เป้าหมายต่างๆ ของสูเราะฮฺ อัล-ฟาติหะฮฺ

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 21

เปาหมายตางๆ ของสูเราะฮฺ อัล-ฟาติหะฮฺ

[ ไทย – Thai – ‫] ﺗﺎﻳﻼﻧﺪي‬

ฟุอาด ซัยดาน

แปลโดย : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโกะ


ตรวจทานโดย : ซุฟอัม อุษมาน
ที่มา : หนังสือ อะฮฺดาฟ กุลลิ สูเราะฮฺ มิน อัลกุรอาน

2011 - 1432
‫﴿ ﻫﺪاف ﺳﻮرة اﻟﻔﺎﺤﺗﺔ ﴾‬
‫» ﺎلﻠﻐﺔ اﺘﻟﺎﻳﻼﻧﺪﻳﺔ «‬

‫ﻓﺆاد ز�ﺪان‬

‫ﺮﻤﺟﺔ‪ :‬ﻤﺪ ﺻﺮﺒي ﻳﻌﻘﻮب‬


‫مﺮاﺟﻌﺔ‪ :‬ﺎﻲﻓ ﻋﺜﻤﺎن‬
‫ﻤﻟﺼﺪر‪ :‬ﻛﺘﺎب ﻫﺪاف ﻞﻛ ﺳﻮرة ﻣﻦ اﻟﻘﺮآن‬

‫‪2011 - 1432‬‬
ทรงเมตตา ปรานียิ่งเสมอ

เปาหมายตางๆ ของสูเราะฮฺ อัล-ฟาติหะฮฺ

เปาหมายของสูเราะฮฺ
ครอบคลุ ม ถึ ง นั ย แห ง เป า หมายต า งๆ ในคั ม ภี ร อั ล กุ
รอาน

สูเราะฮฺนี้มีชื่อเรียกวา
อัล -ฟาติ ห ะฮฺ ( ปฐมบทของอั ล กุ ร อาน), อุ ม มุ ล กิ ต าบ
(แมบทของคัม ภีร), อั ช-ชาฟยะฮฺ( การเยียวยา), อัล -วาฟยะฮฺ
(ความสมบูรณ), อัล-กาฟยะฮฺ(ความพอเพียง), อัล-อะสาส(เปน
หลั ก การพื้ น ฐาน), อั ล -หั ม ดุ ( การสรรเสริ ญ ), อั ส -สั บ อุ อั ล -
มะษานีย(เจ็ดอายะฮฺที่ถูกทวนอานซ้ําแลวซ้ําเลา), อัลกุรอาน
อัล-อะซีม(อัลกุรอานที่ยิ่งใหญ) ดังมีบันทึกในเศาะฮีหฺ อัล-บุคอ
รีย แทจริง ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาวแก
ทานอบีสะอีด บิน อัล-มุอัลลาวา (ซึ่งทานสะอีด ไดเลาวา)

3
ُ ُ ََ ّ ‫ُ ﻋَﻠَﻴ‬ َ ‫ا‬ َُ
،‫ ﻓﻠ ْﻢ أ ِﺟﺒْﻪ‬،‫أﺻ�ِّ ﻲﻓِ لْﻤَﺴْﺠِﺪ ِ َﻓﺪَﺎﻋ�ِ ر َﺳُﻮلُ ا�َِّ ﺻَ�َّ ا�َّ ْﻪِ وَﺳَﻠَ َﻢ‬
ّ ْ‫ّ ﻛُﻨْﺖُ أُﺻَ�ِّ َ َ َ َ ُﻞ‬ ُ ْ َُ
ِ َِ� ‫ »لﻢْ �َﻘ ا�َُّ ﴿اﺳْﺘَﺠِﻴﺒُﻮا‬:‫ �ﻘﺎل‬، ِ�ِ‫ إ‬،َِّ�‫ رَﺳُﻮلَ ا‬: ‫�ﻘﻠﺖ‬
َ ْ َ َ ًَ ُ َ ّ ُ ُْ ُ َ
‫� أ�ﻈ ُﻢ‬ ِ ‫ »ُﻋَﻠِّﻤَﻨَﻚ ﺳﻮرة‬: ‫�ُﻢَّ ﻗَﺎلَ ﻲﻟ‬
ِ «﴾‫َا دَﺎﻋ� ْﻢ ل ِ َﻤﺎ � ِﻴﻴ� ْﻢ‬ ‫ﻠ ﺮَّﺳُﻮلِ إِذ‬
ِ‫ل‬
ْ َ َ َ ََ َ َ َ ّ ْ َْ
‫ ﻓﻠ َّﺎ أ َراد أن‬،‫ �ُﻢَ أﺧﺬ �ِﻴَ ِﺪي‬ «‫ُّﻮرِ ﻲﻓِ اﻟْﻘُﺮْآنِ �َﺒْﻞَ أَنْ ﺨﺗ ُﺮ َج ِﻣ ْﻦ ال َﻤ ْﺴ ِﺠ ِﺪ‬ َ
َ َ
:‫ ﻗﺎل‬،‫آن‬ ْ ُْ َ
‫َﻢْ �َﻘُﻞْ ﻷَُﻋﻠِّﻤَﻨَّﻚَ ﺳُﻮ رَةً �َِ أَ�ْﻈَﻢُ ﺳُﻮ‬ َُ
ِ ‫رَةٍ ِﻲﻓ اﻟﻘﺮ‬ :‫ ﻗُﻠْﺖُ ﻪﻟ‬،َ‫ْﺮُج‬ َ
ُُ ُ ّ َ ُ‫�َِ الﺴَّﺒْﻊ‬ َ
.«‫ﺎ�ِ وَاﻟْﻘُﺮْآنُ اﻟْﻌَﻈِﻴﻢُ اﺬﻟَي أوﺗِيﺘﻪ‬
ِ ‫الْﻤَﺜ‬ ﴾َ�ِ‫ﻤْﺪُ �َِِّ رَبِّ اﻟْﻌَﺎلﻤ‬
ความว า ครั้ งหนึ่ ง ขณะที่ ฉั นละหมาดอยู ใ นมัส ยิ ด แล ว
ทา นเราะสูล ศ็ อ ลลั ล ลอฮุ อ ะลั ยฮิว ะสัล ลั ม ก็ ไดเ รียกฉัน
แตฉันก็ไมไดขานรับทาน เมื่อฉันเสร็จจากละหมาดฉันก็
ไดกลาววา โอ ทานเราะสูลุลลอฮฺ แทจริง ตอนที่ทานเรียก
นั้นฉันกําลังละหมาดอยู ทานกลาววา “อัลลอฮฺไมไดตรัส
ดอกหรือวา
ُ ُْ ُ َ ِ‫و َل‬
( ٢٤ : ‫َا دَﺎﻋ�ﻢ ل ِ َﻤﺎ � ِﻴﻴ� ْﻢ﴾ )اﻷﻧﻔﺎل‬ ‫ﺳْﺘَﺠِﻴﺒُﻮاْ �ِّ ﻠ ﺮَّﺳُﻮلِ إِذ‬
ความวา “จงตอบรับอัลลอฮฺ และเราะสูลเถิด เมื่อเขาได
เชิญชวนพวกเจาสูสิ่งที่ทําใหพวกเจามีชีวิต” (อัล-อันฟาล
24)
แลวทานก็บอกวา “ฉันจะสอนเจาถึงสูเราะฮฺที่ยิ่งใหญที่สุด
ในอัลกุรอาน กอนที่เจาจะออกไปจากมัสยิด” แลวทานก็
จับมือฉันไว เมื่อ ถึงเวลาที่ทานจะออกไป ฉันก็ก ลา วแก

