสากลว่ า ด้ ว ยสิ ท ธิ
วิ ช าการที่ เ กี่ ยว ข้ อ งกั บ หั ว ข้ อ ที่ ท าวิ จั ย มนุ ษ ยชนดั ง กล่ า ว (กระทรวงต่ า งประเทศ,
บทความ บทวิเคราะห์ จากวารสารต่าง ๆ ทั้ง ม.ป.ป.) อันเนื่องมาจากองค์การสหประชาชาติ
ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ นั้นมีกฎบัตรสหประชาชาติว่าด้วยการไม่เข้า
แทรกแซงกิจการภายในของประเทศสมาชิก
การทบทวนวรรณกรรม ส่ ง ผลให้ ปั ญหาการละเมิด สิ ท ธิ มนุ ษยชนขั้ น
แนวคิดที่ใช้ในการวิจัยนี้คือแนวคิดด้าน พื้ น ฐานของคนผิ ว ด าในสหรั ฐ อเมริ ก า ถู ก
สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า สิ ท ธิ ต าม กระทาอย่างเปิดเผยภายใต้กฎหมายมลรัฐของ
ธรรมชาติ ในการนามาใช้อธิบายถึงหลักการ แต่ละมลรัฐที่มีการเหยียดสีผิวในสหรัฐอเมริกา
ก า ร ท า ง า น แ ล ะ แ น ว คิ ด ข อ ง อ ง ค์ ก า ร และปั ญ หาเรื่ อ งการเหยี ย ดสี ผิ ว ก็ ท วี ค วาม
สหประชาชาติ และแนวคิ ด ที่ ใ ช้ อ ธิ บ าย รุนแรงมากขึ้นในช่ว งทศวรรษที่ 1960 (สมร
ประกอบเหตุการณ์ปัญหาการเหยียดสีผิวคือ นิติทัณฑ์ประภาศ, 2553)
แนวคิดความเป็น เลิศของคนผิว ขาว (White องค์การสหประชาชาติจึ งมีมติ ในการ
Supremacy) เพิ่มรายละเอียดเกี่ยวกับความหมายและสิทธิ
ทฤษฏี สิ ท ธิ ต ามธรรมชาติ (Natural และระบุรายละเอียดเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิ
Rights) คือ สิทธิที่มีติดตัวมนุษย์ของทุกคนมา มนุษยชนให้มีความละเอียดมากยิ่งขึ้นกว่าจาก
ตั้งแต่กาเนิดเป็ นสิทธิที่เจ้าของร่างกายเป็น ผู้ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน โดยอยู่บท
ตัดสินใจ ผู้อื่นไม่มีสิทธิใดมากาหนดเหนือชีวิต พื้นฐานของแนวคิดทฤษฏีสิทธิตามธรรมชาติ
ของผู้นั้น เช่น ความตาย หรือ การดารงชีวิต ที่ว่าด้วยเรื่องของสิทธิเสรีภาพในการใช้ชีวิต
ว่าคน ๆ นั้นจะต้องดาเนินชีวิตตามรูปแบบใด โดยไม่ ค านึ ง ถึ ง เพศสภาพและชาติ พั น ธุ์
แนวความคิดความเป็นเลิศของคนผิวขาว เพื่อที่จะได้เป็นแม่แบบในการพัฒนากฎหมาย
(White Supremacy) คือ เป็นแนวความคิดเชิง ภายในประเทศของประเทศสมาชิกต่อไป โดย
เหยี ย ดหยามทางเชื้ อ ชาติ ที่ ไ ม่ ใ ช่ เ ป็ น เพี ย ง ได้ ทาการเพิ่ม กติ ก าระหว่ า งประเทศว่ าด้ ว ย
แนวความคิดทั่ว ๆ ไป แต่แนวความคิดนี้ ได้ สิ ท ธิ พ ลเมื อ งและสิ ท ธิ ท างการเมื อ ง โดย
หยั่ ง รากลึ ก ในโครงสร้ า งทางสั ง คมและ สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติได้มีมติรับรอง
วั ฒ นธรรม โดยรู ป แบบความคิ ด นี้ ถู ก แบ่ ง เมื่ อ วัน ที่ 16 ธัน วาคม ค.ศ.1966 และมี ผ ล
ออกเป็น 2 แบบ คือกลุ่มที่ได้รับอิทธิพลทาง บั ง คั บ ใช้ เ มื่ อ วั น ที่ 23 มี น าคม ค.ศ.1976
ความคิดจากศาสนา และกลุ่มที่ได้รับอิทธิพล (กระทรวงต่างประเทศ, 2557b) ซึ่งเป็นการ
จ า ก ก า ร ท ด ล อ ง ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ระบุถึงสิทธิในการกาหนดเจตจานงของตนเอง
เกี่ ย วกับ ศั กยภาพทางพั น ธุ ก รรม (Anthony โดยอาศัยสิทธินั้น ประชาชนจะกาหนดสถานะ
Mustacich, 2556)
วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559

