Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 41

1438

หลักการสามข้ อพร้ อมหลักฐาน


] Thai – ไทย – ‫[ تايالندي‬

เชคมุหมั มัด อิบนุ สุลัยมาน อัต-ตะมีมีย์


แปลโดย ดิเรก กุลสิริสวัสดิ์ (อิบรอฮีม กุเรชี)

ตรวจทานโดย ซุฟอัม อุษมาน


‫‪1438‬‬

‫األصول الثالثة وأدلتها‬

‫الشيخ حممد بن سليمان اتلمييم‬

‫‪‬‬
‫ترمجة ‪ :‬ديريك (إبراهيم) كول سرييسوات‬

‫مراجعة ‪ :‬صايف عثمان‬


หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน 1

สารบัญ

คานา ...................................................................................... 2
อารัมภบท ............................................................................... 3
หลักที่หนึง่ การรู้จกั อัลลอฮฺ ....................................................... 8
หลักที่สอง การรู้จกั อิสลามด้ วยหลักฐาน .................................. 18
หลักที่สาม การรู้จกั ท่านนบี.................................................... 27
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน 2

คานา

ด้ วยพระนามแห่งอัลลอฮฺ ผู้ทรงกรุ ณ า ผู้ทรงปรานีเสมอ มวลการ


สรรเสริ ญ ทัง้ มวลเป็ นสิ ท ธิ์ ข องอัล ลอฮฺ ขอความสัน ติ สุข ความ
จาเริ ญ จงมีแด่ท่านศาสดามุหมั มัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม
ครอบครัวของท่าน และตลอดจนบรรดาสาวกของท่านทังมวล ้
หนังสือ “อัล-อุศูล อัษ-ษะลาษะฮฺ วะ อะดิลละตุฮา” หรื อ
หลักการสามข้ อพร้ อมหลักฐาน เป็ นงานเขียนของท่าน อิมาม อัล-
มุญัดดิด ชัยคุลอิสลาม มุหมั มัด อิบนุ อับดุลวะฮาบ (เสียชีวิตเมื่อ
ฮ.ศ. 1206) ต้ นฉบับหนังสือเล่มนี เ้ ป็ นภาษาอาหรับ และได้ มีการ
แปลเป็ นหลายภาษา เป็ นบทความที่กะทัดรัด ตรงเป้าหมายพร้ อม
ด้ วยหลักฐาน
เล่มที่ปรากฏอยู่ในมือของท่านฉบับนี ้ เป็ นผลงานแปลของ
คุณดิเรก กุลสิริสวัสดิ์ จากกรุงเทพฯ เราขอขอบคุณท่านผู้แปล และ
ผู้เกี่ยวข้ องอีกหลายท่าน ที่ได้ ให้ หนังสือเล่มนี ้ได้ ปรากฏสู่สายตาเรา
อีกครัง้
หะมูด อัล-ลาหิม
กรุงริยาด
21 กุมภาพันธ์ 1991
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน 3

อารัมภบท

ด้ วยพระนามของอัลลอฮฺ ผู้ทรงกรุณาปรานี ผู้ทรงเมตตาเสมอ

ท่านจาต้ องรู้ -ขออัลลอฮฺเมตตาท่าน- ว่าจาเป็ นที่เราต้ อง


เข้ าใจหัวข้ อสี่ประการนี ้
1. ความรู้ นัน่ คือการรู้จกั อัลลอฮฺ การรู้จกั นบีของ
พระองค์ และการรับรู้ศาสนาอิสลามพร้ อมด้ วย
หลักฐาน
2. ปฏิบตั ิตามความรู้นี ้
3. การเชิญสูค่ วามรู้นี ้
4. ความอดทนต่อความทุกข์ยากในงานเช่นนี ้
หลักฐานคือพระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
َ ُ َ ُ ۡ ُ َ َ َٰ َ ۡ ۡ َۡ َ
‫ين َء َامنوا َوع رملوا ٱلصَٰل رحَٰ ر‬
‫ت‬ َ ‫ٱَّل‬
‫ إر ّل ر‬٢ ‫س‬
‫ٱۡلنسن ل رف خ ر‬ ‫ إر ن ر‬١ ‫ص‬‫﴿ وٱلع ر‬
]3-١ :‫ ﴾ [العرص‬٣ ‫ب‬ ۡ ۡ َ َ َ َ َۡ ۡ َ َ َ َ
‫وتواصوا برٱۡل رق وتواصوا برٱلص ر‬
ความว่า “ขอสาบานด้ วยเวลา แท้ จ ริ ง มนุษ ย์ อ ยู่ในการขาดทุน
นอกจากผู้ศรัทธาและปฏิบตั ิการดี ตักเตือนกันและกันในสัจธรรม
และตักเตือนกันในขันติธรรม” (อัล-อัศร์ 130:1-3)

ท่านอิมามอัช-ชาฟี อีย์ กล่าวว่า “ถ้ าอัลลอฮฺมิทรงประทาน


หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน 4

หลักฐานอันใดแก่ปวงบ่าวที่พระองค์ทรงให้ บงั เกิดขึ ้นมา นอกจาก


อัลกุรอานบทนี ้ ก็เพียงพอสาหรับพวกเขาแล้ ว”
ในหนังสือรวบรวมหะดีษของท่านอิมามอัล -บุคอรี ท่านเริ่ ม
บทว่าด้ วยความรู้ หลักฐานคือพระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
َ َ ۡ ۡ َ ُ َ ‫َ َۡ َ َا‬
]١١ : ‫ٱس َتغف ۡرر رَّلۢنبرك﴾ [حممد‬‫﴿ فٱعل ۡم أن ُهۥ ّل إرل َٰ َه إرّل ٱّلل و‬
ความว่า “จงรู้ เถิ ด ว่ า ไม่ มี พ ระเจ้ า ใดที่ แ ท้ จริ ง นอกจากอัล ลอฮฺ
ดังนัน้ จงขออภัยโทษสาหรับความผิดของเจ้ า” (มุหมั มัด 47:19)

เพราะฉะนัน้ จึงต้ องเริ่มต้ นด้ วยความรู้ก่อนการพูดและการ


กระทา
ท่านจาต้ องรู้ ว่า -ขออัลลอฮฺเมตตาท่าน- หน้ าที่ของมุสลิม
ชายและหญิ ง ทุก คน จ าต้ อ งรู้ หลัก สามประการนี แ้ ละให้ ป ฏิ บัติ
ตามนันด้
้ วย
ข้ อที่หนึ่ง คืออัลลอฮฺทรงบันดาลเราและทรงให้ เครื่ องยัง
ชีพ และมิได้ ทรงทอดทิ ้งเราให้ โดดเดี่ยว แต่ได้ ทรงส่งเราะสูล(ศาสน
ทูต)ของพระองค์แก่เรา ดังนัน้ ผู้ใดเชื่อฟั งปฏิบัติตามเราะสูล ก็ได้
เข้ าสวรรค์ และถ้ าผู้ใดขัดขืนต่อเราะสูลก็เข้ าในไฟนรก หลักฐานคือ
พระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
ٗ َ َ ‫َ ُ َ ا َ ۡ ا‬ ٗ ُ َۡ ‫ا َۡ َ َۡا‬
َٰ َ ‫ك ۡم َر ُسوّل‬
١٥ ‫ش ره ًدا َعل ۡيك ۡم ك َما أ ۡر َسل َنا إر َٰل ف ۡرر َع ۡو ن َر ُسوّل‬ ‫﴿ إر نا أ رسلنا إر َل‬
ٗ َ ٗ ۡ َ ُ َ ۡ َ ََ َ ُ ُ ۡ َ ۡ َ َ َ
]١١-١١ :‫ ﴾ [املزمل‬١٦ ‫ص ف ررعون ٱلرسول فأخذنَٰه أخذا وبريل‬ َٰ ‫فع‬
ความว่า “แท้ จริ ง เราได้ สง่ เราะสูลคนหนึง่ แก่สเู จ้ าเพื่อเป็ นพยานต่อ
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน 5

สูเจ้ า ดัง่ ที่เราได้ ส่งเราะสูลคนหนึ่งแก่ฟิรฺ อาวน์ แล้ วฟิ รฺ อาวน์ได้ ขัด


ขืน ต่อ เราะสูล นัน้ เราจึงได้ ล งโทษเขาด้ วยการลงโทษที่ ร้ายแรง”
(อัล-มุซซัมมิล 73:15-16)

ข้ อที่สอง คืออัลลอฮฺ มิทรงยินดีที่ ใครจะตัง้ ภาคีใดๆ แก่


พระองค์ในการเคารพภักดี ไม่ว่าจะเป็ นมลาอิกะฮฺ(เทวทูต)ผู้ใกล้ ชิด
หรื อเป็ นนบีผ้ ไู ด้ รับคัมภีร์ก็ตาม หลักฐานคือพระดารัสของพระองค์
ผู้ทรงสูงส่งว่า
ٗ َ َ ََ َ
َٰ َ ‫﴿ َوأن ٱل ۡ َم‬
]١١ :‫ ﴾ [اجلن‬١٨ ‫ج َد رّللر فل ت ۡد ُعوا َم َع ٱّللر أ َحدا‬
‫س ر‬
ความว่ า “และแท้ จริ ง สถานที่ สุ ญู ด ก้ มกราบทัง้ หลายนัน้ เป็ น
ของอัลลอฮฺ ดังนัน้ จงอย่าวิงวอน(ตังภาคี
้ )ผู้ใดเคียงคูอ่ ลั ลอฮฺ” (อัล-
ญิน 72:18)

ข้ อที่สาม คือผู้ใดก็ ดีที่เชื่ อฟั งปฏิ บัติตามเราะสูล นี ้ และ


ยืนยันในเอกภาพของอัลลอฮฺ จะต้ องไม่เห็นดีกบั ผู้ที่ตอ่ ต้ านอัลลอฮฺ
และเราะสู ล ของพระองค์ แม้ ว่ า ผู้ นั น้ จะเป็ นญาติ ส นิ ท ก็ ต าม
หลักฐานคือพระดารัสของพระองค์ ผู้ทรงสูงส่งว่า
ُ َ َ َُ ُ َ َ َ ‫ا‬ َ ُّ ‫ا‬ ۡ َ ۡ َ َ
‫وَلۥ َول ۡو َكن اوا‬ ‫َت ُد ق ۡو ٗما يُؤم ُرنون برٱّللر َوٱَلَ ۡو رم ٱٓأۡلخ ررر يُ َوادون َم ۡن َحاد ٱّلل ورس‬ ‫﴿ ّل ر‬
ۡ
َ ‫ب ف ُقلُوبه ُم ٱۡل‬ َ ُ َ
َ َ َ َ ۡ ََُ َ ۡ ۡ َُ َ ۡ ۡ ۡ ُ ‫َا ُ ۡ ۡ َۡا‬ َ َ َ
‫يمَٰ َن‬ ‫رر ر‬ ‫َءابا َء هم أ و أ بنا َء هم أ و إر خو َٰنهم أ و عشر ري تهم أ و َٰٓلئرك كت ر‬
َۡ َۡ َۡ ُ ُ َ
‫ض‬ َ ‫ريها َر ر‬ َ ‫رين ف‬ َٰ َ ‫َتت َرها ٱۡل ۡن َه َٰ ُر‬
َ ‫خ رِل‬ ‫َوأي َدهم ب ر ُر وح م ۡرن ُه َو ُي ۡد خرل ُه ۡم َجنَٰت َت رر ي مرن‬
َ ۡ ۡ ُ ‫ََ ا‬ َ َ ُ َ ُ َ ُ
﴾ ٢٢ ‫ٱّلل ع ۡن ُه ۡم َو َرضوا ع ۡن ُه أو َٰٓلئرك ح ۡرز ُب ٱّللر أّل إرن ح ۡرز َب ٱّللر ه ُم ٱل ُمفل ُرحون‬
]٢٢ :‫[املجادلة‬
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน 6