4
ทานวา ทานไมไดบอกแกฉันดอกหรือวาจะสอนสูเราะฮฺที่
ยิ่ ง ใหญ ที่ สุ ด ในอั ล กุ ร อานให ? ท า นก็ ต อบฉั น ว า “คื อ
อัลหัมดุลิลลาฮิร็อบบิลอาละมีน (หมายถึง สูเราะฮฺ อัล-ฟา
ติ ห ะฮฺ ) มั น คื อ เจ็ ด อายะฮฺ ที่ ถู ก ทวนอ า นซ้ํ า แล ว ซ้ํ า เล า
เป น อั ล กุ ร อานอั น ยิ่ ง ใหญ ที่ ถู ก มอบให แ ก ฉั น ” (บั น ทึ ก
โดยอัล-บุคอรีย : 4474)

อั ล ลอฮฺ ท รงให คุณ ลั ก ษณะของสู เ ราะฮฺ นี้ วา เปน การ


ละหมาด (เนื่องจากความสําคัญของสูเราะฮฺนี้ในละหมาด เปน
รุกุนสําคัญของการละหมาด ถาไมมีอัล-ฟาติ หะฮฺก็ถือวาไมมี
การละหมาด -ผูแปล-)

สูเราะฮฺนี้มีความลับอะไร ?
สูเราะฮฺอัล-ฟาติหะฮฺ เปนสูเราะฮฺมักกียะฮฺ (ถูกประทาน
ในชวงกอนการอพยพฮิจญเราะฮฺของทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะ
ลัยฮิวะสัลลัม ไปมะดีนะฮฺ) ประกอบดวย 7 อายะฮฺ ดังมติที่เปน
เอกฉันทของบรรดานักวิชาการ