ทางการเมืองของตนอย่างเสรี รวมทั้งพัฒนา ธันวาคม ค.ศ.1965 และมีผลบังคับใช้ในวันที่


เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของตน 4 มกราคม ค.ศ.1989 อนุ สั ญ ญาฉบั บ นี้
นอกจากกติการะหว่างประเทศว่าด้วย นั บ เป็ น อนุ สั ญ ญาที่ จั ด ท าออกมาเพื่ อ แก้ ไ ข
เรื่ อ งของสิ ท ธิ พ ลเมื อ งแล้ ว สมั ช ชาให ญ่ ปัญหาการเหยียดสีผิวและเชื้อชาติฉบับที่ตรง
สหประชาชาติ ยั ง ผ่ า นมติ ก ติ ก าระหว่ า ง ประเด็ น ต่ อ ปั ญ หามากที่ สุ ด ฉบั บ หนึ่ ง โดย
ประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และ เล็งเห็นว่าในหลายประเทศทั่วโลกปัญหาการ
วัฒ นธรรม ในวั น ที่ 16 ธัน วาคม ค.ศ.1966 เหยียดชาติพันธุ์และสีผิวนั้น เป็นปัญหาใหญ่ที่
แล ะ มี ผ ล บั ง คั บ ใ ช้ ใน วั น ที่ 3 ม ก ร า ค ม ส่ ง ผลต่ อ ความสงบและสั น ติ สุ ข ของรั ฐ
ค.ศ.1976 (กระทรวงต่างประเทศ, 2557c) ซึ่ง (กระทรวงต่างประเทศ, 2557d).
กติกาฉบับนี้มีความแตกต่างจากฉบับแรกเพียง โดยที่ เป้ าหมายของการเปลี่ ยนแปลง
เรื่ อ งของเศรษฐกิ จ สั ง คมและวั ฒ นธรรม สถานการณ์ปัญหาทางด้านชาติพันธุ์ผ่านทาง
เท่ า นั้ น แต่ ไ ม่ จั ด รวมอยู่ ใ นฉบั บ เดี ย วกั น ตัว บทกฎหมายก็เพื่อเป็นการดึงนักกิจกรรม
เนื่ อ งจากองค์ ก ารสหประชาชาติ ต้ อ งการ ด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศให้เกิดการพลัก
อธิบายรายละเอียดให้ชัดเจนที่สุด ดันต่อรัฐบาลภาพที่ 1 แสดงบทบาททางอ้อม
นอกจากกติ ก าทั้ ง สองฉบั บ ที่ องค์ ก าร ขององค์ ก ารสหประชาชาติ ต่ อ ปั ญ หาสิ ท ธิ
สหประชาชาติจัดทาขึ้นเพื่อแก้ปัญหาทางชาติ มนุษยชนและการกีดกันทางเชื้อชาติ (Racial
พันธุ์แล้ ว สมัช ชาใหญ่แห่ งสหประชาชาติก็มี discrimination)
มติรับรองอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือก
ปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ ในวันที่ 21
Kasem Bundit Journal Volume 17 No. 2 July - December 2016

องค์การ
สหประชาชาติ
ไม่สามารถแทรกแซงทาง แก้ไขเพิ่มเติมรายละเอียดของสิทธิให้
การเมืองของชาติสมาชิก ครอบคลุมสถานการณ์ในอนาคต

สหรัฐอเมริกา: - กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิ
ปัญหาทางเชื้อชาติ พลเมืองและสิทธิทางการเมือง
และการเหยียดสี
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิ
ผิว
ทางเศรษฐกิจ สังคม และ
วัฒนธรรม

- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือก
ปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ
รัฐบาล ประชาชน

ส่งอิทธิพลทาง
รับอิทธิพลทางความคิด ส่งอิทธิพลทางความคิด
ความคิ ด ผ่ า น
ทางกิ จ กรรม
เรียกร้องสิทธิ

