Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 26

แผนการจัดการศึกษาขัน

้ พื้นฐานโดยครอบครัว

ของ
เด็กหญิง,เด็กชาย...................................
ระดับประถมศึกษา (ป.......-.......)
ภาคเรียนที่...........ปี การศึกษา...................
จัดการศึกษาโดย
นาย/นาง/
นางสาว...................................................................
2

สำนักงานเขตพื้นทีก
่ ารศึกษาประถมศึกษา
กรุงเทพมหานคร
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

แผนการจัดการศึกษาโดยครอบครัว
เด็กหญิง/เด็กชาย......................................................
ระดับการศึกษา ประถมศึกษาปี ที่ ..........-...........

๑. ข้อมูลพื้นฐานของครอบครัว

ชื่อบิดา
..........................................................................................................
........................................
3

วุฒิการศึกษา
..........................................................................................................
........................................

ประสบการณ์ ........................................................................................
..........................................................

.................................................................................................
.................................................

อายุ ………………………….. ปี   อาชีพ


................................................................

ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน
…………………….………………………………………………………………………
……....

ที่อยู่ปัจจุบัน
..........................................................................................................
......................

โทรศัพท์/โทรสาร
.......................................................................................

อีเมลล์
..........................................................................................................
.........

ชื่อมารดา
..........................................................................................................
4

........................................

วุฒิการศึกษา
..........................................................................................................
........................................

ประสบการณ์ ........................................................................................
..........................................................

.................................................................................................
.................................................

อายุ ………………………….. ปี   อาชีพ


................................................................

ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน
…………………….………………………………………………………………………
……....

ที่อยู่ปัจจุบัน
..........................................................................................................
......................

โทรศัพท์/
โทรสาร.....................................................................................................

อีเมลล์
..........................................................................................................
.........
๒. ข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียน

ชื่อ – สกุล
................................................................................................................
..........................
วัน/เดือน/ปี เกิด .............................................................อายุ
ปั จจุบัน ......................................ปี
เคยเข้าเรียนที่ ...........................................................................ตัง้ แต่
ปี .........................-..........................

๓.ระดับการศึกษาที่จัด
ระดับประถมศึกษาปี ที่ ..............-................
4. พัฒนาการของผู้เรียนทางด้านต่างๆ /ความสนใจพิเศษ

ตัวอย่าง

- พัฒนาการทางด้านร่างกาย/อุปนิสัย มีพัฒนาการตามวัย ร่าเริง


แจ่มใส ชอบร้องเพลงและเล่นกีฬา สามารถปฏิบัติตัวเมื่ออยู่ในสังคมได้ดี
รักความสงบ ทำกิจกรรมที่ต้องใช้สมาธิได้ดี มีความถนัด และมีแววด้าน
การประดิษฐ์เป็ นพิเศษ

- พัฒนาการด้านวิชาการต่างๆ
1. ภาษาไทย ............................................
2.คณิตศาสตร์ .........................................
3.วิทยาศาสตร์ .......................................
4.สังคมศึกษาฯ ......................................
5.สุขศึกษาและพละศึกษา .............................................
6.การงานอาชีพและเทคโนโลยี ......................................
7.ภาษาต่างประเทศ .......................................................
6

8.ศิลปะ .........................................................................
- ความสนใจพิเศษของผู้เรียน
- สิ่งประดิษฐ์ ...................................................
- ดนตรี ...........................................................
- วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี .........................
- กีฬา...............................................................
- อื่น ๆ

** รายละเอียดหัวข้อเบื้องต้นเป็ นเพียงการยกตัวอย่างหัวข้อที่จะใช้
อธิบายถึงพัฒนาการต่างๆ ของผูเ้ รียน ทัง้ นีค
้ รอบครัวสามารถนำไป
ปรับปรุง หรือเพิ่มเติมได้ตามพัฒนาการของผูเ้ รียนเฉพาะบุคคล

5. เหตุผลในการจัดการศึกษาของครอบครัว
เนื่องจาก............................................................................................
.....................................................