ความว่า “เจ้ าจะไม่พบหมู่ชนใดที่ศรัทธาในอัลลอฮฺและวันสุดท้ าย


รักชอบผู้ต่อต้ านอัล ลอฮฺ และเราะสูล ของพระองค์ แม้ ว่าพวกเขา
(เหล่านัน้ )จะเป็ นพ่อของพวกเขา หรื อลูกของพวกเขา หรื อพี่ น้อง
ของพวกเขา หรื อญาติของพวกเขาก็ตาม ชนเหล่านี ้อัลลอฮฺได้ ทรง
จารึกความศรัทธาในดวงใจของพวกเขา และได้ ส่งเสริ มพวกเขาให้
มัน่ ด้ วยรู หฺ(การสนับสนุน )จากพระองค์ และจะทรงให้ พวกเขาเข้ า
สวนสวรรค์หลากหลาย ณ เบื ้องล่างมันมีลาน ้าหลายสายไหลผ่าน
เป็ นผู้พานักในนันตลอดกาล
้ อัลลอฮฺทรงยินดีตอ่ พวกเขา และพวก
เขาก็ ป ลื ม้ ต่ อ พระองค์ เหล่ า นี ค้ ื อ พรรคของอัล ลอฮฺ จงรู้ ไว้ เถิ ด
แท้ จ ริ ง พรรคของอัล ลอฮฺ นัน้ พวกเขาเป็ นผู้ป ระสบความสาเร็ จ ”
(อัล-มุญาดิละฮฺ 58:22)

จงรู้ไว้ ด้วยเถิด -ขออัลลอฮฺทรงชี ้นาท่านเพื่อการเคารพเชื่อ


ฟั งพระองค์- แท้ จริ ง อัล-หะนีฟียะฮฺ (ศาสนาอันบริ สุทธิ์ ) แนวทาง
ของอิบรอฮีมนัน่ คือ ท่านต้ องเคารพภักดีอลั ลอฮฺ เป็ นผู้สจุ ริตในการ
ภัก ดี ต่อ พระองค์ โดยเหตุนี แ้ หละอัล ลอฮฺ ไ ด้ ท รงบัญ ชาแก่ ม วล
มนุษย์และได้ ทรงบังเกิดพวกเขาเพื่อการนี ้ ดัง่ ผู้ทรงสูงส่ง (อัลลอฮฺ)
ตรัสว่า
ُُۡ ۡ ُ َۡ َ َ َ
َ ۡ ‫ٱۡلن َو‬
‫ٱۡلنس إرّل رَلَعبد ر‬
]١١ :‫ ﴾ [اذلاريات‬٥٦ ‫ون‬ ‫ر‬ ‫﴿ وما خلقت ر‬
ความว่า “และฉันมิได้ บงั เกิดญินและมนุษย์มาเพื่ออื่นใดเว้ นแต่ให้
เคารพภักดีฉนั ” (อัซ-ซารี ยาต 51:56)
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน 7

ความหมายของ “เคารพภักดีฉัน ” คือ “ยืนยันในเอกภาพ


ของฉัน”
ข้ อสาคัญยิ่งที่เป็ นคาสัง่ ของอัลลอฮฺในเรื่ องนี ้คือ อัต-เตาฮีด
(เอกภาพของอัลลอฮฺ ) และหมายความว่า อัลลอฮฺองค์เดียวเท่านัน้
ที่เราต้ องเคารพภักดี ข้ อสาคัญ ยิ่งที่พระองค์ทรงห้ ามให้ ละเว้ นคือ
การตังภาคี
้ ใดๆ ต่อพระองค์ (อัช-ชิรฺกุ) นัน่ คือการวิงวอนต่อสิ่งอื่น
ให้ เคียงคู่พระองค์ หลักฐานในเรื่ องนี ้ คือพระดารัสของพระองค์ ผู้
ทรงสูงส่งว่า
ۡ َ ُ ُۡ ََ َ ُُۡ َ
]٦١ : ‫ۡشكوا برهرۦ شيا ﴾ [النساء‬
‫﴿۞وٱعبدوا ٱّلل وّل ت ر‬
ความว่า “จงเคารพภักดีอัล ลอฮฺ และจงอย่าตัง้ สิ่งใดเป็ นภาคีต่อ
พระองค์” (อัน-นิสาอ์ 4:36)

หลักสามประการ
ถ้ ามี ผ้ ูใ ดถามท่ า นว่า หลัก สามประการนัน้ คื อ อะไร ซึ่ ง
มนุษย์(มุสลิม)จาต้ องรู้จัก ก็พึงตอบว่า “บ่าวพึงรู้ จกั พระผู้อภิบาล
ของเขา ศาสนาของเขา และศาสนทูตของพระองค์ คือท่านนบีมหุ มั
มัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม (ขออัลลอฮฺประทานความโปรด
ปรานและความสันติแก่ทา่ น)”
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน 8

หลักที่หนึ่ง การรู้จักอัลลอฮฺ

ถ้ ามี ผ้ ูถามท่านว่า “ใครคือพระผู้อภิ บาลของท่าน?” ก็จ ง


บอกว่า “อัลลอฮฺคือพระผู้อภิบาลของฉัน ผู้ทรงบริ บาลฉัน และทรง
บริ บาลประชาชาติทงหลายด้ ั้ วยความโปรดของพระองค์ พระองค์
คือผู้ที่ฉันต้ องเคารพภักดี สาหรับฉันแล้ วไม่มีผ้ ูใดอีกที่จะเป็ นองค์
ให้ เคารพภักดีได้ นอกจากพระองค์”
หลักฐานคือพระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งซึ่งได้ ตรัสว่า
]٢ :‫ ﴾ [الفاحتة‬٢ ‫ي‬ ‫ر‬ َۡ ﴿
َ ‫ٱۡل ۡم ُد رّللر َرب ۡٱل َعَٰلَم‬
‫ر‬
ความว่า “บรรดาการสรรเสริ ญ เป็ นของอัลลอฮฺ ผู้ทรงอภิบาลแห่ง
โลกทังหลาย”
้ (อัล-ฟาติหะฮฺ 1:2)

ทุกสรรพสิ่ง – อื่นจากอัลลอฮฺแล้ ว - คือสิ่งที่พระองค์ทรงให้


มีขึ ้น และข้ าพเจ้ าก็เป็ นส่วนหนึง่ แห่งการมีขึ ้นนัน้
ถ้ ามี ผ้ ู ถามท่ า นว่ า “ท่ า นรู้ จัก พระผู้ อภิ บ าลของท่ า นได้
อย่างไร? ดังนัน้ จงกล่าวเถิ ด ว่า “ด้ วยสัญ ญาณหรื อเครื่ อ งหมาย
ต่างๆ ของพระองค์ และสิ่งทังปวงที ้ ่ถกู สร้ างขึ ้น ในหมูส่ ญ
ั ญาณของ
พระองค์นนคื ั ้ อกลางคืนและกลางวัน ดวงตะวันและดวงเดือน และ
จากสิ่งที่ถูกสร้ างอีก ก็คือชันฟ ้ ้ าทังหลายและแผ่
้ นดินนี ้ และผู้ที่อยู่
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน 9

ในทังสองนี
้ ้และที่อยูใ่ นระหว่างทังสองนี
้ ้”
หลักฐานคือพระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
َۡ َ ُ ‫ار َوٱلش ۡم ُس َو ۡٱل َق َم ُر َّل ت َ ۡس‬
ُ ‫ٱَل ُل َوٱنل َه‬ َٰ َ ‫﴿ َوم ۡرن َء‬
‫ج ُد وا ل رلش ۡم رس َو ّل ل رلق َم رر‬ ۡ ‫ايترهر‬
َ
]٦٣ :‫ ﴾ [فصلت‬٣٧ ‫نت ۡم إرياهُ ت ۡع ُب ُدون‬
َ ُ ‫َوْۤاوُدُجۡسٱ ِۤهَّلِل ٱَّلري َخلَ َق ُهن إن ُك‬
‫ر‬
ความว่า “และส่วนหนึ่ ง จากสัญ ญาณทัง้ หลายของพระองค์ คื อ
กลางคืนและกลางวัน และดวงตะวันและดวงเดือน จงอย่ากราบ
ดวงตะวัน และดวงเดื อ น แต่จ งกราบอัล ลอฮฺ ผ้ ูท รงสร้ างมัน ถ้ า
พระองค์เท่านันที
้ ่สเู จ้ าเคารพภักดี” (ฟุศศิลตั 41:37)
ََ ۡ ‫ٱۡلۡر َض ف سرتةر َأيام ُثم‬
‫ٱس َت َو َٰى َع‬
َۡ َ َ َ
‫ٱَّل ي خل َق ٱلس َم َٰ َو َٰ رت و‬ ‫ٱّلل ر‬ ُ ‫ك ُم‬ ُ َ
‫﴿ إر ن ر ب‬
‫ر‬
َ ‫ج‬ َ ۡ ٗ ُ َ ۡ ‫ۡٱل َع ۡر رش ُيغ رش‬
ۡ
‫وم ُم َسخ َرَٰت‬ ُ ‫ٱنل‬
ُّ ‫ار َي ۡطل ُب ُه ۥ َحث ريثا َوٱلش ۡم َس َوٱلق َم َر َو‬ َ ‫ٱَلل ٱنل َه‬

]١٦ :‫ ﴾ [األعراف‬٥٤ ‫ي‬ َ ‫ٱّلل َر ُّب ۡٱل َعَٰلَم‬


‫ر‬ ُ ‫ار َك‬ َ ‫ٱۡل ۡل ُق َو ۡٱۡلَ ۡم ُر َت َب‬
َ ۡ ‫بأَ ۡمره رۦا َأ َّل َ َُل‬
‫ر ر‬
ความว่า “แท้ จริ ง พระผู้อภิบาลของสูเจ้ าคืออัลลอฮฺ ผู้ทรงสร้ างชัน้
ฟ้าทังหลายและแผ่
้ นดินนี ้ในระยะหกวัน(ตามเกณฑ์ของพระองค์)
แล้ วพระองค์ ท รงมั่ น (อิ ส ตะวา)อยู่ เ หนื อ บัล ลัง ก์ ( อั ร ชฺ ) ทรงให้
กลางคืนครอบคลุมกลางวันในสภาพที่กลางคืนไล่ตามกลางวันโดย
รวดเร็ ว ทรงกาหนดดวงเดือนและหมู่ดวงดาวให้ อยู่ใต้ อานาจ(เอา
มาเป็ นประโยชน์ )ตามพระบัญ ชาของพระองค์ จงรู้ ไว้ เถิ ด เป็ น
(สิทธิ )ของพระองค์ในการสร้ างและการบัญ ชา ผู้ทรงจาเริ ญยิ่งคือ
พระผู้อภิบาลแห่งสากลโลก” (อัล-อะอฺรอฟ 7:54)

พระผู้อภิบาลเท่านันที
้ ่ต้องได้ รับการเคารพภักดี
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  10 

หลักฐานคือพระดารัสของของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
ُ َ ُ َ
‫رين مرن ق ۡبل رك ۡم ل َعلك ۡم‬
ُ ََ َ
َ ‫ك ۡم َوٱَّل‬ ُ
‫اس ٱع ُب ُد وا َربك ُم ر‬
‫ٱَّل ي خلق‬
ۡ ُ ‫ي َأ ُّي َها ٱنل‬َٰٓ َ ﴿
‫ا ا‬ َ َ َ َ ٗ‫َ َ َ َ ُ ُ ۡ َ َ َ ٗ َ َ ا َ َ ا‬ َ ُ َ
‫نز ل م َرن ٱلس َما رء َما ٗء‬ ‫ٱَّل ي جعل لكم ٱۡلۡرض فررَٰشا وٱلسماء برنا ء وأ‬ ‫ ر‬٢١ ‫تتقون‬
َ َ َ ُ ََ ٗ َ َ ُ َۡ َ َ ُ ٗ ۡ ََ
﴾ ٢٢ ‫نت ۡم ت ۡعل ُمون‬ ‫ّلل أندادا وأ‬‫فأ خ َر َج برهرۦ م َرن ٱثل َم َر َٰ رت رر ۡزقا لك ۡم فل َت َعلوا ر ر‬
]٢٢-٢١ :‫[ابلقرة‬
ความว่า “มนุษย์เอ๋ย จงเคารพภักดีพระผู้อภิบาลของสูเจ้ า ผู้ทรง
สร้ างสูเจ้ าและบรรดาคนก่อนหน้ าสูเจ้ า เพื่อสูเจ้ าจะได้ สารวมตน
(ยาเกรงต่อพระองค์ ) ผู้ทรงทาแผ่นดินนีเ้ ป็ นพืน้ ปู และชัน้ ฟ้าเป็ น
หลังคา และทรงหลัง่ น ้าจากฟากฟ้า และทรงให้ ผลไม้ ตา่ งๆ งอกเงย
ออกมาเป็ นเครื่ องยังชีพสาหรับสูเจ้ า ดังนัน้ จงอย่าตังภาคี
้ ตอ่ อัลลอ
ฮฺทงๆ
ั ้ ที่สเู จ้ ารู้อยู”่ (อัล-บะเกาะเราะฮฺ 2:21-22)