แก้ไขข้ อ กฎหมายภายในประเทศที่เกี่ ย วข้ อ งกั บ


สิทธิพลเมือง เพื่อขจัดปัญหาทางเชื้อชาติ เพื่อเป็น
ส่งอิทธิพลทางความคิด ต้ น แบบแก่ ป ระเทศทั่ ว โลกที่ ยั ง ประสบปั ญ หา
ทางด้านเชื้อชาติ

ภาพที่1 บทบาทขององค์การสหประชาชาติต่อปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ทศวรรษที่ 1960 เป็ น ยุ ค ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ย อย่ า งมากมายต่ อ สั ง คมอเมริ กั น เป็ น ช่ ว งที่ ค น
ประวัติศาสตร์ ทางการเมืองที่เข้มข้น ดุดัน เอา อเมริกันพึ่งระลึกและตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้น
จริงเอาจัง และนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ในสั ง คมซึ่ ง เคยเกิ ด ขึ้ น แล้ ว ในอดี ต ยุ ค นี้ เ องที่
วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559

ปัญหาความรุนแรงได้กลับมาดุเดือดอีกครั้งหนึ่ง ด้ ว ยงานวิ จั ย เกี่ ย วกั บ การวั ด ระดั บ ค่ า IQ


หลังจากการนองเลือดในสงครามกลางเมือง หรือ (Intelligence quotient) และระดับค่า EQ
เรียกว่าเป็นสงครามของพี่น้องก็ว่าได้ ตั้งแต่ต้น (Emotional Quotient) ซึ่งกลุ่มคนผิวขาวเป็น
ทศวรรษที่ 1960 จวบจนกระทั่งปลายทศวรรษ กลุ่มที่มีระดับสติปัญญาทางสมองและอารมณ์สูง
เหตุ ก ารณ์ ค วามรุ น แรงต่ า ง ๆ ประทุ ขึ้ น การ กว่าคนผิวสี หรือเชื้อชาติอื่น ๆ จึงเป็นเหตุผลที่
เรียกร้องสิทธิเสรีภาพมีการกระทาอย่างเอาจริง เหมาะสมในการน าไปสู่ ก ารเข้ า ครอบครอง
เอาจังมากขึ้น การปราศรัยเกิดขึ้นทั่วอเมริกาไม่ ปกครองกลุ่ มชนชาติอื่น ๆ ด้ ว ยโดยคนผิ ว ขาว
ว่าจะเป็นการปราศรัยโจมตีหรือการปราศรัยเพื่อ เพราะ White Supremacy ในส่วนนี้เชื่อว่าคน
เรี ย กร้ อง เกิดการจลาจลเกิดขึ้นอย่ างมากมาย เหล่านั้นควรค่าแก่การถูกปกครองมากกว่าการ
หลายเหตุการณ์ในช่วงทศวรรษนี้ เกิดการนอง ปกครองตนเอง (Anthony Mustacich, 2013)
เลื อดและการเสี ย ชีวิตจากการลอบสั งหารของ ซึ่ ง แนวคิ ด ดั ง กล่ า วส่ ง ผลระยะยาวต่ อ
เหล่ า บรรดาผู้ น าทางการเมือง (สมร นิ ติทัณ ฑ์ รากฐานทางความคิดของสังคมอเมริกัน จึงทาให้
ประภาศ, 2553) สั ง คมอเมริ กั น มี ก ารแบ่ ง แยกทางเชื้ อ ชาติ อ ยู่
เนื่องจากสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ช่วงยุคหลัง ตลอดมาและถูกนับว่าเป็นพลเมืองชั้นสองของ
เลิ ก ทาสจนกระทั่ ง ช่ ว งล่ า อาณานิ ค มแนวคิ ด ประเทศตั้งแต่ก่อตั้งประเทศจนสิ้นสุดทศวรรษที่
เรื่ อ ง ความเป็ น เลิ ศ ของคนผิ ว ขาว (White 1960 ภายหลั ง จากการพลั ก ดั น การแก้ ไ ข
Supremacy) นับว่าเป็นแนวคิดที่แพร่หลายเป็น กฎหมายภายในประเทศของรัฐบาลสหรัฐฯ
อย่ างมากในหมู่ค นผิ ว ขาว ว่ า ด้ว ยเรื่ องของค า จากการเรี ย กร้ อ งของนั ก กิ จ กรรมใน
บัญชาของพระผู้เป็ นเจ้ าที่ทรงประทานภารกิจ สหรัฐฯ ส่งผลให้เกิดการจลาจลรุนแรงในหลาย
ให้ แ ก่ ค นผิ ว ในการสร้ า งโลกให้ มี อ ารายธรรม ครั้ง แต่ก็ส่งผลให้เกิดการผลักดันเปลี่ยนแปลงข้อ
เพราะคนผิว ขาวถือเป็นสี บริสุ ทธิ์ เป็น บุตรของ กฎหมายที่ส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่และการ
พระเจ้ า จึ ง ต้ อ งรั บ ภาระในการเปลี่ ย นแปลง แสดงออกในสิทธิขั้นพื้นฐานของคนผิวดาทั้งหมด
สังคมจากคนนอกรีต ให้มีอารายะเช่นเดียวกับ ตั้งแต่ปี ค.ศ.1964 ไปจนกระทั่ง ปี ค.ศ.1968 ซึ่ง
คนผิวขาว และภายหลังจากนั้นเมื่อวิทยาศาสตร์ ถือว่าเป็นปีสิ้นสุดการกดขี่ทางเชื้อชาติและสีผิว
เริ่มเข้ามามีบทบาทต่อสังคมมากยิ่งขึ้น ความเชื่อ ในสหรัฐอเมริกาผ่านทางข้อกฎหมายอย่างสิ้นเชิง
เรื่องสีผิวก็ทาให้มีความเป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้น
Kasem Bundit Journal Volume 17 No. 2 July - December 2016