5
“อัล-ฟาติหะฮฺ” ถูกเรียกดวยชื่อนี้ก็เพราะวา คัมภีรอัลกุ
รอานอันทรงเกียรติไดเริ่มตนดวยกับสูเราะฮฺนี้ และเปนสูเราะฮฺที่
ถูกจัดใหอยูในอันดับแรกของอัลกุรอาน แตไมใชสูเราะฮฺแรกที่
ถูก ประทานลงมา ถื อ เป น สู เ ราะฮฺ ที่ ไ ด ใ ห ข อ สรุ ป ตอ นัย ตา งๆ
ของอั ล กุ ร อานได อ ย า งรวบรั ด รวมทั้ ง ได ป ระมวลเป า หมาย
โดยรวมอันเปนพื้นฐานของอัลกุรอานไวอีกดวย มันคือสูเราะฮฺที่
ครอบคลุ ม ทั้ ง ในเรื่ องหลั กการและรายละเอี ยดปลีกยอยของ
ศาสนา ทั้งที่เกี่ยวของกับหลักการศรัทธา หลักการเคารพภักดี
บทบั ญ ญั ติ ต า งๆ การศรั ท ธาในวั น โลกหน า การศรั ท ธาต อ
คุ ณ ลั ก ษณะของอั ล ลอฮฺ อั น วิ จิ ต รงดงาม การให เ อกภาพต อ
พระองคดวยการเคารพภักดี การขอความชวยเหลือ การขอพร
การมุ ง หน า สู พ ระองค ( ตะวั จ ุ ฮฺ ) ด ว ยการวอนขอทางนํ า สู
ศาสนาแหงสัจธรรมและทางที่เที่ยงตรง รวมทั้งการวิงวอนตอ
พระองคใหมีความหนักแนนมั่นคงในการศรัทธาและดําเนินตาม
วิถีทางของเหลากัลยาณชนทั้งหลาย และใหหางไกลจากทาง
ของพวกที่ถูกกริ้วและทางของพวกที่หลงผิดทั้งหลาย ในสูเราะฮฺ
นี้ยังไดสาธยายถึงเรื่องราวของประชาชาติชนรุนกอน และได
เปดเผยถึงการอยางกาวสูเสนทางอันสุขารมณ และที่พํานักอัน
6
ทุกขทนหมนไหม นั่นคือการเคารพภักดีตอขอสั่งใชและขอหาม
ของอัลลอฮฺ ตะอาลา และอื่นๆ จากนี้ ที่เ ปนวั ตถุประสงคและ
เปาหมาย สูเราะฮฺนี้เปรียบเสมือนแมบทของสูเราะฮฺอันมีเกียรติ
ทั้ง หลาย และเนื่ องดวยเหตุ นี้เ องที่ ถูกเรี ยกว า “อุม มุล กิตาบ”
หรือแมบทแหงคัมภีร ดังนั้น สูเราะฮฺอัล-ฟาติหะฮฺจึงไดประมวล
ทุก ๆ นั ย ของอั ล กุ ร อาน ส ว นเป า หมายของสู เ ราะฮฺ นี้ นั้ น ก็ ไ ด
ประมวลนัยและเปาหมายตางๆ ของอัลกุรอานไวเชนเดียวกัน
อัลกุรอานเปนหลักฐานในเรื่องที่เกี่ยวของกับหลักการ
ศรัทธา(อะกีดะฮฺ) หลักการเคารพภักดี(อิบาดะฮฺ) และหลักการ
ดําเนินชีวิต(มะนาฮิจญ อัล-หะยาฮฺ) โดยที่อัลกุรอานไดเรียกรอง
ไปสู ก ารศรั ท ธาต อ อั ล ลอฮฺ และการเคารพภั ก ดี ต อ พระองค
พรอมทั้ ง ได กําหนดหลั กการดํ าเนิ น ชี วิต ในทํ านองเดียวกัน สู
เราะฮฺอัล-ฟาติหะฮฺก็มีหลักการหลักๆ ดังนี้

1. หลักการศรัทธา (อะกีดะฮฺ)
ّ َۡ َٰ ّ �َّ‫ ر‬٢ � ّ ‫َم د‬
َ ‫�ِِ َر ّب ۡٱل َ�ٰلَم‬
ِ �‫ �ل ِِك يو ِم ٱ‬٣ ‫ٱلرَحِي ِم‬
﴾٤ ‫ِين‬ ِ ِ َ ُۡۡ�﴿

7
ความวา “การสรรเสริญทั้งหลายนั้นเปนสิทธิของอัลลอฮฺ ผู
เป น พระเจ า แห ง สากลโลก ผู ท รงกรุ ณ าปรานี ผู ท รง
เมตตาเสมอ ผูทรงอภิสิทธิ์แหงวันตอบแทน”

2. หลักการเคารพภักดี (อิบาดะฮฺ)
ُ ‫اك � َ ۡس َتع‬
﴾ ٥ �ِ َ َّ‫﴿يَّاكَ �َعۡب دُُ�ي‬

ความว า “เฉพาะพระองค เ ท า นั้ น ที่ พ วกข า พระองค


เคารพอิ บ าดะฮฺ และเฉพาะพระองค เ ท า นั้ น ที่ พ วกข า
พระองคขอความชวยเหลือ”

3. หลักการดําเนินชีวิต (มะนาฮิจญ อัล-หะยาฮฺ)


َ َ ۡ‫ّ َ َ�ۡ َم‬ ّ َ
﴾ ٧ ‫ت َعل ۡي ِه ۡم‬ َ ‫ٱلص َ� ٰ َط ٱلۡمُ ۡس َتق‬
‫ صِ َٰطَ ٱ�َِين � ع‬٦ ‫ِيم‬ ِ ‫﴿اهۡدِنا‬
ความวา “ขอพระองคทรงแนะนําพวกขาพระองคซึ่งทางอัน
เที่ยงตรง คือทางของบรรดาผูที่พระองคไดทรงโปรดปราน
แกพวกเขา”

ซึ่งสูเราะฮฺและอายะฮฺตาง ๆ ในอัลกุรฺอาน(หลังจากสู
เราะฮฺอัล-ฟาติหะฮฺ)ก็จะมาขยายความ 3 หลักการนี้