ท่านอิบนุ กะษีรฺ(ขออัลลอฮฺทรงเมตตาเขา) กล่าวว่า “ผู้ทรง


สร้ างสิ่งทังหลายเหล่
้ านี ้เท่านัน้ คือผู้ทรงไว้ ซงึ่ สิทธิแห่งการได้ รับการ
เคารพภักดี”
แบบต่างๆ ของการเคารพภักดีตามที่ อัลลอฮฺ ท รงบัญ ชา
เช่นการนอบน้ อมยอมรับ โดยสิ น้ เชิ ง , ความศรัท ธา, การบาเพ็ ญ
ความดี ซึ่งมีการวิงวอน, ความกลัว(ยาเกรง), ความหวัง, การมอบ
ความไว้ วางใจ, ความตระหนก, ความปรารถนา, ความหวาดกลัว,
การนอบน้ อ มถ่ อ มตน, ความหวาดหวั่น , การลุแ ก่ โทษ, การขอ
ความช่ ว ยเหลื อ , การขอความคุ้ มครอง, การวิ ง วอนขอความ
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  11 

ช่วยเหลือ, การเชือดสัตว์เพื่อเป็ นอาหารแก่คนยากจน, การบน และ


อื่น ๆอี กตามแบบของการเคารพภักดีนีซ้ ึ่ง อัลลอฮฺ ได้ ท รงบัญ ชา
ทังหมดนี
้ ้เพื่อพระองค์ผ้ สู งู ส่ง หลักฐานคือพระดารัสของพระองค์วา่
ٗ َ َ ََ َ
َٰ َ ‫﴿ َوأن ٱل ۡ َم‬
]١١ :‫ ﴾ [اجلن‬١٨ ‫ج َد رّللر فل ت ۡد ُعوا َم َع ٱّللر أ َحدا‬
‫س ر‬
ความว่า “และแท้ จริ ง มัสยิด(ที่แห่งการกราบไหว้ อลั ลอฮฺ )ทังหลาย

นันเป็
้ นของอัลลอฮฺ ดังนัน้ จงอย่าวิงวอนผู้ใดเคียงคู่อัลลอฮฺ ” (อัล-
ญิน 72:18)

โดยเหตุนี ้ ผู้ใดปฏิบตั ิสิ่งใดมิใช่เพื่ออัลลอฮฺ เขาก็เป็ นผู้ตงั ้


ภาคีตอ่ พระองค์ เป็ นผู้ปฏิเสธหลักธรรม หลักฐานคือพระดารัสของ
พระองค์ ผู้ทรงสูงส่งว่า
َ ‫ه َن َ َُلۥ بهرۦ َفإن َما ح‬ َ َ َ ً َٰ َ ُ
‫رند َربره ارۦ إرن ُهۥ‬
َ ‫رسابُ ُهۥ ع‬
‫ر‬ ‫ر‬ َٰ َ ‫اخ َر ّل بُ ۡر‬ ‫﴿ َو َمن يَ ۡد ع َم َع ر‬
‫ٱّلل إرلها ء‬
َ َ ۡ ۡ َ
]١١٣ : ‫ ﴾ [املؤمنون‬١١٧ ‫ّل ُيفل ُرح ٱلكَٰف ُررون‬
ความว่า “และผู้ใดวิงวอนขอต่อพระเจ้ าอื่นเคียงคูอ่ ลั ลอฮฺ ซึ่งเขาไม่
มี ห ลักฐานในข้ อนัน้ ดัง นัน้ บัญ ชี ส อบสวนของเขาจะอยู่ที่พ ระผู้
อภิ บาลของเขา แท้ จ ริ ง พวกปฏิ เสธนัน้ จะไม่พ บความส าเร็ จ ”
(อัล-มุอ์มินนู 23:117)

การดุอฺาอ์
ในหะดีษ มี ว่า “การขอพรเป็ นสมองของการเคารพภักดี ”
และหลักฐานคือดารัสของอัลลอฮฺที่มีวา่
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  12 

َ َ َ ُ ۡ َ َۡ َ ُ َ ۡ َ ۡ َ ‫َ َ َ َ ُّ ُ ُ ۡ ُ ا‬
‫ب و ن ع ۡن عر َباد رت‬
‫ر‬ ‫ك‬‫ت‬‫س‬ ‫ي‬ ‫ين‬ ‫َّل‬
‫ر‬ ‫ٱ‬ ‫ن‬ ‫إ‬
‫ر‬
ۡ‫ك‬
‫م‬ ‫جب ل‬‫﴿ وقا ل ر بكم ٱد عو رن أست ر‬
َ ُ ُ ََۡ
َ ‫ون َج َهن َم َداخرر‬
]١٦ :‫ ﴾ [اغفر‬٦٠ ‫ين‬ ‫ر‬ ‫سيدخل‬
ความว่า “พระผู้อภิบาลของเจ้ าตรัสว่า จงวิงวอนต่อฉัน ฉันจะตอบ
(การวิงวอน)แก่สเู จ้ า แท้ จริง ผู้โอหังต่อการเคารพภักดีแก่ฉันนัน้ จะ
เข้ าไปในนรกอย่างต่าต้ อย” (ฆอฟิ รฺ 40:60)

ความกลัว
หลักฐานในเรื่ องความกลัว คือพระดารัสของพระองค์ ผู้
ทรงสูงส่งว่า
ُ ُ ََ ََ
ُ ‫وه ۡم َو َخافُون إن ُك‬
َ ‫نتم ُّم ۡؤ رمن‬
]١٣١ :‫﴾ [آل عمران‬١٧٥ ‫ري‬ ‫ر ر‬ ‫﴿ فل َتاف‬
ความว่า “ดังนัน้ จงอย่ากลัวพวกมัน(พวกของชัยฏอน) แต่จงกลัว
ฉัน ถ้ าสูเจ้ าเป็ นผู้ศรัทธา (แท้ จริง)” (อาล อิมรอน 3:175)

ความหวัง
หลักฐานในเรื่ องความหวัง คือพระดารัสของพระองค์ ผู้
ทรงสูงส่งว่า
َ َ ۡ ۡ ُ َ َ ٗ َٰ َ ٗ َ َ ۡ َ ۡ َ ۡ َ َ َ‫َ َ َ َ َۡ ُ َ ا‬
‫ۡشك برع َربادةر َربره ارۦ أ َح َ َۢدا‬
‫﴿فمن َكن يرجوا لرقاء ربرهرۦ فليعمل عمل صل رحا وّل ي ر‬
]١١٦ :‫﴾ [الكهف‬١١٠
ความว่า “ดังนัน้ ผู้ใดหวัง ที่ จ ะพบพระผู้อ ภิ บ าลของเขา ก็ ให้ เขา
ประกอบการงานที่ดี และจงอย่าตังผู ้ ้ ใดเป็ นภาคีในการเคารพภักดี
พระผู้อภิบาลของเขา” (อัล-กะฮฺฟิ 18:110)
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  13 

การมอบความไว้ วางใจ
หลักฐานของการมอบความไว้ วางใจ (ตะวักกัล) คือพระ
ดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
ََ َ
ُ ‫َع ٱّللر َف َت َوَّكُ اوا إن ُك‬
َ ‫نتم ُّم ۡؤ رمن‬
]٢٦ :‫ ﴾ [املائدة‬٢٣ ‫ري‬ ‫ر‬ ‫﴿و‬
ความว่า “และจงมอบความไว้ วางใจพึ่งพิงต่ออัลลอฮฺ ถ้ าพวกท่าน
เป็ นผู้ศรัทธา” (อัล-มาอิดะฮฺ 5:23)

َ ََ ۡ
]٦ : ‫﴿ َو َمن َي َت َوّك َع ٱّللر ف ُه َو َح ۡس ُب ُه اۥ ﴾ [الطالق‬
ความว่า “และผู้ใดมอบความไว้ วางใจ ณ อัลลอฮฺ พระองค์ก็ทรง
เพียงพอแล้ วสาหรับเขา” (อัฏ-เฏาะลาก 65:3)

ความปรารถนา, ความตระหนก และการนอบน้ อมถ่ อมตน


หลัก ฐานของความปรารถนา, ความตระหนก และการ
นอบน้ อมถ่อมตน คือพระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
َ ُ ۡ َ َ َٰ َ ۡ َ ۡ
َ ‫ون َنا َر َغ ٗبا َو َر َه ٗبا َو ََكنُوا َنلَا َخَٰشر ع‬ َ ُ َٰ َ ُ ُ َ ۡ ُ
﴾٩٠ ‫ري‬ ‫ت ويدع‬ ‫س ررعون رف ٱۡلير ر‬ ‫﴿إرنهم َكنوا ي‬
]١٦ :‫[األنبياء‬
ความว่า “แท้ จริ ง เขาทัง้ หลายแข่งขันกันในความดีทงั ้ หลาย และ
วิ ง วอนต่ อ เราด้ วยความปรารถนาอย่ า งจริ ง ใจและด้ ว ยความ
ตระหนก และเขาทัง้ หลายเป็ นผู้ถ่ อ มตัว ต่ อ เรา” (อัล -อัน บิ ย าอ์
21:90)
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  14 

ความหวาดหวั่น
หลักฐานของความหวาดหวัน่ คือพระดารัสของพระองค์ผ้ ู
ทรงสูงส่งว่า
َ َ ُ َ ُ َ ُ َ ۡ ُ َ َۡ ََ
:‫ ﴾ [ابلقرة‬١٥٠ ‫﴿فل َتش ۡوه ۡم َوٱخش ۡو رن َو رۡلت رم ن ۡرع َم رت َعل ۡيك ۡم َول َعلك ۡم ت ۡه َت ُدون‬
]١١٦
ความว่า “ดังนัน้ จงอย่าหวาดหวัน่ พวกเขา แต่จงหวาดหวัน่ ต่อฉัน
และเพื่ อที่ ฉันจะได้ ให้ ค วามโปรดปรานของฉัน ครบถ้ วนแก่สูเจ้ า
และเพื่อที่สเู จ้ าจะได้ อยูใ่ นทางนา” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ 2:150)

การขอลุแก่ โทษ
อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
َ ُ َ ُ َ ُ ُ َ َ ۡ ُ ُ َ َۡ َ َۡ َ َ ُ َ ُ ََ
‫نص ون‬ ‫ريب اوا إر َٰل َربرك ۡم َوأ ۡسل ُرموا َُلۥ مرن قب رل أ ن يأتريكم ٱلعذاب ثم ّل ت‬ ‫﴿ وأن‬
]١٦ :‫ ﴾ [الزمر‬٥٤
ความว่า “และสูเจ้ าจงหันกลับคืนสู่พระผู้อภิบาลของสูเจ้ า (เพื่อขอ
อภัยโทษ) และจงนอบน้ อมต่อพระองค์ก่อนที่การลงโทษจะมีมายัง
สูเจ้ า แล้ วสูเจ้ าจะมิถกู ช่วยเหลืออีก” (อัซ-ซุมรั 39:54)