ภาพ 2 การจัดการปัญหาทางเชื้อชาติของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา
ในช่ ว งต้น ทศวรรษที่ 1960 รั ฐ บาลของ ประภาศ, 2553) จึงทาให้การผลักดันเข้าสู่สภา
ประธานาธิบดีจอห์น เอฟ. เคนเนดี้ ได้พยายาม ไม่ประสบผลสาเร็จ จนกระทั่งประธานาธิบดีเคน
เสนอร่างรัฐบัญญัติว่าด้วยเรื่องสิทธิพลเมือง แต่ เนดี้เสียชีวิตจากการลอบสังหารในปี ค.ศ.1963
การแก้ไ ขบทบั ญญั ติห รื อข้อ กฎหมายใด ๆ ที่ มี การผลักดันและแก้ไขข้อกฎหมายอย่างจริงจังจึง
ความเกี่ยวข้องกับเรื่องของสีผิวนั้น มักจะทาให้ เริ่มขึ้นในยุคสมัยของประธานาธิบดีลิ นดอน บี
เกิดข้อพิพาทกันอย่างรุ นแรงภายในสภา ทาให้ จอห์นสัน
การพิจารณาต้องถูกเลื่อนออกไปหลายต่อหลาย ซึ่งในยุคของประธานาธิบดีจอห์นสัน การ
ครั้ ง ประจวบกั บ ฝ่ า ยประธานาธิ บ ดี เ องก็ ไ ม่ ผลักดันข้อกฎหมายที่เป็นปัญหาทางด้านเชื้อชาติ
ต้องการที่จะเสียคะแนนสนับสนุนจากกลุ่มคนผิว นั้นดาเนินการไปอย่างรวดเร็ว เริ่มจากรัฐบัญญัติ
ขาวในรัฐทางภาคใต้ และคะแนนเสียงสนับสนุน สิทธิพลเมือง ค.ศ.1964, รัฐบัญญัติโอกาสทาง
ภายในสภาจากนั ก การเมื อ งที่ ม าจากรั ฐ ทาง เศรษฐกิจ ค.ศ.1964, รัฐบัญญัติสิทธิการเลือกตั้ง
ภาคใต้ แต่ ใ นขณะเดี ย วกั น การเพิ่ ม ขึ้ น ของ ทั่วไป ค.ศ.1965, รัฐบัญญัติการเคหะและการ
จานวนประชากรคนผิวดาก็ทาให้ประธานาธิบดี พัฒนาเมือง ค.ศ.1965, รัฐบัญญัติการศึกษา
เองก็ไม่สามารถที่จะละทิ้งคะแนนเสียงจากคนผิว ทั่ ว ไป ค.ศ.1965 และรั ฐ บั ญ ญั ติ สุ ด ท้ า ยที่
ด าที่ มี จ านวนมากเหล่ า นี้ ไ ด้ (สมร นิ ติ ทั ณ ฑ์ เปรียบเสมือนเป็นสัญลักษณ์ว่าสหรั ฐอเมริกาได้
วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559