8
สู เ ราะฮฺ อั ล -ฟาติ ห ะฮฺ ไ ด ก ล า วถึ ง ประการพื้ น ฐาน
หลักๆ ในศาสนาอิสลามนั่นคือ
1. การชุกูรตอความโปรดปรานตางๆ ของอัลลอฮฺ
ّ ‫َم د‬
َ ‫�ِِ َر ّب ۡٱل َ�ٰلَم‬
﴾٢ � ِ ِ َ ُۡۡ�﴿
ความวา “การสรรเสริญทั้งหลายนั้นเปนสิทธิของอัลลอฮฺ ผู
เปนพระเจาแหงสากลโลก”

2. ความบริสุทธิ์ใจตออัลลอฮฺ
ُ ‫اك � َ ۡس َتع‬
﴾٥ �ِ َ َّ‫﴿يَّاكَ �َعۡب دُُ�ي‬

ความว า “สํ า หรั บ พระองค เ ท า นั้ น ที่ พ วกข า พระองค


เคารพอิ บ าดะฮฺ และสํ า หรั บ พระองค เ ท า นั้ น ที่ พ วกข า
พระองคขอความชวยเหลือ”

3. การคบคาสมาคมกับเพื่อนที่ดี
َ َ ۡ‫ّ َ َ�ۡ َم‬
﴾ ٧ ‫ت َعل ۡي ِه ۡم‬ ‫﴿ِ�َٰطَ ٱ�َِين � ع‬
ความวา “ทางของบรรดาผูที่พระองคไดทรงโปรดปรานแก
พวกเขา”
9
4. การรําลึกถึงพระนามและคุณลักษณะของอัลลอฮฺอัน
วิจิตรงดงาม
﴾ ٣ ‫ِيم‬ ّ
ِ ‫ٱلرَح‬ �َّ‫﴿ر‬

ความวา “ผูทรงกรุณาปรานี ผูทรงเมตตาเสมอ”

5. การยืนหยัดอยางมั่นคง (อิสติกอมะฮฺ)
ّ َ
َ ‫ٱلص َ� ٰ َط ٱلۡمُ ۡس َتق‬
﴾٦ ‫ِيم‬ ِ ‫﴿اهۡدِنا‬
ความวา “ขอพระองคทรงแนะนําพวกขาพระองคซึ่งทางอัน
เที่ยงตรง”

6. วันปรโลก (อาคิเราะฮฺ)
ّ َۡ َٰ
ِ �‫﴿�ل ِِك يو ِم ٱ‬
﴾٤ ‫ِين‬
ความวา “ผูทรงอภิสิทธิ์แหงวันตอบแทน”

7. ความสําคัญของการขอพร (ดุอาอ)
8. ความเปนเอกภาพของประชาชาติ
ُ ‫ � َ ْس َتع‬... ُ‫﴿�َعْبُد‬
﴾�ِ
10
ความว า “พวกข า พระองค เ คารพอิ บ าดะฮฺ . ...พวกข า
พระองคขอความชวยเหลือ”
ซึ่งมาในรูปสรรพนามพหูพจน (พวกขาพระองค) ไมใช
เอกพจน ทั้งนี้ก็เพื่อเนนย้ําความเปนเอกภาพของประชาชาติ

สูเราะฮฺอัล-ฟาติหะฮฺ ไดส อนเราใหรูวาจะปฏิสัมพันธ


กับอัลลอฮฺนั้น ตองเริ่มตนดวยการสรรเสริญพระองค
ّ ‫َم د‬
َ ‫�ِِ َر ّب ۡٱل َ�ٰلَم‬
﴾٢ � ِ ِ َ ُۡۡ�﴿
ความวา “การสรรเสริญทั้งหลายนั้นเปนสิทธิของอัลลอฮฺ ผู
เปนพระเจาแหงสากลโลก”

หลังจากนั้นจึงใหขอพรตอพระองคใหทรงประทานทาง
นํา
ّ َ
َ ‫ٱلص َ� ٰ َط ٱلۡمُ ۡس َت ِق‬
﴾٦ ‫يم‬ ِ ‫﴿اهۡدِنا‬
ความวา “ขอพระองคทรงแนะนําพวกขาพระองคซึ่งทางอัน
เที่ยงตรง”