การขอความช่ วยเหลือ
หลักฐานในเรื่ องของการขอความช่วยเหลือคือพระดารัส
ของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
ُ ‫اك ن َ ۡس َتع‬
]١ :‫ ﴾ [الفاحتة‬٥ ‫ري‬ َ ‫اك َن ۡع ُب ُد ِإَوي‬
َ ‫﴿ إي‬
‫ر‬
ความว่า “พระองค์เท่านันที
้ ่เราเคารพภักดี และพระองค์เท่านันที
้ ่เรา
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  15 

ขอความช่วยเหลือ” (อัล-ฟาติหะฮฺ 1:5)

และในหะดีษมีวา่
]‫«إذا استعنت فاستعن بالل» [أمحد والرتمذي‬
ความว่า “ถ้ าพวกท่านต้ อ งการขอความช่วยเหลื อ ก็ จ งขอความ
ช่วยเหลือต่ออัลลอฮฺ” (บันทึกโดยอะห์มดั และอัต-ติรมิซีย์)

การขอความคุ้มครอง
หลั ก ฐานในการขอความคุ้ มครองคื อ พระด ารั ส ของ
พระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
َ
‫ َمل ررك ٱنل ر‬١ ‫اس‬
]٢-١ :‫ ﴾ [انلاس‬٢ ‫اس‬ ‫ب ٱنل ر‬ َ ُ ُ ُۡ
‫﴿ قل أعوذ برر ر‬
ความว่า “จงกล่าวเถิด ฉันแสวงความคุ้มครองต่อพระผู้อภิบาลแห่ง
มวลมนุษย์ ผู้ทรงครอบครองมวลมนุษย์” (อัน-นาส 114:1-2)

การวิงวอนขอความช่ วยเหลือ
หลักฐานของการวิงวอนขอความช่วยเหลื อคือพระดารัส
ของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
َ َٰٓ َ َ ۡ َ َۡ ُ َ ُ َ َ ‫ٱس َت‬ ُ َ َ ُ َ َۡ ۡ
ۡ ‫ك ۡم َف‬
‫لئركةر‬ ‫جا َب لك ۡم أ رن ُم رم ُّد كم برأ لف مرن ٱلم‬ ‫﴿ إر ذ تستغريثو ن ر ب‬
]١ :‫ ﴾ [األنفال‬٩ ‫ري‬َ ‫ُم ۡردرف‬

ความว่า “เมื่อสูเจ้ าวิงวอนขอความช่วยเหลือต่อพระผู้อภิบาลของ


สูเจ้ า ดังนันพระองค์
้ ได้ ทรงสนองสูเจ้ าว่า ฉันจะช่วยสูเจ้ าด้ วยมลาอิ
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  16 

กะฮฺหนึง่ พันตนทยอยกันมา” (อัล-อันฟาล 8:9)

การเชือดสัตว์ เพื่อเป็ นอาหารแก่ คนยากจน


หลักฐานของการเชือดสัตว์คือพระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รง
สูงส่งว่า
َ َ َ َ َ َ َۡ َ ‫اي َو َم َمات ر ر‬ َۡ َ ُ َ ُۡ
‫َشيك َُلۥ‬
‫ ّل ر‬١٦٢ ‫ّلل ر رب ٱلعَٰل رمي‬ ‫ر‬
َ ‫َم َي‬ ‫﴿ قل إر ن َصل رت َون ُس رك و‬
]١١٦-١١٢ :‫ ﴾ [األنعام‬١٦٣ ‫ي‬ َ ‫ت َو َأنَا أَو ُل ٱل ۡ ُم ۡسلرم‬ ُ ‫َوب َذَٰل َرك أُم ۡرر‬
‫ر‬ ‫ر‬
ความว่า “จงกล่าวเถิด แท้ จริ ง การนมาซของฉัน การเชือดของฉัน
การมี ชี วิ ต ของฉั น การตายของฉั น ล้ ว นแล้ ว เพื่ อ อัล ลอฮฺ พ ระผู้
อภิบาลแห่งสากลโลก ไม่มีภาคีใดๆ แก่พระองค์ และสิ่งเหล่านันคื ้ อ
สิ่ ง ที่ ฉั น ได้ ถู ก บั ญ ชา และฉั น จะเป็ นผู้ แรกในหมู่ ผ้ ู นอบน้ อม
ทังหลาย”
้ (อัล-อันอาม 6:162-163)

หลักฐานจากหะดีษ คือหะดีษที่วา่
‫«لعن ه‬
]‫الل من ذبح لغري الل» [مسلم‬
ความว่า “อัลลอฮฺจะทรงสาปแช่ง(หมายถึงงดเมตตา)ผู้ที่เชือดสัตว์
มิใช่เพื่ออัลลอฮฺ” (บันทึกโดยมุสลิม)

การบน
หลัก ฐานของการบนหรื อ การสาบานคื อ พระด ารั ส ของ
พระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  17 

ُّ َ ‫ون يَ ۡو ٗما ََك َن‬


ٗ ‫َشهُۥ ُم ۡس َت رط‬
]٣ :‫ ﴾ [اإلنسان‬٧ ‫ريا‬
َ ُ َ ََ ۡ َ ُ
‫﴿ يُوفون برٱنلذرر ويخاف‬
ความว่า “พวกเขาปฏิบตั ิตามการบน(หรื อการสาบาน) และกลัวต่อ
วันหนึ่ง(ในปรโลก)ซึ่งความโหดร้ ายของมันจะกระจายไปทัว่ ” (อัล-
อินซาน 76:7)
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  18 

หลักที่สอง การรู้จักอิสลามด้ วยหลักฐาน

อิ ส ลาม คื อ การนอบน้ อมต่ อ อั ล ลอฮฺ แ ละยอมรั บ ใน


เอกภาพของพระองค์ ยินยอมต่อพระองค์ด้วยการเคารพเชื่ อฟั ง
และการไม่ยอมต่อการตังภาคี
้ และคูเ่ คียงต่างๆ
ซึง่ มีสามอันดับคือ
ก. อัล-อิสลาม
ข. อัล-อีมาน
ค. อัล-อิหฺสาน

อันดับที่ 1 อัล-อิสลาม
หลักของอิสลามมีห้าประการ
1. การปฏิญาณว่าไม่มีพระเจ้ าอื่นใดที่ ควรแก่การเคารพภักดี
อย่างแท้ จ ริ ง นอกจากอัล ลอฮฺ และมุหัม มัด เป็ นเราะสูล
ของอัลลอฮฺ
2. การดารงนมาซ
3. การจ่ายซะกาต
4. การถือศีลอดในเดือนเราะมะฎอน
5. การบาเพ็ญหัจญ์ ณ นครมักกะฮฺ
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  19 

หลักฐานในคาปฏิ ญ าณ “ไม่ มี พ ระเจ้ าอื่ น ใดที่แ ท้ จ ริ ง


นอกจากอัลลอฮฺ” คือ ดารัสพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
َ ‫َا‬ ۡ ‫ُ َ َ ۡ َ َ َٰٓ َ ُ ُ ُ ۡ ۡ َ ا‬ َ ‫َ َ ُ َ َا‬
‫لئركة َوأولوا ٱلعرل رم قائ ر َمَۢا برٱلق ۡرس رط ّل إرلَٰ َه إرّل‬ ‫ٱّلل أن ُهۥ ّل إرلَٰ َه إرّل هو وٱلم‬ ‫﴿ ش رهد‬
ُ ‫ٱۡلك‬ ۡ
َ ‫يز‬ُ ‫ُه َو ۡٱل َعز‬
]١١ :‫ ﴾ [آل عمران‬١٨ ‫ريم‬ ‫ر‬
ความว่ า “อัล ลอฮฺ ท รงเป็ นพยานว่า ไม่ มี พ ระเจ้ า อื่ น ใดที่ แ ท้ จ ริ ง
นอกจากพระองค์ อีกทัง้ มลาอิกะฮฺและปวงผู้มีความรู้ (ก็ล้วนเป็ น
พยานเช่นเดียวกัน ) โดยพระองค์ได้ ดารงไว้ ซึ่งความยุติธรรม ไม่มี
พระเจ้ าอื่นใดที่แท้ จริ งนอกจากพระองค์ ผู้ทรงอานาจ ผู้ทรงปรี ชา
ญาณ” (อาล อิมรอน 3:18)

ความหมายของข้ อนี ้ คือ ไม่ มีผ้ ู ใดมีสิทธิ ท่ ีจะได้ รับการ


เคารพภักดีนอกจากอัลลอฮฺองค์ เดียว
คาว่า “ไม่ มี พ ระเจ้ าอื่ น ใด” เป็ นการปฏิ เสธทัง้ หลายทัง้
ปวงว่าจะให้ การเคารพภักดีแก่ผ้ ใู ดไม่ได้ นอกจากแก่อลั ลอฮฺเท่านัน้
คาว่า “นอกจากอั ล ลอฮฺ ” เป็ นการยื น ยัน ว่าการเคารพ
ภักดีมี เพื่ ออัลลอฮฺ ผู้ทรงเอกะ ไม่มี การตัง้ ภาคีใดๆ ในการเคารพ
ภั ก ดี ต่ อ พระองค์ ดัง ที่ ไ ม่ มี ผ้ ูใ ดเป็ นหุ้ นส่ ว นกั บ พระองค์ ใ นการ
ปกครองของพระองค์
พระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งต่อไปนีส้ ามารถอธิบาย
อายะฮฺข้างต้ นได้ กระจ่างชัด
พระองค์ได้ ตรัสว่า
َ َ َ َ ‫ا‬ َ َ ُ َۡ َ َ ۡ
‫ إرّل ٱَّلري ف َط َر رن فإرن ُهۥ‬٢٦ ‫ريم رۡلبريهر َوق ۡو رمهرۦا إرن رن بَ َراء مرما ت ۡع ُب ُدون‬ ‫﴿ ِإَوذ قال إربرَٰه‬
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  20 

َ
-٢١ :‫ ﴾ [الزخرف‬٢٨ ‫ج ُعون‬ َۡ ۡ ُ ََ َ َٗ َ َ َ َََ َ َ َۡ َ
‫ وجعلها َك رمَۢة باقرية رف عقربرهرۦ لعلهم ير ر‬٢٧ ‫رين‬
‫سيهد ر‬
]٢١
ความว่า “และเมื่ออิบรอฮีมได้ กล่าวแก่บิดาของเขาและหมู่ชนของ
เขาว่า แท้ จริ งฉันไม่ขอเกี่ยวข้ องกับสิ่งที่ท่านเคารพภักดี นอกจาก
กับ (อัล ลอฮฺ )ผู้ได้ ทรงบังเกิ ดฉัน เพราะพระองค์จ ะทรงน าทางฉัน
และอิบรอฮีมได้ ทาให้ คากล่าวนี ้อยู่ยืนยงในหมู่ลูกหลานรุ่นต่อๆไป
ของเขา เพื่อพวกเขาจะได้ หวนคืนสูม่ นั ” (อัซ-ซุครุฟ 43:26-28)

พระองค์ยงั ได้ ตรัสอีกว่า


َ َ َ َ ُ ‫ا‬ َ َ َ َ َٰ َ ۡ َ ۡ َ َٰٓ َ ۡ ُ
‫ٱّلل َوّل‬ ‫ب ت َعال ۡوا إ ر َٰل َك َرمة َس َواء بَ ۡي َن َنا َو َب ۡي َنك ۡم أّل ن ۡع ُب َد إرّل‬
‫﴿ قل يأهل ٱلكرت ر‬
ُ َُ َ َ ُ َ
ٗ َۡ ً َۡ َ ُ َۡ َ َ ََ ۡ َ َ ۡ ُ‫ن‬
‫ون ٱّللر فإرن ت َول ۡوا فقولوا‬‫ۡشك برهرۦ شيا وّل يتخرذ بعضنا بعضا أربابا مرن د ر‬ ‫ر‬
َ ُ ۡ ُ َ ُ َ ۡ
]١٦ :‫ ﴾ [آل عمران‬٦٤ ‫ٱشهدوا برأنا مسل رمون‬
ความว่า “จงกล่าวเถิ ด (มุหัม มัด ) โอ้ ชนแห่งคัม ภี ร์ทัง้ หลาย! จง
มายังถ้ อยคาที่เสมอกันระหว่างพวกเราและพวกท่าน (นั่นคือการ
ยอมรับว่า) เราจะไม่เคารพภักดีผ้ ใู ดนอกจากอัลลอฮฺ และเราจะไม่
ตังภาคี
้ ใดๆ ต่อพระองค์ และบางคนในพวกเราจะไม่ยึดเอาบางคน
เป็ นผู้บริ บาลนอกจากอัลลอฮฺ แต่ถ้าพวกเขาหันกลับ ดังนัน้ พวก
ท่านจงกล่าวเถิดว่า ดังนัน้ จงเป็ นพยานด้ วยว่าเราเป็ นมุสลิมผู้มอบ
ตนต่ออัลลอฮฺแล้ ว” (อาล อิมรอน 3:64)