6.จุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษา/แนวทางการจัดการศึกษา
*ครอบครัวสามารถกำหนดจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาแต่ละ
ระดับของการจัดการศึกษาที่จัด
โดยยึดตามจุดมุ่งหมาย สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และสามารถ
เพิ่มเติมจุดมุ่งหมายตามความคาดหวัง/ปรัชญา/ความเชื่อของครอบครัว
และ/หรือ ตามความถนัดความสนใจตามศักยภาพของผู้เรียน
7

7. รูปแบบการจัดการศึกษา
*ให้ระบุรูปแบบการจัดการศึกษาที่ครอบครัวประสงค์จะจัดการ
ศึกษา เช่น
1. แบบครอบครัวเดี่ยว จัดการศึกษาสำหรับครอบครัวที่มีความสนใจ
เฉพาะด้านแตกต่างกับครอบครัวอื่น
อาจเข้าร่วมกิจกรรมกับครอบครัว/กลุ่มครอบครัวอื่น/กิจกรรมพัฒนาการ
เรียนรู้อ่ น
ื ๆ ตามความเหมาะสม
2. แบบมีข้อตกลงร่วมกับโรงเรียนหรือหน่วยงานอื่น โดยมีการเข้าไปใช้
ทรัพยากรในโรงเรียนหรือเข้าไปทำกิจกรรมร่วมกัน เนื่องจากต้องการให้
บุตรได้มีความรู้ และประสบการณ์ที่สามารถเชื่อมโยงความรู้ของแผนการ
จัดการศึกษาของครอบครัวและระบบโรงเรียนได้
3. แบบกลุ่มครอบครัวที่มีแนวคิดคล้ายๆกัน เป็ นการจำลองสังคมเล็กๆ
เชื่อว่าการเชื่อมโยงกับกลุ่มเป้ าหมายเป็ นการช่วยเสริมองค์ความรู้และ
พัฒนาการของผู้เรียนได้
8

8. โครงสร้างเวลาเรียน (สัดส่วนการเรียนรู้/จำนวนชั่วโมงสอน)
ตัวอย่าง
โครงสร้างเวลาเรียน
ของ.....................................................................
ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ......-.......

กลุ่มสาระการเรียนรู้ เวลาเรียน
จำนวนชั่วโมง/ปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้
๑. ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ 160 160 160
๒. คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ 160 160 160
9

๓. วิทยาศาสตร์ 80 80 80 80 80 80
๔. สังคมศึกษา ศาสนาและ 120 120 120 120 120 120
วัฒนธรรม 40 40 40 40 40 40
- ประวัติศาสตร์
- ศาสนา ศีลธรรม
จริยธรรม 80 80 80 80 80 80
- หน้าทีพ
่ ลเมืองวัฒนธรรม
และการดำเนิน
ชีวิตในสังคม
- เศรษฐศาสตร์
- ภูมิศาสตร์
5. สุขศึกษาและพลศึกษา 80 80 80 80 80 80
6. ศิลปะ 80 80 80 80 80 80
7. การงานอาชีพและ 40 40 40 80 80 80
เทคโนโลยี
8. ภาษาต่างประเทศ 40 40 40 80 80 80
(ภาษาอังกฤษ)
รวมเวลาเรียน(พื้นฐาน) 840 840 840 840 840 840
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 120 120 120
กลุ่มสาระเพิ่มเติม ปี ละไม่เกิน 40 ชั่วโมง
(.............................)
รวมเวลาเรียนทัง้ หมด ไม่เกิน 1,000 ชั่วโมง/ปี
10

กลุ่มประสบการณ์ เวลาเรียน
จำนวนชั่วโมง/ปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖
กลุ่มประสบการณ์
(ตัวอย่าง)
๑. ความรู้ในธรรมชาติ
๒. ความรู้ในตนเองและ
สังคม
๓. ความรู้ในศาสนา ศิลป
วัฒนธรรม
๔. ความรู้เรื่องเกี่ยวกับ
ตนเอง และความสัมพันธ์
ของตนเองกับสังคม
5. ความรู้และทักษะด้าน
วิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี
6. ความรู้เกี่ยวกับศาสนา
ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา
11