11
‫‪และหากเราไดแบงพยัญชนะทั้งหมดของสูเราะฮฺอัล-ฟา‬‬
‫‪ติหะฮฺ เราจะพบวา จํานวนครึ่งหนึ่งของพยัญชนะของสูเราะฮฺจะ‬‬
‫‪อยูในหมวดอายะฮฺการสรรเสริญอัลลอฮฺ (นั่นคือ 63 พยัญชนะ‬‬
‫ْ‬
‫اك � َ ْس َتع ُِ� ‪ ถึง‬ا�َمْدُ ِ َّ�ِ ‪นับตั้งแต‬‬
‫‪) และอีกครึ่งหนึ่งอยูในหมวด‬إ ّيَ َ‬
‫ِ‬
‫ال� َاط ‪การขอพร(ดุอาอ) (นั่นคือ 63 พยัญชนะ นับตั้งแต‬‬ ‫اهدِنَا ّ ِ َ‬
‫ْ‬
‫ّ ّ‬
‫ ٱلضَآل َِ� ‪ถึง‬‬
‫‪ََ� ) ประหนึ่งเปนการยืนยันหะดีษอัล-กุดสียที่วา‬‬
‫ّ‬ ‫ﻠّ َ َ‬ ‫ُ ْ‬
‫اﷲ َﻋﻠﻴ ِﻪ َو َﺳ َﻢ ﻗﺎل ‪َ» :‬ﻦْ ﺻَ�َ‬ ‫ اﷲُ �َﻨْﻪُ ﻋَﻦِ اﻨﻟَﺒ َﺻ َ‬
‫�‬ ‫ِﻲ ِ‬
‫َ‬
‫ُﺮَ�ْﺮَة رﻰﺿَِ‬ ‫ أﻲﺑِ ﻫ‬
‫َ َ‬ ‫َ‬ ‫َ َْ َ‬ ‫ّ ُْ َ َ َ ٌ َ ً‬ ‫م‬ ‫ﻬ‬
‫آن ﻓ ِ� ِﺧﺪاج ـ ﺛﻼﺛﺎ ـ �� �ﻤﺎمٍ « ﻓ ِﻘﻴﻞ ﻷﺑ‬ ‫َﻼةً لَﻢْ �َﻘْﺮَأ �ِﻴ َْﺎ ﺑِﺄُِ اﻟﻘﺮ ِ‬
‫َ ْ َ َﺎِ�ِّ َ ْ ُ َ ُ ْ َ‬ ‫ُﺮَ�ْﺮَة ّ َ ُ ْ ُ َ َ َ َ َ َ‬
‫ﺳ ِﻤﻌﺖ رﺳﻮل‬ ‫َﺎ ﻲﻓ �ﻔ ِﺴﻚ‪،‬‬ ‫اِﻧَﺎ ﻧ�ﻮن وراء اﻹﻣﺎمِ ‪ ،‬ﻓﻘﺎل ‪ِ :‬ﻗْﺮَأ ﺑِﻬ ِ‬
‫ّ َ َ ْ ُ َ َ َْ‬ ‫ّ َُ ُ‬
‫ﷲِ ﺻَ�َ اﷲُ ﻋَﻠﻴْﻪِ وَﺳَﻠَ َﻢ �ﻘ ْﻮل ‪َ» :‬ﺎلَ اﷲُ ﻋَﺰ َّ َﺟَﻞَ‪ :‬ﻗﺴﻤﺖ الﺼﻼة ﺑي ِ�‬
‫اﻟﻌﺒْ ُﺪ ﴿ﺤﻟﻤﺪ ﷲ رب‬ ‫ﺄل‪ ،‬ﻓَﺈ َذا ﻗَ َﺎل َ‬ ‫َ َ َ‬
‫� َو ِﻟ َﻌﺒْ ِﺪي ﻣﺎ ﺳ‬
‫ْ َْ‬ ‫َََْ َ ْ‬
‫ِ‬ ‫و�� �ﺒ ِﺪي ﻧِﺼﻔ ِ‬
‫َ َ‬ ‫ّ‬ ‫ّ ﻤﺣ َﺪ� َ�ﺒْ ِﺪي‪َ ،‬و� َذا ﻗَ َﺎل ﴿رَّ�‬ ‫ﺎلَ اﷲُ ﻋَﺰ ّ َ َ َ‬
‫ِيم﴾ ﻗﺎل‬ ‫ٱلرَح ِ‬ ‫ِ‬ ‫َ ﺟﻞ ِ ِ‬ ‫ﻟﻌﺎﻤﻟ�﴾ َ‬
‫َّ‬ ‫َ‬ ‫َ‬ ‫َ‬ ‫َ ّ َْ ْ َ‬ ‫ّ أَ�ْ�َ ‬
‫ﻳﻦ﴾ َﺎلَ اﷲُ �َ َﺪ ِ�‬ ‫ّ‬ ‫َ‬
‫ﻲﻠﻋَ �ﺒ ِﺪي‪ ،‬و�ِذا ﻗﺎل ﴿ﻣﺎل ِ ِﻚ ﻳﻮمِ ﻟِ ِ‬ ‫ﷲُ ﻋَﺰ َّ َﻞ‬
‫ِ�﴾‬ ‫اك � َ ۡس َتع ُ‬‫اِﻲﻟَ َ�ﺒْﺪي‪ ،‬ﻓَﺈ َذا ﻗَ َﺎل ﴿يَّاكَ �َعۡب دُُ �يَّ َ‬ ‫َّ‬ ‫َ�ﺒْﺪي‪ ،‬ﺎل َ مَﺮَّةً ﻓَﻮَّضَ‬
‫ِ‬ ‫ِ‬ ‫ِ‬
‫ٱلص َ�ٰطَ‬ ‫� َ�ﺒْﺪي َوﻟ َﻌﺒْﺪ ْي َﻣﺎ َﺳ َﺄل‪ ،‬ﻓَﺈ َذا ﻗَ َﺎل ﴿اهۡدِنَا ّ‬ ‫� َو�َ ْ َ‬ ‫ْ‬ ‫َ‬ ‫َ‬
‫ﻗَ َﺎل ﻫﺬا ﺑي ْ‬ ‫َ‬
‫ِ‬ ‫ِ‬ ‫ِ ِ‬ ‫ِ‬ ‫ِ‬
‫َ َ ۡ ۡ وَ�َ‬ ‫ّ َ َ�ۡ َمۡ َ َ َ ۡ ۡ َ ۡ ٱلۡمَ ۡضُ‬ ‫ٱلۡمُ ۡ َ َ‬
‫وب علي ِهم‬ ‫ِ‬ ‫� غ‬ ‫ستقِيم‪َٰ�ِ ،‬طَ ٱ�َِين � ع ت علي ِهم‪ِ � ،‬‬
‫َ‬ ‫َ َ َ َ‬ ‫آل َ‬‫ّ ّ‬
‫ِ�﴾‪ ،‬ﻗﺎل ﻫﺬا ِﻟ َﻌﺒْ ِﺪ ْي َو ِﻟ َﻌﺒْ ِﺪ ْي َﻣﺎ َﺳﺄل« ]رواه مﺴﻠﻢ ﺑﺮﻗﻢ ‪[٥٩٨‬‬ ‫لضَ‬