หลั ก ฐานในการปฏิ ญ าณว่ า “มุ หั ม มั ด เป็ นเราะสู ล


หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  21 

ของอัลลอฮฺ” คือพระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า


ُ َ َ ُ ُ َ ُ ‫ا‬ ََ
‫﴿ لق ۡد َجا َءك ۡم َر ُسول م ۡرن أنفسرك ۡم َع رزيز َعل ۡيهر َما َعن ُّرت ۡم َح رريص َعل ۡيكم‬
]821 : ‫ ﴾ [اتلوبة‬١٢٨ ‫ري َر ُءوف رحريم‬ َ ‫بٱل ۡ ُم ۡؤ رمن‬
‫ر‬
ความว่า “โดยแน่นอนยิ่ง ได้ มีมายังสูเจ้ าแล้ ว ซึ่งเราะสูล(ศาสนทูต)
คนหนึง่ จากหมูพ่ วกเจ้ าเอง เป็ นที่กงั วลแก่เขา(ในเรื่ อง)ที่ให้ ทกุ ข์แก่
สูเจ้ า เป็ นผู้ที่หวังดีต่อสูเจ้ า แก่ผ้ ศู รัทธานันเขาเป็
้ นผู้เอ็นดูผ้ เู มตตา
ยิ่งเสมอ" (อัต-เตาบะฮฺ 9:128)

ความหมายของการปฏิ ญ าณว่า “มุหัม มัด เป็ นเราะสูล


ของอัลลอฮฺ” ก็คือ เราต้ องปฏิบตั ิตามคาสัง่ ของท่าน เชื่อตามที่ท่าน
ได้ บอกกล่าว หลีกให้ พ้นจากสิ่งที่ท่านสัง่ ห้ ามและกล่าวเตือน และ
จะต้ องไม่เคารพภักดีอลั ลอฮฺนอกจากด้ วยแนวทางที่ท่านได้ วางไว้
เท่านัน้

หลักฐานในการนมาซ (ละหมาด) การจ่ายซะกาต และการ


ให้ ความหมายเอกภาพของอัล ลอฮฺ คือ พระดารัสของพระองค์ผ้ ู
สูงส่งว่า
ُ‫ا‬
ُۡ َ
‫ريموا ٱلصل َٰو َة َو ُيؤتوا‬ َ ‫ي َ َُل ٱل‬
ُ ‫رين ُح َن َفا ا َء َو ُيق‬ ُۡ َ
َ ‫ُمل رص‬
‫ر‬ ‫﴿ َو َما أم ُرر اوا إرّل رَلَ ۡع ُب ُدوا ٱّلل‬
َ ۡ ُ َ َٰ َ َ َ َٰ َ
]١ :‫ ﴾ [ابلينة‬٥ ‫رين ٱلقي ر َمةر‬ ‫ٱلزكوة وذل رك د‬
ความว่า “และพวกเขามิ ได้ ถูก บัญ ชาเป็ นอย่ างอื่ น นอกจากให้
เคารพภักดีอัล ลอฮฺ เป็ นผู้สุจริ ตมั่นในการภักดีต่อพระองค์ เป็ นผู้
เที่ยงตรง และดารงนมาซ และจ่ายซะกาต นัน่ แหละคือศาสนาอัน
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  22 

เที่ยงธรรม” (อัล-บัยยินะฮฺ 98:5)

หลักฐานในการถือศีลอด คือพระดารัสของพระองค์ผ้ ูทรง


สูงส่งว่า
ُ َ ََ َ ُ َ َ ُ َ ُ ََ ُ َُ َ َ َ
‫رين مرن ق ۡبل رك ۡم‬
َ ‫َع ٱَّل‬ ‫ٱلصيام كما كت رب‬ ‫يأ ُّي َها ٱَّل‬
‫رين َءامنوا كت َرب عل ۡيك ُم ر‬ َٰٓ ﴿
َ ُ َ ُ َ
]١١٦ :‫ ﴾ [ابلقرة‬١٨٣ ‫ل َعلك ۡم تتقون‬
ความว่า “บรรดาผู้ศรัทธาเอ๋ย! การศีลอดได้ ถกู กาหนดสาหรับสูเจ้ า
เช่นที่ได้ ถูกกาหนดสาหรับบรรดาคนก่อนหน้ าสูเจ้ า เพื่อสูเจ้ าจะได้
ยาเกรง” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ 2:183)

หลักฐานในการบาเพ็ญ หัจญ์ คือพระดารัสของพระองค์ผ้ ู


สูงส่งว่า
ََ َ َ َ َ َ ُ َ َ َ َۢ ُ َٰ‫﴿ فريهر َء َاي‬
‫اس حر ُّج‬
‫ّلل َع ٱنل ر‬ ‫ريم َو َمن د خل ُهۥ َك ن َءام ٗرنا َو ر ر‬
َ ‫ام إبۡ َر َٰه‬
‫ت بيرنَٰت مق ر‬
َ ‫ن َعن ۡٱل َعَٰلَم‬ ٗ َ َۡ َ ََ ۡ َ َۡۡ
‫ ﴾ [آل‬٩٧ ‫ي‬ ‫ر‬ ‫ٱّلل َغ ر ي‬
َ ‫ك َف َر َفإن‬
‫ر‬
َ
‫ن‬ َ ‫يل َو‬
‫م‬ ‫ت م رن ٱستطاع إرَلهر سب ر‬ ‫ٱۡلي ر‬
‫ر‬
]١٣ :‫عمران‬
ความว่ า “และส าหรั บ อั ล ลอฮฺ คื อ การท าหั จ ญ์ ณ บ้ านแห่ ง นี ้
(หมายถึงนครมักกะฮฺ ) เป็ นหน้ าที่ของผู้ที่สามารถหาทางไปถึงมัน
ได้ และหากผู้ใดปฏิเสธ ดังนันแล้ ้ วอัลลอฮฺทรงร่ ารวยจากสรรพสิ่ง
ทังหลาย(คื
้ อไม่จาเป็ นต้ องพึง่ พาต่อสิ่งใด)” (อาล อิมรอน 3:97)
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  23 

อันดับที่ 2 อัล-อีมาน
ความศรั ท ธามี ม ากกว่าเจ็ ด สิ บ สาขา ที่ เลิ ศ ที่ สุด คื อ การ
กล่าวว่า “ไม่มี พ ระเจ้ าอื่นใดที่ แท้ จ ริ งนอกจากอัลลอฮฺ ” และที่ ต่า
ที่สุดคือการเอาสิ่งเป็ นอันตรายออกจากหนทาง ความละอายจาก
การทาบาปก็เป็ นส่วนหนึง่ ของความศรัทธา
หลักการของศรัทธามีหกประการ คือท่านต้ องศรัทธา
1. ต่ออัลลอฮฺ
2. ต่อมลาอิกะฮฺของพระองค์
3. ต่อพระคัมภีร์ทงหลายของพระองค์
ั้
4. ต่อเราะสูล(ศาสนทูต)ทังหลายของพระองค์

5. ต่อวันสุดท้ าย
6. ต่อกฎแห่งการกาหนดสภาวะทังที ้ ่ดีและร้ าย

หลัก ฐานจากอัล กุรอานว่าด้ วยหลักทัง้ หกประการนี ้ คื อ


พระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
ۡ َ ۡ َۡ َ ۡ َ ۡ َ َ ۡ ُ َ ُ ُ ُّ َ ُ َ ۡ َ ۡ
‫ب َولَٰكرن ٱل رب َم ۡن َء َام َن‬
‫ۡش رق وٱلمغرر ر‬
‫﴿ ۞ليس ٱل رب أن تولوا وجوهكم ق ربل ٱلم ر‬
َ ۡ َ َ َٰٓ َ َ ۡ َ ۡ
]١٣٣ :‫ب َوٱنلب ر ري َن﴾ [ابلقرة‬
‫لئركةر وٱلكرتَٰ ر‬ ‫برٱّللر َوٱَلَ ۡو رم ٱٓأۡلخ ررر وٱلم‬
ความว่า “ไม่ใช่(ประเด็นของ)คุณธรรมที่สเู จ้ าหันหน้ าของสูเจ้ าทาง
ไปตะวั น ออกหรื อ ตะวัน ตก แต่ ว่ า คุ ณ ธรรมนั น้ คื อ ผู้ ศรั ท ธา
ต่อ อัล ลอฮฺ วัน สุด ท้ าย มลาอิ ก ะฮฺ คัม ภี ร์ แ ละบรรดานบี ” (อัล -
บะเกาะเราะฮฺ 2:177)
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  24 

หลักฐานในกฎแห่งการกาหนดสภาวะ คือพระดารัสของ
พระองค์ ผู้ทรงสูงส่งว่า
َ َۡ َ ۡ َ ُ
]٦١ :‫ ﴾ [القمر‬٤٩ ‫َش رء خلق َنَٰ ُه برق َدر‬ ‫﴿ إرنا ك‬
ความว่า “แท้ จริ ง ทุกๆ สิ่งนัน้ เราได้ สร้ างมันด้ วยกฎสภาวะ” (อัล-
เกาะมัรฺ 54:49)

อันดับที่ 3 คือ อัล-อิหสฺ าน


อัล-อิหฺสาน มีเพียงประการเดียว นัน่ คือ
‫ه‬ ‫ه‬
]‫ فإن لم تكن تر هاه فإنه يراك» [متفق عليه‬،‫«أن تعبهد الل كأنك تر هاه‬
ความว่า “ท่านต้ องเคารพภักดีอลั ลอฮฺประหนึง่ ท่านเห็นพระองค์ ถ้ า
ท่านไม่เห็นพระองค์ พระองค์ก็ทรงเห็นท่านอยู่ดี” (บันทึกโดยอัล-บุ
คอรี ย์และมุสลิม)

หลักฐานคือพระดารัสของอัลลอฮฺผ้ ทู รงสูงส่งว่า
َ ۡ ُّ ُ َ َ َ
]١٢١ :‫ ﴾ [انلحل‬١٢٨ ‫رين هم َمس ُرنون‬ ‫ٱّلل َم َع ٱَّل‬
‫رين ٱتقوا وٱَّل‬ َ ‫﴿ إن‬
‫ر‬
ความว่า “แท้ จริ ง อัลลอฮฺทรงอยู่กับบรรดาผู้ยาเกรง และบรรดาผู้
มีอหิ ฺสาน(กระทาการดี)” (อัน-นะหฺลิ 16:128)

และพระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
َ ‫ٱلسجد‬ َ َ ُّ َ َ َ ُ َُ َ َ ََ َۡ ََ ۡ َََ
‫رين‬ ‫ وتقلبك رف َٰ ر‬٢١٨ ‫ ٱَّلري يرىَٰك حري تقوم‬٢١٧ ‫يز ٱلرحري رم‬‫﴿ وتوّك َع ٱلع رز ر‬
ُ ‫يع ۡٱل َعل‬
]٢٢٦ -٢١٣ : ‫ ﴾ [الشعراء‬٢٢٠ ‫ريم‬ ُ ‫ إن ُهۥ ُه َو ٱلس رم‬٢١٩
‫ر‬
ความว่า “และจงมอบที่พึ่งยังพระผู้ทรงอานาจ ผู้ทรงเมตตาเสมอ ผู้
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  25 