ภูมิปัญญาไทย และการ
ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา
7. ความรู้และทักษะด้าน 320 320 320 320 320 320
คณิตศาสตร์และด้านภาษา
- คณิตศาสตร์ 80 80 80 80 80 80
- ภาษาไทย 80 80 80 80 80 80
- ภาษาอังกฤษ 80 80 80 80 80 80
- ภาษาอื่น ๆ 80 80 80 80 80 80
....................................
8. ความรู้และทักษะในการ
ประกอบอาชีพ และการ
ดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
รวมเวลาเรียน(พื้นฐาน)
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 120 120 120
กลุ่มสาระเพิ่มเติม ปี ละไม่เกิน .............. ชั่วโมง
(.............................)
รวมเวลาเรียนทัง้ หมด ไม่เกิน ..................... ชั่วโมง/ปี

* ข้อมูลในตารางเป็ นการแสดงตัวอย่างชั่วโมงเรียนของแต่ละกลุ่มสาระ
การเรียนรู้/
กลุ่มประสบการณ์ ครอบครัวสามารถนำไปเป็ นแนวทางในการจัดชั่วโมง
เรียน โดยปรับให้เหมาะสมกับการจัดการศึกษาแต่ละครอบครัว
12

9. การจัดกลุ่มสาระการเรียนรู้/กลุ่มประสบการณ์

กลุ่มสาระการเรียนรู้ เป้ าหมายที่มุ่งหวัง การจัดกิจกรรมการ


/กลุ่มประสบการณ์ เรียนรู้
ป. 1-3 ป. 4-6

๑. ภาษาไทย 1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
ฯลฯ
๒. คณิตศาสตร์ 1.
2.
3.
4.
5.
6.
13

7.
8.
ฯลฯ
๓. วิทยาศาสตร์ 1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
ฯลฯ
๔. สังคมศึกษา ศาสนา 1.
และวัฒนธรรม 2.
- ประวัติศาสตร์ 3.
- ศาสนา ศีลธรรม 4.
จริยธรรม 5.
- หน้าทีพ
่ ลเมืองวัฒนธรรม 6.
และการดำเนิน 7.
ชีวิตในสังคม 8.
- เศรษฐศาสตร์ ฯลฯ
- ภูมิศาสตร์

5. สุขศึกษาและพลศึกษา 1.
2.
14

3.
4.
5.
6.
7.
8.
ฯลฯ
6. ศิลปะ 1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
ฯลฯ
7. การงานอาชีพและ 1.
เทคโนโลยี 2.
3.
4.
5.
6.
7.
15

8.
ฯลฯ
8. ภาษาต่างประเทศ 1.
(ภาษาอังกฤษ) 2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
ฯลฯ
* ครอบครัว สามารถจัดการเรียนการสอนแยกรายวิชาตามกลุ่ม
สาระ หรือ อาจหลอมรวมบูรณาการเป็ นกลุ่มประสบการณ์ต่าง ๆ ได้ตาม
ความเหมาะสม ทัง้ นีเ้ ป้ าหมายที่มุ่งหวังและกิจกรรมการเรียนรู้ต้อง
สอดคล้องกัน
* ผู้ปกครองสามารถศึกษาแนวทางในการเขียนเป้ าหมายที่มุ่งหวัง (
ตัวชีว้ ัด) ได้จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช
2551

การหลอมรวมบูรณาการเป็ นกลุ่มประสบการณ์ต่าง ๆ เช่น


- กลุ่มประสบการณ์ความรู้ในธรรมชาติ
- กลุ่มประสบการณ์ความรู้ในตนเองและสังคม
- กลุ่มประสบการณ์ความรู้ในศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
- กลุ่มความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเองกับ
สังคม
16

- กลุ่มความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
- กลุ่มความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญา
ไทย และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา
- กลุ่มความรู้และทักษะด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษา
- กลุ่มความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ และการดำรงชีวิต
อย่างมีความสุข
หรือ ครอบครัวสามารถจัดการเรียนรู้แยกเป็ นรายวิชาตามกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ ต่าง ๆ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร๋ วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนะรรม ศิลปะ สุขศึกษา และพลศึกษา การ
งานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ เป็ นต้น
10. การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
(ให้ครอบครัวระบุกิจกรรมที่จัด...................................)
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน

พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
มุ่งพัฒนาคนให้มีความสมดุลทัง้ ด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ
ความดีงาม และความรับผิดชอบต่อสังคม นอกเหนือจากการเรียนด้าน
วิชาการแล้ว ได้กำหนดให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ได้แก่
1. กิจกรรมแนะแนว
2. กิจกรรมนักเรียน (ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ชุมนุม ชมรม
ฯลฯ)
3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ เช่น กิจกรรมอาสา
พัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม เป็ นต้น เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนา
ตนเองเต็มตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความเป้ นมนุษย์ที่
สมบูรณ์ทงั ้ ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเสริมสร้างให้เป็ นผู้มีศล