‫‪12‬‬
ความวา “ทานอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ รายงาน
จากท า นนบี ศ็ อ ลลั ล ลอฮุ อะลั ย ฮิ ว ะสั ล ลั ม ว า “ผู ใ ดที่
ละหมาดโดยไม อ า นอุ ม มุ ล กุ ร อาน(อั ล -ฟาติ ห ะฮฺ ) การ
ละหมาดนั้นใชไมได ทานกลาวถึง 3 ครั้ง คือไมสมบูรณ มี
ผูก ลา วแก อ บู ฮุ ร็อ ยเราะฮฺ วา พวกเราละหมาดโดยเปน
มะอมูมอยูหลังอิหมาม อบู ฮุร็อยเราะฮฺตอบวา จงอานมัน
ในใจ เพราะแทจริงฉันเคยไดยินทานนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะ
ลัยฮิ วะสัลลัม กลาววา พระองคอัลลอฮฺไดทรงกลาววา ขา
แบงการละหมาดระหวางข ากับบา วของขาเปนสองสว น
และสําหรับบาวของขาจะไดรับในสิ่งที่เขาขอ ฉะนั้นเมื่อ
บ า วได ก ล า วว า “อั ล หั ม ดุ ลิ ล ลาฮิ ร็ อ บบิ ล อาละมี น ”
พระองคอัลลอฮฺก็กลาววา บาวของขาไดสรรเสริญขา และ
เมื่อบาวกลาววา “อัรเราะหฺมานิรรอฮีม” พระองคอัลลอฮฺก็
กลาววา บาวของขาไดขอบคุณขา และเมื่อบาวกลาววา
“มาลิกิเยามิดดีน” พระองคอัลลอฮฺก็กลาววา บาวของขา
ไดใหความยิ่งใหญแกขา และบางครั้งก็กลาววา บาวของ
ขาไดใหความสําคัญแกขา และเมื่อบาวกลาววา “อิยฺยากะ
นะอฺบุดุ วะอิยฺยากะนัสตะอีน” พระองคอัลลอฮฺก็กลาววา
สิ่งนี้ระหวางขากับบาวของขา และสําหรับบาวของขาจะ

13
ไ ด รั บ ใ น สิ่ ง ที่ เ ข า ข อ แ ล ะ เ มื่ อ บ า ว ก ล า ว ว า
“อิฮฺดินัศ ศิ รอฏ็ อ ลมุ ส ตะกี ม ...(จนจบสูเ ราะฮฺ ) ” พระองค
อัลลอฮฺก็กลาววา สิ่งนี้สําหรับบาวของขา และสําหรับบาว
ของขาจะไดรับในสิ่งที่เขาขอ” (บันทึกโดยมุสลิม : 598)

มหาบริสุ ทธิ์ พระองค อัล ลอฮฺ ผูท รงเดชานุภ าพ ผูทรง


ปรีชาญาณ ผูทรงกําหนดตอทุกสภาวการณ
ทานอุ มั รฺ บินอั บดุ ล อะซี ซฺ เราะฎิ ยัล ลอฮุ อัน ฮุ เคยถูก
ถามวา ทําไมทานถึงหยุดอานในทุกๆ อายะฮฺของสูเราะฮฺอัล-ฟา
ติหะฮฺ ทานไดตอบวา “ฉันอยากใหเกิดความรูสึกที่รื่นเริงใจ
กับการโตตอบของพระผูอภิบาลของฉัน”
เพราะฉะนั้ น สู เ ราะฮฺ อั ล -ฟาติ ห ะฮฺ คื อ การลํ า ดั บ
อุ ด มการณ ข องอั ล กุ ร อานให เ ชื่ อ มโยงกั น (หลั ก การศรั ท ธา,
หลักการเคารพภักดี, หลักการดําเนินชีวิต) นั้นคือการสรรเสริญ
ตออัลลอฮฺ สุบหานะฮุ วะตะอาลา และการขอพรตอพระองค
เนื่องดวยเหตุนี้ มันจึง เปนการประมวลในทุกประการพื้นฐาน
ของศาสนาเอาไวดวยกัน

14
อัลลอฮฺ สุบหานะฮุ วะตะอาลา ไดประทานคัมภีร 104
เลม และไดผนวกไวในคัมภีรสามเลมนั่นคือ อัซ-ซะบูรฺ อัต-เตา
รอฮฺ และอัล -อินญีล และไดรวบทั้ง สามไวในคัม ภีรอัลกุร อาน
และไดรวบอัลกุรอานไวในสูเราะฮฺเดียวนั่นคืออัล-ฟาติหะฮฺ และ
ไดรวบสูเราะฮฺอัล-ฟาติหะฮฺไวในอายะฮฺเดียวนั่นคือ
ُ ‫اك � َ ۡس َتع‬
﴾٥ �ِ َ َّ‫﴿يَّاكَ �َعۡب دُُ�ي‬