หลุดพ้นและสลัดอคติทางชาติพันธุ์ออกจากสังคม ความสาคัญกับเรื่องของสิทธิมนุษยชนน้อยกว่า
และจะเริ่มสังคมในทศวรรษใหม่ ที่จะสามารถพูด เรื่ อ งการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ สั ง คมของประเทศ
ได้อย่างภาคภูมิว่าเป็นประเทศแห่งประชาธิปไตย เพราะหากพิจารณาจากหลักฐานทั้งจากกฎกติกา
ของคนทุกชาติพันธุ์ในประเทศที่เต็มไปด้วยความ และอนุ สั ญ ญาทั้ ง 3 ฉบั บ แล้ ว ข้ อ ตกลงทั้ ง 3
หลากหลาย นั่ น ก็ คื อ รั ฐ บั ญ ญั ติ สิ ท ธิ พ ลเมื อ ง ฉบับนี้ถูกลงมติให้ ได้รับการรับรองจากสมัช ชา
ค.ศ.1968 ที่นับเป็นจุดจบของปัญหาการเหยียด ใหญ่แห่งสหประชาชาติในปี ค.ศ.1965 และ ค.ศ.
สี ผิ ว ร ะ ห ว่ า ง ค น ผิ ว ข า ว แ ล ะ ค น ผิ ว ด า ใ น 1966 ซึ่งเป็นช่วงปีที่เหตุการณ์ความรุนแรงและ
สหรัฐอเมริกา ประชาชนทุกคนจะมีสิทธิเสรีภาพ การเดินขบวนเรียกร้องสิทธิความเสมอภาคของ
เท่าเทียมกันทุกประการโดยปราศจากข้อยกเว้น คนผิวดาในสหรัฐอเมริกามีความรุนแรงอย่างมาก
ใด ๆ ภาพที่ 2 สรุปวิธีการดาเนินการแก้ปัญหา ซึ่ ง จากหลั ก ฐานดั ง กล่ า วจึ ง อาจกล่ า วได้ ว่ า
ทางเชื้ อ ชาติ ใ นสหรั ฐ อเมริ ก า (สมร นิ ติ ทั ณ ฑ์ ถึงแม้ว่าข้อตกลงจะไม่ได้ถูกจัดทาขึ้นเพื่อแก้ไข
ประภาศ, 2553) ปัญหาในทันทีทันใด
อย่างไรก็ดี ทั้งกฎกติกาและอนุสั ญญาใน
สรุปผลการวิจัย ระยะยาวนั้นส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อตัว
บทบาทขององค์ การสหประชาชาติโ ดย บทกฎหมายภายในของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกมา
การรวบรวมข้อมูลในการวิจัยในครั้งนี้ สามารถ จนถึ ง ปั จ จุ บั น นั่ น จึ ง หมายความว่ า ข้ อ ตกลง
กล่ า วได้ ว่ า แม้ ว่ า การจั ด การต่ อ ปั ญ หาของ ดังกล่าวทาหน้าที่ด้วยตัวของมันเอง โดยการเป็น
องค์การสหประชาชาติจ ะมีการจั ดทากฎกติกา รากฐานทางความคิดแบบสากล และจากการวาง
และอนุ สั ญ ญาขึ้ น มาเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ เป็ น การให้ ให้ เ ป็ น รากฐานทางความคิ ด นี่ เ องที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด
รายละเอียดเรื่องของข้อปฏิบัติที่ขัดต่อหลักสิทธิ กระบวนการทางความคิดที่พัฒนาต่อยอดขึ้นมา
มนุษยชนไว้เพื่อให้ประเทศสมาชิกรับทราบโดย ใหม่ ๆ จนนาไปสู่การพัฒนากฎหมายด้านสิทธิ
ทั่ ว กั น นั้ น แต่ ใ นทางปฏิ บั ติ ก ฎระเบี ย บและ มนุ ษ ยชนและด้ า นสั ง คมภายในของประเทศ
อนุ สั ญญาต่าง ๆ ก็ไ ม่ส ามารถมีผ ลบั งคั บอย่า ง หลาย ๆ ประเทศทั่วโลก
เด็ ด ขาด ต่ อ ประ เทศสม าชิ ก ให้ ปฏิ บั ติ กั บ ทั้งนี้ในช่วงทศวรรษที่ 1960 รัฐบาลสมัย
ประชาชนภายในประเทศของตนอย่างไม่เลือก ประธานาธิบดีจอห์นสันได้มีการออกรัฐบัญญัติมา
ข้างได้ ทั้งหมด 6 ฉบับเพื่อแก้ไขปัญหาการเหยียดสีผิว
การที่ อ งค์ ก ารสหประชาชาติ เ ลื อ กที่ จ ะ ในสหรัฐฯ และรัฐบัญญัติเหล่านั้นก็ครอบคลุมถึง
เพิ่ ม ร่ า งกฎกติ ก าและอนุ สั ญ ญาเพิ่ ม ขึ้ น จาก รูปแบบของการเหยียดสีผิวและการเหยียดเชื้อ
ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ ท าให้ ผู้ วิ จั ย เห็ น ว่ า เป็ น เพี ย งการ ชาติไว้อย่างสมบูรณ์ที่สุด เท่าที่ในประวัติศาสตร์
แก้ปัญหาเฉพาะหน้าขององค์การสหประชาชาติ การเมืองของสหรัฐฯจะมีมา โดยเฉพาะรัฐบัญญัติ
เสียมากกว่า ที่ไม่มีอานาจในการแก้ไขปัญหาด้าน สิทธิพลเมือง ค.ศ.1968 ที่ส่งผลให้คนอเมริกันผิว
สิทธิมนุษยชนโดยตรงอย่ างที่องค์กรตั้งใจไว้ใน ด าทั่ ว ประเทศทุ ก คนมี สิ ท ธิ มี เ สี ย งในฐานะ
แรกเริ่มของการก่อตั้งแต่ทั้งนี้เราก็ไม่สามารถที่ พลเมืองอเมริกันอย่างเท่าเทียมกันกับคนอเมริกัน
จะตั ด สิ น ได้ ว่ า องค์ ก ารสหประชาชาติ นั้ น ให้ ผิ ว ขาวทุ ก ประการ ซึ่ ง รั ฐ บั ญ ญั ติ ดั ง กล่ า ว
Kasem Bundit Journal Volume 17 No. 2 July - December 2016