17

ธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝั งการมีจิตสำนึกเพื่อสังคม สามารถ


จัดการตนเองได้และอยู่กับผู้อ่ น
ื ได้อย่างมีความสุข
* รายละเอียดข้างต้น เป็ นการอธิบายและยกตัวอย่างกิจกรรมพัฒนาผู้
เรียน ครอบครัวสามารถนำไปเป็ นแนวทางในการจัดกิจกกรมพัฒนาผู้
เรียน โดยปรับให้เหมาะสมกับการจัดการศึกษาแต่ละครอบครัว

11. การจัดกระบวนการเรียนรู้
(ให้ครอบครัวอธิบาย/ระบุ การจัดกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
........................................................)
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการศึกษาของครอบครัว
ที่ได้รับอนุมัติจากเขตพื้นที่การศึกษา ซึง่ สามารถบรรลุถึงมาตรฐานการ
เรียนรู้ตัวชีว้ ัด สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
และสาระการเรียนรู้ของผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้น
ฐาน พุทธศักราช 2551

12. ตารางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ตัวอย่าง)


วัน/ 09.00- 10.00-11.00 11.00-12.00 12.00- 13.00-14- 14.00-15.00 15.00-
เวลา 10.00 13.00 00 16.00

จันทร์ ภาษาไทย คณิตศาสต การงาน วิทยาศาส ภาษาต่าง สุขศึกษา


ร์ อาชีพและ ตร์ ประเทศ และ
เทคโนโลยี (ภาษา พลศึกษา
อังกฤษ)
อังคาร สังคม คณิตศาสต ภาษาต่าง สุขศึกษา ภาษาไทย วิทยาศาส
18

ศึกษาฯ ร์ ประเทศ และ ตร์


(ภาษา พลศึกษา
อังกฤษ)
พุธ คณิตศาส วิทยาศาสตร์ สังคม ศิลปะ สังคม ภาษาไทย
ตร์ ศึกษาฯ ศึกษาฯ
พฤหัส ภาษาไทย คณิตศาสต ภาษาต่าง สุขศึกษา วิทยาศาสตร์ กิจกรรม
บดี ร์ ประเทศ (ภ และ พัฒนาผู้
าษา พลศึกษา เรียน
อังกฤษ) (..............
......)
ศุกร์ คณิตศาส ภาษาต่าง ภาษาไทย สังคม สังคม กลุ่มสาระ
ตร์ ประเทศ ศึกษาฯ ศึกษาฯ เพิ่มเติม
(ภาษา (..............
อังกฤษ) ......)
ตารางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ตัวอย่าง)
* ตารางการจัดกิจกรรมข้างต้น เป็ นเพียงการยกตัวอย่างเพื่อให้ง่ายต่อการทำความเข้าใจ ทัง้ นี ้ ผูป
้ กครองต้องนำ
ไปปรับเปลี่ยนและเขียนให้สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ของแต่ละครอบครัว

วัน/ 09.00-10.00 10.00-11.00 11.00-12.00 12.00- 13.00-14-00 14.00-15.00 15.00-16.00


เวลา 13.00
จันทร์ ความรู้ในธรรมชาติ ความรู้ในตนเอง ความรู้ในศาสนา ศิลป ความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเอง ความรู้และทักษะด้าน
และสังคม วัฒนธรรม และความสัมพันธ์ของตนเอง วิทยาศาสตร์ และ
กับสังคม เทคโนโลยี
อังคาร ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ ความรู้และ ความรู้และทักษะใน ความรู้และทักษะด้าน ความรู้และทักษะในการ กิจกรรม
วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญา ทักษะด้าน การประกอบอาชีพ คณิตศาสตร์และด้านภาษา ประกอบอาชีพ และการ พัฒนาผู้เรียน
ไทย และการประยุกต์ใช้ คณิตศาสตร์ และการดำรงชีวิต (ภาษาไทย) ดำรงชีวิตอย่างมีความสุข (....................)
ภูมิปัญญา และด้านภาษา อย่างมีความสุข
(คณิตฯ)
พุธ ความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเอง และ ความรู้และ ความรู้และทักษะใน ความรู้และทักษะด้าน กลุ่มสาระเพิ่มเติม ความรู้ใน
ความสัมพันธ์ของตนเองกับ ทักษะด้าน การประกอบอาชีพ คณิตศาสตร์และด้านภาษา (.............................) ตนเองและ
สังคม คณิตศาสตร์ และการดำรงชีวิต (ภาษาไทย) สังคม
20

