Referent App

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

LIST OF TERMS USED

DRILLING & SAMPLING SYMBOLS


OS : Osterberg Sampler -3” Shelby Tube
SS : Split-Spoon -13/8” I.D., 2” O.D., except where noted
HS : Housel Sampler
ST : Shelby Tube -2” O.D., except where noted
WS : Wash Sample
PA : Power Auger Sample
FT : Fish Tail
DB : Diamond Bit - NX:BX:AX:
RB : Rock Bit
CB : Carbology Bit - NX:BX:AX:
WO : Wash Out

Standard “N” Penetration : Blows per foot of a 140-pound hammer falling 30 inches on
2 inches O.D. spilt spoon, except where noted
WATER LEVEL MEASUREMENT SYMBOLS

WL : Water Level WD : While Drilling


WCI : Wet Cave In BCR : Before Casing Removal
DCI : Dry Cave In ACR : After Casing Removal
WS : While Sampling AB : After Boring
Water Levels indicated on the boring logs are the levels measured in the boring at the times indicated. In pervious
soils, the indicated elevations are considered reliable ground water levels. In impervious soils, the accurate determination of
ground water elevations in not possible in even several days observation, and additional evidence on ground water elevations
must be sought.

CLASSIFICATION
COHESIONLESS SOILS COHESIVE SOILS
“Trace” : 1% to 10% If clay content is sufficient to that clay dominates oil properties, then clay becomes the
“Trace to some” : 10% to 20% principle noun with the other major soil constituent as edifier, i.e., silty clay, Other minor soil
“Some” : 20% to 35% constituent may be added according to classification breakdown for cohesionless soils,
“And” : 35% to 50% i.e., silty clay, trace to some sand, trace gravel.
Very Loose : N= 0-4 blows
Loose : N= 4-10 blows Very soft : 0.00-0.25 Tsf. Or 0-2 blows
Medium : N= 10-30 blows
Dense : N= 30-50 blows soft : 0.25-0.50 Tsf. Or 2-4 blows
Very Dense : N= over 50blows Medium : 0.50-1.00 Tsf. Or 4-8 blows
 
Stiff : 1.00-2.00 Tsf. Or 8-16 blows
Rock 
Very Stiff : 2.00-4.00 Tsf. Or 16-32 blows
Rock Quality Designation (RQD) is a measure of
quality of rock core taken from a borehole. RQD Hard : over 4.00 Tsf. Or > blows
signifies the degree of jointing or fracture in a rock
mass measured in percentage