ก่อ ให้ เกิ ดสั งคมในรู ป แบบใหม่ ขึ้ น คือ สั ง คมใน การผลักดันให้รัฐบัญญัติสิทธิพลเมือง ค.ศ.1968
รู ป แบบของชนชั้ น กลางไปจนถึ ง ชนชั้ น สู ง ที่ มี ออกมาใช้ อ ย่ า งเป็ น ทางการ เพราะรั ฐ บั ญ ญั ติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติมากขึ้นในทุกสาขา ฉบั บ นี้ เ ปรี ย บเสมื อ นเป็ น ร่ า งกฎหมายฉบั บ
อาชีพ และที่ส าคัญที่สุ ด คือการดารงตาแหน่ง สุ ด ท้ า ยที่ ก ารเหยี ย ดสี ผิ ว และเชื้ อ ชาติ ใ น
ผู้ น าประเทศในฐานะประธานาธิ บ ดี แ ห่ ง สหรัฐอเมริกา จะถูกจัดให้เป็นอาชญากรรมทาง
สหรัฐอเมริกาโดยคนผิวดาคนแรกของชาติได้แก่ สั ง คม ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ถู ก มองว่ า เป็ น เรื่ อ งปกติ ใ น
นายบารัค โอบาม่า นั่นเอง สหรัฐอเมริกามาเป็นเวลาหลายร้อยปีที่คนผิวดา
การขึ้ น มาสู่ ต าแหน่ ง สู ง สุ ด ของประเทศ ไม่ได้รับความเสมอภาคเท่าเทียมกับบุคคลอื่นใน
โดยคนผิวดาในที่นี้อาจกล่าวได้ว่า เป็นผลมาจาก สังคม

References
Mustacich. Anthony (2013). White Supremacy: Exploring the Contours of Race and Power in
America. [Online]. Available from: http://www.globalresearch.ca/white-supremacy-
exploring-the-contours-of-race-and-power-in-america/5334690. (February 26, 2015)
Ministry of Foreign Affairs. (2551). Universal Declaration of Human Rights. Bangkok
:Ministry of Foreign Affairs
--------. (2557a). International Convention on the Elimination of All Forms of Racial
Discrimination. Available from: http://www.mfa.go.th/humanrights/
images/stories/cerdt.pdf. (January 22, 2015).
----------. (2557b). International Covenant on Civil and Political Rights. Available from:
http://www.mfa.go.th/humanrights/images /stories/ iccprt.pdf, (January 22, 2015).
----------. (2557c). Human Rights Obligations. Available from: http://www.mfa.
go.th/humanrights/human-rights-obligation. (January 22, 2015).
---------. (2557d). Universal Declaration of Human Rights. Available from:
http://www.mfa.go.th/humanrights/human-rights-obligation, (March 15, 2015).

You might also like