ทรงเห็นเจ้ าระหว่างที่สเู จ้ ายืนอยู่(ในการนมาซ) และการเคลื่อนไหว


ของเจ้ าท่ามกลางปวงผู้กราบสุญูด แท้ จริ ง พระองค์คือผู้ทรงได้ ยิน
ผู้ทรงรอบรู้เสมอ” (อัช-ชุอะรออ์ 26:217-220)

และพระดารัสของอัลลอฮฺผ้ ทู รงสูงส่งว่า
ُ َ َ ُ َ َ ُ ُ َ ۡ َ ُ ُ َ
‫﴿ َو َما تكون رف شأ ن َو َما ت ۡتلوا م ۡرن ُه مرن ق ۡر َءان َو ّل ت ۡع َملون م ۡرن ع َم رل إرّل كنا‬
َ ُ ُ ۡ ً ُ ُ َ
]١١ : ‫َعل ۡيك ۡم ش ُهودا إرذ تفريضون فريهر ﴾ [يونس‬
ความว่า “และไม่วา่ เจ้ าจะอยูใ่ นกิจการใด และไม่วา่ เจ้ าจะอ่านส่วน
ใดของอัลกุรอาน และไม่วา่ สูเจ้ าทังหลายจะท
้ าการใดๆ เราก็ได้ เป็ น
พยานต่อสูเจ้ า เมื่อสูเจ้ าง่วนอยูใ่ น(กิจการ)นัน”
้ (ยูนสุ 10:61)

หลักฐานจากหะดีษคือเรื่ องของท่านญิ บรี ลอันเป็ นที่ร้ ู กัน


แพร่หลาย ซึ่งท่านอุมรั ฺ อิบนุ อัล-ค็อฏฏอบ ได้ รายงานไว้ โดยกล่าว
ว่า “ครัง้ หนึ่งขณะที่เรากาลังนัง่ อยู่กบั ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ
วะสัลลัม ก็มีชายคนหนึ่งปรากฏขึ ้นมาต่อหน้ าพวกเรา เสื ้อผ้ าของ
เขาขาวมาก ผมของเขาด าขลับ ไม่ มี ร่ อ งรอยของการเดิ น ทาง
ปรากฏให้ เห็น และไม่มี ผ้ ูใดในหมู่พ วกเรารู้ จักเขาเลย เขานั่งลง
ตรงหน้ าท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม หัวเข่าทังสองของ

เขาทาบกับหัวเข่าของท่านนบี และวางมือทังสองของเขาบนขาทั
้ ง้
สองของท่ า น และเขาพู ด ว่า “โอ มุ หัม มัด ! จงบอกฉั น เกี่ ย วกั บ
ศาสนาอิสลาม” ท่านนบีตอบว่า “คือการปฏิญาณว่า ไม่มีพระเจ้ า
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  26 

องค์ ใดที่ แท้ จ ริ ง นอกจากอัล ลอฮฺ และมุหัม มัด เป็ นศาสนทูตของ


พระองค์ ท่านต้ องดารงการนมาซ จ่ายซะกาต ถือศีลอดเดือนเราะ
มะฎอน และบาเพ็ญหัจญ์ ณ อัล-บัยตฺ(มักกะฮฺ)ถ้ ามีความสามารถ
หาหนทางไปถึงได้ ” เขา(ญิบรี ล) พูดว่า “ท่านพูดจริ งแล้ ว” พวกเรา
พากันแปลกใจที่เขาถามท่าน(นบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม)
และบอกว่ า ท่ า นพู ด ถู ก แล้ ว เขาถาม ต่ อ ไปว่ า “จงบอกฉั น
เกี่ ย วกับ อัล -อี ม าน” ท่ านนบี ต อบว่า “คื อ ท่ านศรั ท ธาต่อ อัล ลอฮฺ
มลาอิ ก ะฮฺ ข องพระองค์ คัม ภี ร์ ทั ง้ หลายของพระองค์ เราะสู ล
ทังหลายของพระองค์
้ วันสุดท้ ายและกฎแห่งการกาหนดสภาวะ ทัง้
ที่เป็ นเรื่ องดีและเรื่ องเลวร้ ายของมัน” เขาพูดต่อไปว่า “โปรดบอก
ฉันเกี่ยวกับเรื่ องอัล-อิหฺสาน” ท่านนบีตอบว่า “คือท่านเคารพภักดี
อัล ลอฮฺ ป ระหนึ่ ง ท่ า นเห็ น พระองค์ แต่ ถ้ าท่ า นไม่ เห็ น พระองค์
พระองค์ก็ทรงเห็นท่าน” เขาพูดอีกว่า “โปรดบอกฉันเกี่ ยวกับอัส -
สาอะฮฺ(วันแห่งโลกาวสาน)” ท่านนบีบอกว่า “ผู้ถกู ถามไม่ร้ ูดีไปกว่า
ผู้ถาม” เขาพูดว่า “โปรดบอกฉันเกี่ยวกับเครื่ องหมายต่างๆ ของมัน”
ท่านนบีตอบว่า “คือการที่ทาสีจะคลอดลูกซึ่งเป็ นนายของนาง และ
ท่านจะเห็นคนเลี ้ยงแกะที่อนาถาเดินเท้ าเปล่าได้ แข่งขันกันสร้ างตึก
สูงๆ” หลังจากชายแปลกหน้ าคนนันจากไปแล้ ้ ว หลายวัน ท่านนบีก็
ถามฉันว่า “โอ้ อุมรั ฺ ท่านรู้ ไหมผู้ที่มาถามนัน้ เป็ นใคร?” ฉันตอบว่า
“อัลลอฮฺและเราะสูลของพระองค์ร้ ูดีกว่า” ท่านบอกว่า “นี่คือญิบรี ล
เขามาหาพวกท่านเพื่อสอนในกิจการศาสนาของพวกท่าน” (มุสลิม)
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  27 

หลักที่สาม การรู้จักท่ านนบี

นั่น คื อ มุหัม มัด ศ็ อ ลลัล ลอฮฺ อะลัย ฮิ วะสัล ลัม ท่ า นชื่ อ


มุหัมมัด บุตรของท่านอับดุลลอฮฺ บุตรของท่านอับดุลมุฏเฏาะลิบ
บุตรของท่านฮาชิมแห่งตระกูลกุร็อยชฺ และกุร็อยชฺเป็ นชาวอาหรับ
ชาวอาหรับคือผู้สืบเชื ้อสายมาจากท่านนบีอิสมาอีล บุตรของท่าน
นบีอิบรอฮีม อัล-เคาะลี ล ขอความโปรดปรานและความสันติอัน
ประเสริฐยิ่งจงมีแก่ทา่ นและนบีของเราด้ วย
ท่านเกิดที่นครมักกะฮฺอนั มีเกียรติ
ท่านสิ น้ ชี วิต เมื่ ออายุได้ ห กสิ บ สามปี คื อสี่ สิ บ ปี แรกก่ อ น
ท่านเป็ นนบี และอีกยี่สิบสามปี หลังจากที่ถูกแต่งตังให้ ้ เป็ นนบีและ
เราะสูล
ท่า นเป็ นนบี ด้ ว ยโองการ อิ ก เราะอ์ (จงอ่า น) (อัล -อะลัก
96:1-5) และเป็ นเราะสูล ด้ วยโองการในซู เราะฮฺ อัล -มุดดัษ ษิ รฺ(ผู้
คลุมกายอยู)่ (อัล-มุดดัษษิรฺ 74:1-7)
ท่านอยูท่ ี่นครมักกะฮฺ
อัลลอฮฺได้ ทรงแต่งตังท่ ้ านโดยมอบหมายให้ ทาหน้ าที่เตือน
สาทับถึง การตัง้ ภาคี (กับอัล ลอฮฺ )และเชิ ญ ชวนไปสู่เอกภาพของ
พระองค์(เตาฮีด)
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  28 

หลักฐานคือพระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
ۡ ََ ۡ ُ َ
ُّ ‫ َو‬٤ ‫ك َف َطه ۡر‬
‫ٱلر ۡج َز‬
َ َ َ َ َ َ َ َ َ
ۡ ‫ك‬
‫ و ثرياب‬٣ ‫ب‬ ُ ُ ۡ َ ُّ َٰٓ َ ﴿
‫ر‬ ‫ و ر بك ف ر‬٢ ‫ قم فأ ن رذ ر‬١ ‫يأ يها ٱلمدث رر‬
]٣-١ :‫ ﴾ [املدثر‬٧ ‫ب‬ ۡ َ َ َ َ
ۡ ‫ٱص‬ ُ ۡ َ َۡ َُۡ ََ ۡ ُ ۡ َ
‫ ول رربرك ف ر‬٦ ‫ وّل تمن تستك رث‬٥ ‫فٱهجر‬
ความว่า “เจ้ าผู้คลุมกายอยู่เอ๋ย จงลุกขึน้ และตักเตือน และจงแซ่
ซ้ องความเกรี ยงไกรของพระผู้อภิบาลของเจ้ า ส่วนอาภรณ์ของเจ้ า
นันจงรั
้ กษาให้ สะอาด และจงหลีกห่างจากสิ่งโสมม และจงอย่าทา
คุณ เพื่ อหวังให้ ได้ ม าก และจงอดทนเพื่ อ (ภารกิจในทางของ)พระ
อภิบาลของเจ้ า” (อัล-มุดดัษษิรฺ 74:1-7)

ความหมายของ “จงลุกขึน้ และตักเตือน” คือตักเตือนให้


เลิกการตังภาคี
้ เทียบเทียมอัลลอฮฺ และเชิญชวนสูเ่ ตาฮีด
“จงแซ่ซ้องความเกรี ยงไกรของอัลลอฮฺ ” คือ ให้ สดุดีความ
ยิ่งใหญ่ของอัลลอฮฺด้วยการยืนยันเตาฮีดแก่พระองค์
“ส่วนอาภรณ์ ของเจ้ าก็ จงรักษาให้ ส ะอาด” คือทาให้ การ
งานของเจ้ าเกลี ้ยงเกลาจากการตังภาคี ้ ตอ่ อัลลอฮฺ(อัช-ชิรฺก)ุ
“และจงหลีกห่างจากสิ่งโสมม” สิ่งโสมมคือเจว็ดต่างๆ จง
ทิ ้งมันและผู้บูชามันด้ วย อย่าให้ มีราคีใดๆ ของมันและผู้กราบไหว้
มันมาเกี่ยวข้ อง
ท่า นนบี ได้ เชิ ญ ชวนสู่เตาฮี ด เป็ นเวลาสิ บ ปี หลัง จากนัน้
ท่านได้ ขึ ้นสู่ชนฟ
ั ้ ้ า(ในคืนมิอฺรอจญ์ ) และการนมาซวันละห้ าเวลาก็
ได้ ถกู กาหนดแก่ทา่ น ท่านได้ นมาซในนครมักกะฮฺสามปี
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  29 