Very poor (Completely weathered rock) <25%


Poor (weathered rocks) 25 to 50%
Fair (Moderately weathered rocks) 51 to 75%
Good (Hard Rock) 76 to 90%
Very Good (Fresh rocks) 91 to 100%
การจําแนกและบรรยายลักษณะของดิน
การจําแนกลักษณะของดินตามขนาดขององคประกอบและคุณสมบัติ
ดินเหนียว
ดินเหนียวซึ่งประกอบดวยเมล็ดรูปแบนขนาดละเอียดมาก (เล็กกวา 0.002 มม.) มีคุณสมบัติปนไดงายเนื่องจากมี
ความเหนียวยึดเกาะกันระหวางเมล็ดของดินมาก ขนาดของมวลรวมผานตะแกรงเบอร 200 มากกวา 50%
ดินซิลท
ดินที่มีเมล็ดหยาบกวาดินเหนียว แตขนาดละเอียดกวาเมล็ดของทราย (ระหวาง 0.002 มม. ถึง 0.06 มม.) เขาใกลทราย
ที่มีเมล็ดละเอียดมาก มีความเหนียวยึดเกาะกันระหวางเมล็ดของดินนอยหรือไมมี ปนไดยาก ขนาดของมวลรวมผานตะแกรง
เบอร 200 มากกวา 50%
ทราย
ทรายมีเมล็ดที่หยาบเห็นไดชัด (ระหวาง 0.06 มม. ถึง 4.76 มม.) ไมมีคุณสมบัติยึดเกาะกันระหวางเมล็ดของทราย ปน
ไมได ขนาดของมวลรวมผานตะแกรงเบอร 4 แตคางบนตะแกรงเบอร 200
กรวด
กรวดเปนเมล็ดหยาบมาก ขนาดใหญกวาทราย (ระหวาง 7.76 มม. ถึง 76.2 มม.) ขนาดของมวลรวมผานตะแกรงขนาด
3" แตคางบนตะแกรงเบอร 4
การบรรยายลักษณะและสวนประกอบที่มีอยูในดิน
ดินที่มีเมล็ดละเอียดมาก และแสดงคุณสมบัติยึดเกาะกันของดินเหนียว เราจะเรียกดินชนิดนี้วา "ดินเหนียว" ถา
มีดินชนิดอื่นมาปนเปนสวนประกอบที่เดนชัด เราจะเรียกสวนประกอบนี้วา "ปน"
ตัวอยาง ดินเหนียวปนทรายสวนประกอบของดินหรือสารชนิดอื่นที่ปลีกยอยไมเดนชัดในดิน เราจะจําแนกตามขนาดและ
การเปลี่ยนสภาพของดินหรือสาร ตามเปอรเซ็นตที่มีอยูดังนี้
มี............................................นอยมาก 1 ถึง 10%
มี............................................เล็กนอย 10 ถึง 20%
มี............................................นอยมาก 20 ถึง 35%
และ 35 ถึง 50%
ตัวอยาง ดินเหนียว ปนทราย มีกรวดเล็กนอย มีรากไมนอยมาก
ดินเหนียว (ดินที่ยึดเกาะกันได)
ความแข็ง กําลังอัดเปลือย, qu (กก./ซม2) คาทะลุทะลวงมาตรฐาน, N จํานวนครั้ง 1 ฟุต
ออนมาก 0.00 – 0.25 0–2
ออน 0.25 – 0.50 2–4
แข็งปานกลาง 0.50 – 1.00 4–8
แข็ง 1.00 – 2.00 8 – 16
แข็งมาก 2.00 – 4.00 16 – 32
ดินดานแข็งมาก มากกวา 4.00 มากกวา 32
ทราย (ดินที่ไมยึดเกาะกัน)
ความแนนสัมพันธ คาทะลุทะลวงมาตรฐาน, N จํานวนครั้ง/ฟุต
รวนมาก 0–4
รวน 4 – 10
แนนปานกลาง 10 – 30
แนน 30 – 50
แนนมาก มากกวา 50

ความหมายของสัญญลักษณ

CH - ดินเหนียวยึดเกาะกันระหวางเมล็ดของดินมาก ปนไดงาย

OH - ดินเหนียวปนสารอินทรีย มีความเหนียวยึดเกาะกันระหวางเมล็ดของดินมาก ปนไดงาย

CL - ดินเหนียวปนทราย, ดินเหนียวปนกรวด, ดินเหนียวปนซิลท มีความเหนียวยึดเกาะกันระหวางเมล็ดของดินนอยถึง


ปานกลาง ปนได

SC - ทรายปนดินเหนียว มีความเหนียวยึดเกาะกันระหวางเมล็ดของดินนอยถึงปานกลาง ปนได

SM - ทรายปนซิลท ไมมีความเหนียวยึดเกาะกันระหวางเมล็ดของดิน ปนไมได

SW - ทรายปนกรวด ขนาดคละไดสัดสวนกัน มีเมล็ดดินละเอียดนอยมากหรือไมมีความเหนียวยึดเกาะกันระหวางเมล็ด


ของดิน ปนไมได

SP - ทรายปนกรวด ขนาดคละใกลเคียงกัน แตไมไดสัดสวน มีเมล็ดดินละเอียดนอยมากหรือไมมี ไมมีความเหนียวยึด


เกาะกันระหวางเมล็ดของดิน ปนไมได
หลักการออกแบบฐานรากเสาเข็ม
สูตรที่ใชในการออกแบบกําลังรับน้ําหนักของเสาเข็ม แบบสถิตยศาสตร มีดวยกันหลายวิธีซึ่งใชในการพิจารณาที่
คลายคลึงกันเพียงแตใชคาสัมประสิทธิ์ และพิกัดความปลอดภัยแตกตางกันไป ถาคาสัมประสิทธิ์ และพิกัดความปลอดภัยที่
ใชเหมาะสม ผลที่ไดจากทุกวิธีจะเหมือนกัน ผลที่ไดนี้มาจากการวัดจริงในขณะกอสราง อยางไรก็ตามความลึกที่ตองการ
ของเข็ม ควรจะมีการตรวจสอบโดยวิธีพลศาสตรขณะตอกเข็มและการทสอบการรับน้ําหนักของเข็ม
การวิเคราะห
สูตรทั่วไป
Fu = Fp + Ff …………………………….………..(1)