และด้านภาษา อย่างมีความสุข
(ภาษาอังกฤษ)
พฤหัสบ ความรู้และทักษะด้าน กลุ่มสาระเพิ่ม ความรู้และทักษะด้าน ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ ความรู้และทักษะด้าน ความรู้ใน
ดี คณิตศาสตร์และด้านภาษา เติม คณิตศาสตร์และด้าน วัฒนธรรม การกีฬา คณิตศาสตร์และด้านภาษา ธรรมชาติ
(ภาษาไทย) (........................ ภาษา ภูมิปัญญาไทย และการ (ภาษาอังกฤษ)
..) (คณิตฯ) ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา
ศุกร์ ความรู้ในธรรมชาติ ความรู้ใน ความรู้และทักษะด้าน ความรู้และทักษะด้าน ความรู้และทักษะด้าน ความรู้ใน
ศาสนา ศิลป วิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์และด้านภาษา คณิตศาสตร์และด้านภาษา ตนเองและ
วัฒนธรรม เทคโนโลยี (ภาษาอังกฤษ) (คณิตฯ) สังคม
21

13. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้/กลุ่ม
ประสบการณ์การเรียนรู้
ครอบครัว/ผู้จัดการศึกษา ดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดตลอดจนจัดทำรายงานการวัดประเมินผลการ
เรียนรู้ของผู้เรียน รวมทัง้ การจัดการเรียนการสอน และสภาพปั ญหาที่เกี่ยวกับ
การจัดการศึกษาตามที่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำหนดอย่างน้อยปี ละ 1
ครัง้ โดยการประเมินจากคณะกรรมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้
เรียนการจัดการศึกษาขัน
้ พื้นฐานโดยครอบครัว ของสำนักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร โดยร่วมกันกำหนดวัน เวลา และสัดส่วน
การประเมินผลของครอบครัวและคณะกรรมการวัดและประเมินผล (70 : 30)
13.1 แนวทาง/วิธีการวัดและประเมินผล
- การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงและใช้วิธีการที่หลากหลาย
เช่น การให้ผู้เรียนปฏิบัติ กิจกรรมที่ได้มีโอกาสวางแผนการทำงานเอง
ปฏิบัติจริง ภายใต้คำแนะนำและการอำนวย ความสะดวกจากผู้
ปกครอง
- การใช้วิธีการประเมินที่หลากหลายรอบด้าน เพื่อให้ผลการ
ประเมินมีความตรง (Valid) คือ ผลการประเมินสอดคล้องกับศักยภาพ
ที่แท้จริงของผู้เรียนซึ่งอาจดำเนินได้โดยการสังเกต พฤติกรรม
ขณะทำงาน สนทนา ตัง้ คำถาม และตรวจผลงาน
- การเตรียมความพร้อมและเอกสารหลักฐานของครอบครัว

21
22

1. รายงานการประเมินผลการจัดการศึกษาโดยครอบครัวใน
รอบ 1 ปี
1.1 ข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียนและของครอบครัวในส่วน
ที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษาโดยครอบครัว
1.2 ผลการจัดการศึกษาในรอบปี โดยเขียนให้
สอดคล้องกับการจัดสาระการเรียนรู้/กลุ่มประสบการณ์
ของแต่ละครอบครัว
1.3 ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ ตามแผนการ
จัดการศึกษาโดยครอบครัว ได้แก่ ด้านความรู้ ทักษะ
เจตคติ ความสามารถ การอ่าน
คิดวิเคราะห์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.4 จุดเด่น/ความสำเร็จที่สำคัยของการจัดการศึกษา
1.5 ปั ญหาอุปสรรค หรือ สิ่งที่ควรพัฒนา
1.6 แนวทางการจัดการเรียนรู้ในปี ต่อไป โดยปรับให้
สอดคล้องกับจุดเด่นจุดด้อยและปั ญหาอุปสรรคที่เกิด
จากการจัดการศึกษาในรอบปี ที่ผ่านมา
1.7 ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะอื่น ๆ
2. หลักฐาน/ร่องรอยการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ของผู้เรียน
2.1 แฟ้ มสะสมผลงาน บันทึกผลการเรียนรู้
2.2 ผลงาน/ชิน
้ งาน