ความว า “สํ า หรั บ พระองค เ ท า นั้ น ที่ พ วกข า พระองค


เคารพอิ บ าดะฮฺ และสํ า หรั บ พระองค เ ท า นั้ น ที่ พ วกข า
พระองคขอความชวยเหลือ”

คั ม ภี ร อั ล กุ ร อานเริ่ ม ต น ด ว ยสู เ ราะฮฺ นี้ และมั น เป น


เสมือนกุญแจของอัลกุรอาน ซึ่งมันประกอบดวยคลังขุมทรัพย
ตา งๆ ของอั ล กุ ร อาน และสู เ ราะฮฺ นี้ ถื อ เป น ประตู เ พื่ อ เข า สู สู
เราะฮฺตางๆของอัลกุรอาน โดยระหวางสูเราะฮฺนี้กับสูเราะฮฺอื่นๆ
นั้น มีการลําดับเรื่องที่เชื่อมโยงกัน ซึ่งสามารถวางหรืออานกอน
สู เ ราะฮฺ ใ ดก็ แ ล ว แต จะพบว า มั น ยั ง คงผู ก เรื่ อ งให ติ ด ต อ กั น
ระหวางสูเราะฮฺ ทั้งยังคงในสวนของความหมายอีกดวย

15
ความสละสลวยของสูเราะฮฺอัล-ฟาติหะฮฺ
สูเราะฮฺอัล-ฟาติหะฮฺจบทายดวยอายะฮฺ
ّ ّ
َ ‫آل‬ �
﴾٧ �ِ َ‫َ�ِۡ ٱلۡمَغۡضُوبِ عَلَيۡهِمۡ وََ ٱلض‬ ﴿
ความวา “ไมใชทางของพวกที่ถูกกริ้วและมิใชทางของพวก
ที่หลงผิด”

แลวสูเราะฮฺอัล-บะเกาะเราะฮฺก็ตามมาหลังจากนั้นซึ่ง
ไดสาธยายถึง "พวกที่ถูกกริ้วโกรธ" (บนี อิสรออีล หรือชาวยิว)
โดยสาธยายถึงการปฏิเสธศรัทธาตอพระเจาของพวกเขาและศา
สนทูตของพระองค และสูเราะฮฺอาล อิมรอนก็ไดมาเพื่อสาธยาย
ถึง "พวกที่หลงผิด" (นะศอรอหรือชาวคริสเตียน)
ประโยคสุ ดท ายของสูเ ราะฮฺ อัล-ฟาติ ห ะฮฺ ซึ่ง เปน สวน
ของการขอพรนั้นไดมีขอเกี่ยวพันกับการเริ่มตนของสูเราะฮฺ อัล-
บะเกาะเราะฮฺ
ّ ‫هُدى‬
َ ‫ِّلۡمُتَق‬ ٗ
[٢ : ‫ ﴾ ]ﺒﻟﻘﺮة‬٢ �ِ ﴿
ความวา “เปนคํา แนะนํา สํา หรับ บรรดาผูยําเกรงเทานั้น”
(อัล-บะเกาะเราะฮฺ 2)

16
ประหนึ่งวา
ّ َ
َ ‫ٱلص َ� ٰ َط ٱلۡمُ ۡس َتق‬
﴾٦ ‫ِيم‬ ِ ‫﴿اهۡدِنا‬
ความวา “ขอพระองคทรงแนะนําพวกขาพระองคซึ่งทางอัน
เที่ยงตรง”

ในสูเราะฮฺอัล-ฟาติหะฮฺนั้น คือทางนําที่ไ ดปรากฏในสู


เราะฮฺอัล-บะเกาะเราะฮฺนั้นเอง

สูเราะฮฺอัล-ฟาติหะฮฺเริ่มตนดวย
ّ ‫َم د‬
َ ‫�ِِ َر ّب ۡٱل َ�ٰلَم‬
﴾٢ � ِ ِ َ ُۡۡ�﴿
ความวา “การสรรเสริญทั้งหลายนั้นเปนสิทธิของอัลลอฮฺ ผู
เปนพระเจาแหงสากลโลก”

และถือเปนประโยคแรกของคัมภีรอัลกุรอาน ซึ่งมีความ
สอดคลองกับประโยคสุดทายของสูเราะฮฺอัน-นาส
ِ َّ�َ‫ِنَ ٱ�ۡ َّةِ ٱ‬
﴾٦ ‫اس‬ ‫ِن‬ ﴿
ความวา “จากหมูญินและมนุษย”