หลังจากนันก็
้ ได้ รับคาสัง่ ให้ อพยพ(ฮิจญ์ เราะฮฺ)ไปนครอัล-
มะดีนะฮฺ
การอพยพนี ้ หมายถึงการไปจากเมืองแห่งการตังภาคี ้ (อัช-
ชิรฺก)ุ สูเ่ มืองแห่งอัล-อิสลาม
การฮิจ ญ์ เราะฮฺ จึงเป็ นหน้ าที่ ของอุม มะฮฺ นี ้ (ประชาชาติ
มุส ลิ ม ) จากเมื อ ง อัช -ชิ รฺกุ ไปยัง เมื อ งอัล -อิ ส ลาม และจะมี อ ยู่
ตลอดไปจนถึงวันอวสาน
หลักฐานคือพระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
ُ ُ َ ُ ُ َ ُ َ ُ َ ‫ا‬ َ ُ َ َٰٓ َ َ ۡ ُ ُ َٰ َ َ َ
‫نت ۡم قالوا كنا‬ ‫رم أ نفسر ره ۡم قالوا فر يم ك‬ ‫لئركة ظا ل ر‬ ‫﴿ رإ ن ٱ رَّل ين تو ف ىهم ٱلم‬
َ َٰٓ َ ُ َ َ ُ َ ٗ ُ َ ُ َ َ َ ُ َ َۡ َ ‫ُم ۡس َت ۡض َعف‬
‫ٱّلل َوَٰس َرعة فت َها رج ُروا فريها فأولئرك‬ ‫ۡرض قال اوا أل ۡم تك ۡن أۡرض ر‬ ‫ري رف ٱۡل ر‬
َۡ ۡ ‫ا‬
‫ال َوٱلن َرسا رء َوٱلورلد َٰ رن‬ َ ‫ري م َرن ٱلر‬
‫ج‬ َ ‫ إّل ٱل ۡ ُم ۡس َت ۡض َعف‬٩٧ ‫ريا‬ ً ‫َمأۡ َوى َٰ ُه ۡم َج َهن ُم َو َسا ا َء ۡت َم رص‬
‫ر ر‬ ‫ر‬
ۡ‫ٱّلل أَن َي ۡع ُف َو َع ۡن ُهم‬
ُ ‫ك َع َس‬ َ َٰٓ َ ُ َ ٗ َ َ ُ َۡ َ ََ َٗ َ ُ َ َۡ َ
‫ فأو لئ ر‬٩٨ ‫ّل يست رطيعون حريلة و ّل يهتدون سبريل‬
]١١-١٣ : ‫ ﴾ [النساء‬٩٩ ‫ورا‬ ُ ‫َو ََك َن‬
ٗ ‫ٱّلل َع ُف ًّوا َغ ُف‬

ความว่า “แท้ จริ ง บรรดาผู้ที่มลาอิกะฮฺได้ ทาให้ เขาตายขณะที่พวก


เขาไม่เป็ นธรรมต่อ ตัวของพวกเขาเอง เขาทัง้ หลาย(มลาอิก ะฮฺ )
กล่าวว่า พวกเจ้ าอยู่ในสภาพใด(จึงไม่อพยพ)? พวกเขากล่า วว่า
พวกเราเป็ นผู้อ่อ นแอ ณ แผ่น ดิน นี ้ เขาทัง้ หลายพูด ว่า แผ่น ดิ น
ของอัลลอฮฺไม่กว้ างขวางดอกหรื อที่พวกเจ้ าจะอพยพไปในนันได้ ้ ?
ดังนัน้ สาหรับ พวกเหล่านี ้ ที่ พ านัก ของพวกเขาคือนรก และเป็ น
ปลายทางอันชั่วช้ า ยกเว้ น ผู้ช ายผู้ห ญิ งและเด็กๆ ผู้อ่อ นแอที่ ไม่
สามารถหาทางแก้ ไขได้ และพวกเขาไม่พบหนทางที่จะอพยพ พวก
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  30 

เหล่านี ้เป็ นที่หวังว่า อัลลอฮฺจะทรงยกโทษให้ พวกเขา และอัลลอฮฺ


เป็ นผู้ที่ทรงยกโทษ ผู้ทรงอภัยเสมอ” (อัน-นิสาอ์ 4:97-99)

และพระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
ُُۡ َ َ َ َ َ َ ‫﴿ َيَٰع َرباد َري ٱَّل‬
‫رين َء َام ُن اوا إرن أ ر‬
‫ۡرض وَٰسرعة فإري َٰ َي فٱعبد ر‬
]١١ :‫ ﴾ [العنكبوت‬٥٦ ‫ون‬
ความว่า “ปวงบ่าวผู้ศรัทธาของฉันเอ๋ย! แท้ จริง แผ่นดินของอัลลอฮฺ
นัน้ กว้ างใหญ่ ไพศาล ดังนัน้ เฉพาะฉัน เท่านัน้ ที่ สูเจ้ าต้ องเคารพ
ภักดี” (อัล-อันกะบูต 29:56)

ท่าน อัล -บะเฆาะวี ย์ (ขออัล ลอฮฺทรงเมตตเขา) กล่าวว่า


สาเหตุของการประทานอายะฮฺนี ้ คือ มีมุสลิมหลายคนอยู่ในนคร
มักกะฮฺไม่สามารถอพยพไปได้ อัลลอฮฺได้ เรี ยกร้ องพวกเขาด้ วยชื่อ
แห่งอีมาน (คือเป็ นเครื่ องหมายว่าพวกเขายังคงมีความศรัทธาอยู)่
หลักฐานของการอพยพจากหะดีษ คือคากล่าวของท่าน
เราะสูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ที่วา่
‫ه‬ ‫ه‬ ‫ه‬ ‫ه‬
»‫ و ل تنقط هع اتلو بة حّت تطلع الشم هس من مغر بها‬، ‫« ل تنقط هع الهجر ة حّت تنقطع اتلو بة‬
]‫[أمحد وأبو داود وادلاريم‬
ความว่า “การฮิ จ ญ์ เราะฮฺ จ ะยังไม่ห ยุด (ส าหรับมุสลิม ผู้ถูกกดขี่ )
จนกว่าการขออภัยโทษ(อัต-เตาบะฮฺ)จะหมด และการขออภัยโทษ
นัน้ จะไม่ สิ น้ สุ ด จนกว่ า ดวงตะวัน จะขึ น้ จากทางทิ ศ ตะวัน ตก”
(บันทึกโดยอะห์มดั , อัต-ติรมิซีย์ และอัด-ดาริมีย์)
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  31 

เมื่อท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ตังหลั ้ กแหล่ง


ในนครมะดีนะฮฺ อัล ลอฮฺ ก็ ได้ บัญ ชาบทบัญ ญั ติอื่น ๆ ที่ เหลื อ ของ
ศาสนาอิส ลาม เช่นเรื่ องซะกาต การถื อศีล อด การบ าเพ็ ญ หัจ ญ์
เรื่ องอะซาน การญิ ฮ าดต่อสู้ในทางของอัล ลอฮฺ การกาชับ ให้ ท า
ความดีและห้ ามจากความชัว่ และบทบัญญัตอิ ื่นๆ ของอิสลามอีก
ท่านนบี ศ็อลลัล ลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม พ านักอยู่ในนคร
มะดีนะฮฺได้ สิบปี ก็สิ น้ ชี วิต แต่ศาสนาของท่านยังคงอยู่ และนี่ คือ
ศาสนาของท่าน ไม่มีความดีงามอันใดนอกจากว่าท่านได้ สงั่ กาชับ
อุมมะฮฺ(ประชาชาติ)ของท่านไว้ แล้ ว และไม่มีความชัว่ ช้ าอันใดเว้ น
แต่ทา่ นได้ เตือนประชาชาติของท่านให้ ระมัดระวังจากมันไว้ สิ ้นแล้ ว
ความดี ที่ ท่ า นสั่ง ไว้ นั น้ คื อ อัต -เตาฮี ด (การศรั ท ธาใน
เอกภาพของอัล ลอฮฺ ) และรวมทัง้ สิ่ งอื่ น ๆ ซึ่ง อัลลอฮฺ ท รงรัก และ
โปรดปราน
ส่วนความชั่วที่ท่านได้ เตือนไว้ ก็คือ อัช-ชิรฺกุ (การตังภาคี้
ต่ออัลลอฮฺ) และรวมทังสิ ้ งอื่นๆ ที่อลั อฮฺทรงรังเกียจและห้ าม
อั ล ลอฮฺ ไ ด้ ทรงแต่ ง ตั ง้ ท่ า นนบี ศ็ อ ลลั ล ลอฮฺ อะลั ย ฮิ
วะสัลลัมสาหรับมนุษย์ทงหลายทั ั้ งปวง
้ และได้ ทรงกาหนดให้ มนุษย์
และญิ นเคารพเชื่อฟั งท่าน หลักฐานคือพระดารัสของพระองค์ ผู้
ทรงสูงส่งว่า
ُ َۡ
ً ‫ك ۡم ََج‬
]١١٣ :‫ريعا﴾ [األعراف‬
ُ ُ ‫ي َأ ُّي َها ٱنل‬
‫اس إ ر رن َر ُسول ٱّللر إرَل‬ َٰٓ َ ‫﴿ قُ ۡل‬
ความว่า “จงกล่าวเถิด (มุหมั มัด) มนุษย์เอ๋ย! แท้ จริ งฉันคือเราะสูล
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  32 

ของอัลลอฮฺแด่พวกท่านทังมวล”
้ (อัล-อะอฺรอฟ 7:158)

และอัลลอฮฺได้ ทรงทาให้ ศาสนาของพระองค์สมบูรณ์ โดย


ท่านนบีผ้ นู ี ้ หลักฐานคือพระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
ُ َ ُ ۡ ُ َ َ ُ ‫ك ۡم َو َأ ۡت َم ۡم‬
ُ َ ‫ۡ َ ۡ َ َ ۡ َ ۡ ُ َ ُ ۡ در‬
‫يت لك ُم‬ ‫ت عل ۡيك ۡم نرع َم رت َو َرضر‬ ‫﴿ ٱ َلو م أ كملت لكم ين‬
َ ۡ
]٦ :‫ٱۡل ۡسل َٰ َم د ٗرينا ﴾ [املائدة‬
‫ر‬
ความว่า“วันนี ้ ฉันได้ ทาให้ ศาสนาของสูเจ้ าครบครันสาหรับสูเจ้ า
แล้ ว และได้ ให้ ความโปรดปรานของฉันครบถ้ วนแก่สเู จ้ า และฉันได้
พึงใจอิสลามเป็ นศาสนาของสูเจ้ าแล้ ว” (อัล-มาอิดะฮฺ 5:3)

หลั ก ฐานในการสิ น้ ชี วิ ต ของท่ า น คื อ พระด ารั ส ของ


พระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
َ َ
]٦٦ :‫ ﴾ [الزمر‬٣٠ ‫﴿ إرنك َميرت ِإَون ُهم مي ر ُتون‬
ความว่ า “แท้ จริ ง เจ้ า ต้ อ งตาย และแท้ จริ ง พวกเขาก็ ต้ อ งตาย
เช่นกัน” (อัซ-ซุมรั ฺ 39:30)

มนุ ษ ย์ ทัง้ หลายเมื่ อ ตายแล้ วก็ จ ะถู ก ให้ ฟื ้ น ขึ น้ อี ก และ


หลักฐานคือพระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
ۡ ُ َ َ ۡ ُ ُ ۡ ُ َ ۡ َ ۡ ُ ُ ُ َ َ ۡ ُ َٰ َ ۡ َ َ َ ۡ
:‫ ﴾ [ طه‬٥٥ ‫ار ًة أ خ َر َٰى‬‫﴿ ۞مرنها خلقنكم وفريها نعريد كم ومرنها ُنررجكم ت‬
]١١
ความว่า “จาก(แผ่นดิน)นันเราได้
้ บงั เกิดสูเจ้ า และใน(แผ่นดิน)นัน้
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  33 

เราจะคืนสูเจ้ ากลับเข้ าไป(เมื่อตาย) และจาก(แผ่นดิน)นันเราจะน


้ า
สูเจ้ าออกมาอีกครัง้ หนึง่ (ในวันฟื น้ ขึ ้นของปรโลก)” (ฏอฮา 20:55)

และพระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
ُ ُ ۡ َُ َ ۡ ُ ُ ُ ُ
ٗ ‫ك ۡم إ ۡخ َر‬ ٗ َ َۡ ُ ََ َ ُ َ
١٨ ‫اجا‬ ‫ر‬ ‫ ثم يعريدكم فريها ويخ ررج‬١٧ ‫ۡرض ن َباتا‬
‫كم م َرن ٱۡل ر‬ ‫﴿ وٱّلل أۢنبت‬
]١١-١٣ :‫﴾ [نوح‬
ความว่า “และอัลลอฮฺได้ ทรงให้ สูเจ้ าเติบโตจากแผ่นดินอย่างเติบ
ใหญ่ แล้ วพระองค์จะกลับสูเจ้ า (เสียชีวิต)ลงไปใน(แผ่นดิน)นัน้ อีก
และจะทรงนาสูเจ้ าออกมาอีก(ในวันฟื น้ คืนชีพ)” (นูหฺ 71:17-18)