22
23

2.3 อื่น ๆ ที่แสดงพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียน


รู้ที่สามารถใช้ ประเมินความสามารถของผู้เรียน
ตัวอย่าง แนวทางการวัดและประเมินผลในส่วนของครอบครัว
ใช้หลักการประเมินผลตามสภาพจริง โดยคำนึงถึงการประเมินเพื่อ
การพัฒนาผู้เรียนเป็ นหลัก มุ่งเน้นให้เห็นถึงพัฒนาการของผู้เรียน
อย่างแท้จริง เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการศึกษาใน ระดับถัด
ไป เช่น
การสังเกตอย่างใกล้ชิดของพ่อแม่ โดยเฉพาะเกี่ยวกับการแก้
ปั ญหา การเข้ากับคนอื่น
การกล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออก กล้าแสดงความคิดเห็น ความ
สนใจใคร่รู้ เป็ นต้น
ใช้บันทึกช่วยจำ บันทึกการเรียนรู้ของผู้เรียน เก็บผลงาน สมุด
ภาพ ใบงาน ชิน
้ งาน แฟ้ ม สะสมงาน เป็ นหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้
บันทึกภาพถ่าย วิดีโอ พฤติกรรม คำพูด การแสดงออก เพื่อ
ให้เห็นพัฒนาการาและการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง
ประเมินสอบถามจากเพื่อน ญาติพี่น้อง และคนรอบข้าง รวม
ทัง้ การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน การประเมินตนเองด้วยฯ
** รายละเอียดข้างต้นเป็ นเพียงการยกตัวอย่างการประเมินผลพัฒนาการของผู้
เรียน ทัง้ นีค
้ รอบครัวสามารถเพิ่มแนวทางในการวัดและประเมินผลของผู้เรียน
ได้ตามความเหมาะสมของแต่ละบุคคล

13.2 เกณฑ์ตัดสินผลการเรียน

23
24

- เป็ นไปตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช
2551 โดยกำหนดหลักเกณฑ์ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อตัดสิน
ผลการเรียนของผู้เรียนดังนี ้
1. ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลา
เรียนทัง้ หมด
2. ผู้เรียนมีผลการประเมินผลการเรียนผ่านทุกกลุ่มสาระการ
เรียนรู้/
กลุ่มประสบการณ์ .
3. ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน
คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ตามที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา
กรุงเทพมหานครและครอบครัวกำหนด

24
25

13.3 การให้ระดับผลการเรียน
ตารางแสดงการให้ระดับผลการเรียน

การตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา สามารถให้ระดับผลการเรียนหรือ
ระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนเป็ นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อย
ละ และระบบคำสะท้อนมาตรฐาน
* หมายเหตุ : ครอบครัวควรเลือกการให้ระดับผลการเรียนเป็ นระบบตัวเลข

13.4 เกณฑ์การจบการศึกษา
ผู้เรียนต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานตัวชีว้ ัดดังนี ้

25
26

1. ผู้เรียนมีผลการประเมินทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้/กลุ่ม
ประสบการณ์
ตามแผนการจัดการศึกษาของผู้เรียน ในระดับ ผ่าน (ร้อยละ
50) ขึน
้ ไป
2. ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
ในระดับ ผ่าน (ร้อยละ 50) ขึน
้ ไป
3. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะทีพ
่ ึงประสงค์
ในระดับ ผ่าน (ร้อยละ 50) ขึน
้ ไป
4. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และมีผลการประเมิน
ในระดับผ่าน (ร้อยละ 50) ขึน
้ ไป ประกอบด้วย
- กิจกรรมแนะแนว
- กิจกรรมนักเรียน (ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้
บำเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวิชาทหาร
ชุมนุม/ชมรม)
- กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์

26

You might also like