เมื่อ Fu = กําลังรับน้ําหนักประลัยของเสาเข็มเดี่ยว, ตัน


Fp = แรงตานปลายเข็ม, ตัน
Ff = แรงเสียดทานของเข็ม, ตัน
คา Fp สามารถหาไดจากสมการของ Terzaghi & Peck (Ref. 1)
Fp/Ap = 1.3 cNc + qNq + βγBNγ ……….……………(2)
เมื่อ c = คาแรงยึดเหนี่ยวของดิน (อาจหาไดจาก Fig. B), ตัน/ม2
Nc , Nq , Nγ = คาตัวคูณกําลังรับน้ําหนัก (หาไดจาก Fig. E), ไมมีหนวย
q หรือ σvo = Effective overburden pressure ที่ปลายเข็ม, ตัน/ม2
β = สัมประสิทธิ์รูปรางของเข็ม (0.4 สําหรับเข็มสี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือ 0.3 สําหรับเข็มกลม)
γ = หนวยน้ําหนักของดิน, ตัน/ม3
B = ความกวางของเข็ม, เมตร
Ap = พื้นที่หนาตัดของปลายเข็ม, ม2

สําหรับ ดินที่มีคาแรงยึดเหนี่ยว (φ = 0, Nc = 5.7, Nq = 1.0, Nγ = 0)

Fp/AP = 7.4c + q ………….…..…(2-ก)

หรือ = 9c + q Nc = 9 (Skempton, 1951)

สําหรับ ดินที่ไมมีคาแรงยึดเหนี่ยว (c = 0)
Fp/Ap = qNq + βγBNγ ………..………(2-ข)

Broms ไดเสนอสมการสําหรับเสาเข็มยาว (Ref. 2)

Fp/Ap = 24.46 N' ………..………(2-ค)

เมื่อ N' = คาที่แกแลวของ SPT (N), จํานวนครั้ง/ฟุต


= 15 +  (N-15) สําหรับ N > 15 หรือหาจาก Fig. C โดยใชคาที่นอยกวา
คา Ff สามารถหาไดจากสมการของ Meyerhof

Ff/Lp = msαcLb + Khγ L2b tan δ..............................(3)

เมื่อ m = คาตัวคูณสําหรับวัสดุที่ใชทําเข็ม (1.0 สําหรับคอนกรีตและไม หรือ 0.7 สําหรับเหล็ก)


s = คาตัวคูณรูปรางของเข็ม (1.0 สําหรับเข็มกลมหรือเข็มเหลี่ยม)
α = คาตัวคูณลด (หาไดจาก Fig. A)

Lb = ความยาวของเสาเข็มที่ฝงลึกลงไปในดิน, เมตร
Kh = อัตราสวน แรงดันของดิน ทางแนวราบตอแนวดิ่ง ทางดานขางของเข็ม

Kh = 0.5 + 0.008 Dr (Bhusan, 1982)

N' จํานวนครัง้ /ฟุต 0-4 4 - 10 10 - 30 30 - 50 >50


สําหรับเสาเข็มตอก
Kh 0.56 0.7 0.9 1.1 1.2

สําหรับเสาเข็มเจาะ Kh = (1 – sin φ) OCRsinφ, Mayne and Kulhawy (1982)

φ = Angle of Shearing Resistance

OCR = Over Consolidation Ratio = σ vm / σ vo


2
σvm = Maximum Past Pressure, ตัน/ม
δ = มุมของแรงเสียดทานระหวางดินกับเข็ม (ใช =  φ เฉลี่ยจาก Fig. E), องศา
Lp = ความยาวเสนรอบรูปของเข็ม, เมตร

สําหรับ ดินที่มีแรงยึดเหนี่ยว (φ = 0)
Ff/Lp = msαcLb ………..………(3-ก)

สําหรับ ดินที่ไมมีแรงยึดเหนี่ยว (c = 0)
Ff/Lp = KhγL2b tan δ ………..………(3-ข)

หมายเหตุ  เมื่อใชสูตรนี้ใชคาพิกัดความปลอดภัย 2.5 สําหรับเสาเข็มในดินทุกประการ


 แรงตานปลายเข็ม จะสามารถรับไดเต็มที่ก็ตอเมื่อไดฝงลงในชั้นดินที่จะรับน้ําหนักเปนระยะอยางนอย 5 เทา
ความกวางของเข็ม และความหนาของชั้นดินนี้ตองมีอยูลงไปจากปลายเข็มอยางนอย 3 เทา ความกวาง
ของเข็ม

You might also like