17
ْ
อัลลอฮฺ ตะอาลา ทรงเริ่มตนดวย “�َ ‫( ”ال َعا ِلَم‬สากลโลก)
ّ
และจบดวย “‫( ”ا ِ� َّةِ وَ �اَ ِس‬หมูญิ นและมนุ ษย ) หมายรวมวา
คัมภีรอัลกุรอานเลมนี้เปนขอชี้นําแกสากลโลก รวมทั้งสรรพสิ่ง
ตางๆ ที่อัลลอฮฺทรงสรางจากหมูญินและมนุษย ไมใชเฉพาะคน
หนึ่งคนใดเปนการเฉพาะหรือเจาะจงสําหรับผูศรัทธาเทานั้น
อีกทั้งหลักการอาน (ตัจญวีด) ในสูเราะฮฺอัล-ฟาติหะฮฺก็
มีความงายดาย แทบจะไมปรากฏหลักการที่ยุงยากในการอาน
เลย ทั้ง นี้ เนื่ องดวยความรอบรูข องพระองค ที่ประสงคใหเ กิด
ความงายดายในการอานและทองจํามัน แกมนุษยทุกคนทั้งที่
เปนชาวอาหรับหรือกลุมชนอื่นๆ
และอัลลอฮฺ ตะอาลา นั้นคือ ผูทรงกรุณาปรานี ผูทรง
เมตตาเสมอ และพระองคคือผูทรงอภิสิทธิ์แหงวันตอบแทน จึงมี
ความจํ า เป น สํ า หรั บ เราที่ ต อ งคอยระวั ง จากการลงโทษของ
พระองคในวันแหงการฟนคืนชีพและวันแหงการตอบแทน
ด ว ยความเป น มนุ ษ ย พวกเขาย อ มต อ งการความ
ชวยเหลือจากอัลลอฮฺ สุบหานะฮุ วะตะอาลาในการเคารพภักดี
ตอพระองค เพราะฉะนั้น หากปราศจากการชวยเหลือใดๆ จาก

18
พระองคแลวไซร เรายอมไมสามารถเคารพภักดีตอพระองคได
อยางแนนอน
ُ ‫اك � َ ۡس َتع‬
﴾٥ �ِ َ َّ‫اك �َعۡبُُ�ي‬
َ َّ‫﴿ِي‬

ความว า “สํ า หรั บ พระองค เ ท า นั้ น ที่ พ วกข า พระองค


เคารพอิ บ าดะฮฺ และสํ า หรั บ พระองค เ ท า นั้ น ที่ พ วกข า
พระองคขอความชวยเหลือ”

และเราขอพรตออัลลอฮฺ ตะอาลา ใหทรงแนะนําทางอัน


เที่ยงตรง
ّ َ
َ ‫ٱلص َ� ٰ َط ٱلۡمُ ۡس َتق‬
﴾٦ ‫ِيم‬ ِ ‫﴿اهۡدِنا‬
ความวา “ขอพระองคทรงแนะนําพวกขาพระองคซึ่งทางอัน
เที่ยงตรง”

ทางอันเที่ยงตรงนั้นคือ ไมมีทางอื่นใดนอกจากทางของ
ท า นนบี ศ็ อ ลลั ล ลอฮุ อะลั ย ฮิ วะสั ล ลั ม และทางของเหล า
กัลยาณชน(สะละฟุศศอลิหฺ)ของเรา จากหมูเศาะหาบะฮฺ และผู
ที่ปฏิบัติตัวเหมือนพวกทานทั้งหลาย
َ َ ۡ‫ّ َ َ�ۡ َم‬
﴾٧ ‫ت َعل ۡي ِه ۡم‬ ‫﴿ِ�َٰطَ ٱ�َِين � ع‬

19
ความวา “ทางของบรรดาผูที่พระองคไดทรงโปรดปรานแก
พวกเขา”

และเราได ขอพรตออั ลลอฮฺ ใหเราได ออกห างจากทาง


ของพวกที่ ถู กกริ้ ว และทางของพวกที่ ห ลงผิ ด จากหมู ช าวยิ ว
และคริสเตียน และเหลาผูปฏิเสธศรัทธาที่ทําสงครามกับอัลลอฮฺ
และทานศาสนทูตของพระองค รวมทั้งที่ทําสงครามกับอิสลาม
และบรรดาผูศรัทธาในทุกยุคทุกสมัย
ّ ّ
َ ‫آل‬ �
﴾ ٧ �ِ َ‫َ�ِۡ ٱلۡمَغۡضُوبِ عَلَيۡهِمۡ وََ ٱلض‬ ﴿
ความวา “ไมใชทางของพวกที่ถูกกริ้วและมิใชทางของพวก
ที่หลงผิด”

บัดนี้ เราไดรูแลววา เปาหมายของสูเราะฮฺอัล-ฟาติหะฮฺ


ที่เราไดทวนอานซ้ําไปมาในการละหมาดที่เปนฟรฎไมรวมที่เปน
สุนนะฮฺมากถึง 17 ครั้งในแตละวันนั้น ไมมีขอสงสัยใดๆ อีกวา
เรายอมไดสัมผัสกับนัยตางๆ (ของอัลกุรอาน) และเรายอมได
พินิจ ใคร ครวญต อ ความหมายของมั น พร อ มทั้ ง ไดส รรเสริ ญ
ตออัล ลอฮฺ สุ บหานะฮุ วะตะอาลา ขอบคุ ณ ตอพระองค และ
20
วิงวอนขอพรตอพระองคใหทรงแนะนําไปสูทางของพระองคอัน
เที่ยงตรง

ّ�‫وﺻ‬
،‫ﷲ ﻰﻠﻋ ﻧبﻴّ�ﻤﺪ وﻰﻠﻋ آﻪﻟ وﺻﺤﺒﻪ وﺳﻠﻢ‬ ،‫واﷲ أﻋﻠﻢ ﺑﺎلﺼﻮاب‬
�‫ﺤﻟﻤﺪ ﷲ رب اﻟﻌﺎﻤﻟ‬

21

You might also like