หลังจากฟื ้นคืนชีพ พวกเขาก็ ถูกสอบสวน และได้ รับการ


ตอบแทนตามการกระทาของพวกเขา หลักฐานคือพระดารัสของ
พระองค์ ผู้ทรงสูงส่งว่า
َ َ َ َ
ُ ۡ ‫رين أ ۡح َس ُنوا ب‬
‫ ﴾ [انلجم‬٣١ ‫ٱۡل ۡس َن‬
ُ
َٰٓ َ ‫رين أ‬
‫س ُـوا ب ر َما َع رملوا َو َي ۡجزر َي ٱَّل‬ ‫﴿ ر ََل ۡجزر َي ٱَّل‬
‫ر‬
]٦١ :
ความว่า “เพื่อพระองค์จะทรงตอบแทน(ลงโทษ)ผู้ประพฤติชวั่ ตามที่
พวกเขาได้ กระทา และจะทรงตอบแทน(ให้ รางวัล)บรรดาผู้ประพฤติ
ดีด้วย(รางวัล)ที่ดียิ่ง)” (อัน-นัจญ์มุ 53:31)

ผู้ใดหาว่าการฟื น้ คืนชีพสาหรับปรโลกนันเป็
้ นเรื่ องโกหก ผู้
นันเป็
้ นกาฟิ รฺ หลักฐานตามพระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
ۡ ُ َ َ ُ ُ َ ۡ َ
َٰ َ َ‫ك َف ُر اوا أن لن ُي ۡب َع ُثوا ُقل ب‬
‫ل َو َر رب َُل ۡب َعث ثم َُلنبؤن ب ر َما َع رمل ُت ۡم‬
َ َ َ
‫﴿ َزع َم ٱَّلرين‬
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  34 

َ ََ َ َ
‫َوذَٰل رك َع ٱّللر ي ر‬
]٣ : ‫ ﴾ [اتلغابن‬٧ ‫سري‬
ความว่า “บรรดาผู้ปฏิเสธคิดว่า พวกเขาจะมิถกู ให้ ฟืน้ ขึ ้นมาอีก จง
กล่าวเถิด(มุหมั มัด) หาเป็ นเช่นนันไม่
้ ขอสาบานต่อพระอภิบาลของ
ฉัน พวกท่านจะถูกให้ ฟื้นขึน้ มาแน่นอน แล้ วพวกท่านจะถูกแจ้ ง
ตามที่ พ วกท่ า นได้ กระท าไว้ และนั่ น เป็ นเรื่ อ งที่ ง่ า ยดายยิ่ ง
สาหรับอัลลอฮฺ” (อัต-ตะฆอบุน 64:7)

อัลลอฮฺได้ ทรงส่งเราะสูลทังมวลเพื
้ ่อให้ เป็ นผู้แจ้ งข่าวดีและ
เป็ นผู้เตือนสาทับ (ถึงภัยที่ จ ะเกิ ดขึน้ ) หลักฐานคือพระดารัสของ
พระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
َ َ ُّ ‫ٱّلل ُحجُۢة َب ۡع َد‬ ََ َ ُ َ َ َ َ ‫﴿ ُّر ُس ٗل ُّمبَ رۡش‬
‫ٱلر ُس رل َوَكن‬ ‫اس َع ر‬ ‫كون ل رلن ر‬ ‫ين َو ُمنذ رررين رِلل ي‬ ‫ر‬
]١١١ : ‫ ﴾ [النساء‬١٦٥ ‫يزا َحكريما‬
ٗ ً ‫ٱّلل َعز‬ُ
‫ر‬
ความว่า “บรรดาเราะสูล เป็ นผู้แจ้ งข่าวดี และผู้เตื อ นส าทับ เพื่ อ
มนุ ษ ย์ จ ะได้ ไ ม่ มี ข้ อ อ้ า งต่ อ อัล ลอฮฺ ห ลัง จากเราะสูล เหล่ า นี (้ ได้
เทศนาแล้ ว) และอัลลอฮฺเป็ นผู้ทรงอานาจผู้ทรงปรี ชาญาณเสมอ”
(อัน-นิสาอ์ 4:165)

เราะสูล คนแรกคือท่านนบีนูหฺ อะลัยฮิ สลาม เราะสูล คน


สุดท้ ายคือ นบีมหุ มั มัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ท่านเป็ นตรา
ประทับ(คือผู้ปิดท้ าย)ของบรรดานบี
หลักฐานที่ว่าท่านนบีนหู ฺ อะลัยฮิสลาม เป็ นเราะสูลคนแรก
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  35 

คือพระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
ُ َ ‫ا‬ َ ‫ا َ َ َ ا‬ َ ‫ا‬
]١١٦ : ‫﴿ ۞إرنا أ ۡو َح ۡي َنا إ ر َۡلك ك َما أ ۡو َح ۡي َنا إ ر َٰل نوح َوٱنلب ر ري َن رم َۢن َب ۡع رده رۦ ﴾ [النساء‬
ความว่า “แท้ จริง เราได้ ประทานวะห์ยแู ก่เจ้ า (มุหมั มัด) เช่นที่เราได้
ประทานวะหฺ ยู แ ก่ นู หฺ แ ละบรรดานบี ห ลั ง จากเขา” (อัน -นิ ส าอ์
4:163)

อัล ลอฮฺ ได้ ท รงแต่ง ตัง้ เราะสูล ตัง้ แต่ท่ านนบี นูหฺ อะลัย ฮิ
สลาม จนถึงท่านนบี มุหัม มัด ศ็อลลัล ลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม แก่
มนุษ ย์ ทุก ชาติเพื่ อสั่ง สอนให้ พ วกเขาเคารพภัก ดีต่ออัล ลอฮฺ องค์
เดียวเท่านัน้ และห้ ามพวกเขามิให้ เคารพบูชาพวกเจว็ด หลักฐาน
คือพระดารัสของพระองค์ ผู้ทรงสูงส่งว่า
َ ‫ٱج َتن ُربوا ٱلطَٰ ُغ‬
ۡ ‫ٱّلل َو‬ ۡ َ ً ُ
َ ‫ٱع ُب ُد وا‬ ُ ُ َََۡ ۡ َََ
:‫وت ﴾ [انلحل‬ ‫ك أمة رسوّل أ رن‬
‫﴿ ولقد بعثنا رف ر‬
]٦١
ความว่ า “และโดยแน่ น อนยิ่ ง เราได้ แ ต่ ง ตัง้ เราะสูล ขึ น้ ในทุ ก ๆ
ประชาชาติ (เพื่อให้ พวกเขาเชิญชวน)ว่า จงเคารพภักดีอลั ลอฮฺและ
จงหลี กห่างจากอัฏ -ฏอฆูต (สิ่ งเคารพอื่ นนอกจากอัลลอฮฺ )” (อัน -
นะหฺลิ 16:36)

อัล ลอฮฺ ได้ ท รงบัญ ชาปวงบ่า วให้ ป ฏิ เสธการบูช าฏอฆูต


และให้ ศรัทธาในอัลลอฮฺ
ท่านอิบนุล ก็อยยิม -ขออัลลอฮฺได้ ทรงเมตตาท่าน- กล่าว
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  36 

ว่า ความหมายของ อัฏ -ฏอฆูต คือสิ่ งใดๆ ก็ ตามที่ บ่าวได้ ล่วงล า้


ขอบเขตด้ วยการยึดติดกับมัน ไม่ว่าจะอยู่ในรู ปของสิ่งเคารพบูชา
หรื อผู้นาที่ มี ผ้ ูตาม หรื อผู้ที่ได้ ที่ รับ การเคารพเชื่ อฟั ง ฏอฆูตนัน้ มี
มากมาย แต่หวั หน้ าของมันมีอยูห่ ้ า คือ
1. อิบลีส ขออัลลอฮฺทรงสาปแช่งมัน
2. ผู้ที่ได้ รับการเคารพบูชาและพอใจเช่นนัน้
3. ผู้เชิญชวนมนุษย์ให้ เคารพบูชาตัวเขา
4. ผู้อ้างว่ารู้ในสิ่งพ้ นญาณวิสยั
5. ผู้ที่ ตัด สิ น ความหรื อ ปกครองโดยใช้ บัญ ญั ติอื่ น ที่ ไ ม่
ได้ มาจากการประทานอัลลอฮฺ

หลักฐานคือพระดารัสของพระองค์ผ้ ทู รงสูงส่งว่า
ۡ
‫وت َو ُيؤ رم َۢن برٱّللر‬
ُ ُ ۡ َ َ ۡ َ ُ ۡ ُّ َ َ َ
‫غ ف َمن يَكف ۡر برٱلطَٰغ ر‬ َ َ ۡ ‫َا‬
‫رين قد تبي ٱلرشد مرن ٱل ر‬ ‫﴿ ّل إركراه رف ٱل ر‬
:‫ ﴾ [ابلقرة‬٢٥٦ ‫ٱّلل َس رميع َعل ريم‬ َ ‫ق َّل ٱنف َرص‬
ُ ‫ام ل َ َها َو‬ ۡ ۡ َ َ َۡ ۡ ََ
َٰ َ ‫ك برٱل ُع ۡر َوةر ٱل ُو ۡث‬ ‫فق رد ٱستمس‬
]٢١١
ความว่ า “ไม่ มี ก ารบัง คับ (ให้ จ าใจนั บ ถื อ )ในศาสนา(อิ ส ลาม)
แน่น อนความเที่ ย งธรรมได้ เป็ นที่ เด่น ชัดจากความบิด เบื อนแล้ ว
ดัง นัน้ ผู้ใ ดปฏิ เสธ(การบู ช า)ฏอฆู ต และเขาศรั ท ธาต่อ อัล ลอฮฺ
ฉะนัน้ โดยแน่นอน เขาได้ ยึดห่วงอันมั่นคงไว้ แล้ ว ซึ่งมันจะไม่มีวัน
ขาด และอัลลอฮฺเป็ นผู้ทรงได้ ยิน ผู้ทรงรอบรู้ เสมอ” (อัล -บะเกาะ
เราะฮฺ 2:256)
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  37 

และนี่ก็คือความหมายที่แท้ จริ งของการปฏิญาณ “ลาอิลา


ฮะ อิลลัลลอฮฺ – ไม่มีพระเจ้ าอื่นใดที่แท้ จริงนอกจากอัลลอฮฺ”
และในหะดีษมีวา่
‫ه‬ ‫ه‬ ‫ه‬ ‫ه‬
‫ وذروة سنامه اجلهاد يف سبيل الل» [أمحد‬،‫ وع همود هه الصالة‬،‫«رأ هس األمر اإلسال هم‬
]‫والرتمذي وابن ماجه‬
ความว่า “ประมุขของกิจการคืออัล-อิสลาม เสาทังหลายของมั
้ นคือ
การนมาซ และยอดหลั ง คาของมั น คื อ การญิ ฮ าดต่ อ สู้ ในทาง
ของอัลลอฮฺ”
และอัลลอฮฺนนทรงรู
ั้ ้ ดียิ่ง

.‫وصىل الل ىلع حممد وآهل وصحبه وسلم‬


หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  38 

หนั ง สื อ ว่ า ด้ ว ยประเด็ น ส าคั ญ สามประการที่ มุ ส ลิ ม


จาเป็ นต้ องรู้ คื อ 1) การรู้ จักอั ลลอฮฺ ทัง้ ในแง่ ความรู้
และภาคปฏิบัติ 2) การรู้ จักพืน้ ฐานของศาสนาอิสลาม
ทัง้ สามอันดับขัน้ คือ อัล -อิสลาม อัล-อีมาน และอัล -
อิ หฺ ส าน 3) การรู้ จั ก ท่ านนบี ศ็ อ ลลั ล ลอฮุ อ ะลั ย ฮิ
วะสัลลัม และหน้ าที่ของบรรดาศาสนทูต
หลักการสามข้อพร้อมหลักฐาน  39 

You might also like