1652090581306RCIM 1- concape paper ๑๕ หน้า ฤทัยรัตน์

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 19

RCIM 1-1

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ
แบบฟอร์มเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์/ค้นคว้าอิสระ
เรื่อง ขออนุมัติข้อเสนอวิทยานิพนธ์ /การศึกษาอิสระ
เรียน ผู้อานวยการวิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ
ข้าพเจ้า นางสาวฤทัยรัตน์ เวียงจันดา
รหัสนักศึกษา 1652090581306 รุ่น 652
เบอร์โทรศัพท์ 089-528-9734
E-mail Ruethairat__Wiengjanda@hotmail.com
ที่อยู่ปัจจุบัน 70/95 หมู่บ้านศรีบัณฑิต 5 ตาบลบางกรวย อาเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 11130
สถานที่ทางาน 291/1 โรงเรียนราชวินิต ถนนครราชสีมา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 11300
ตาแหน่งงาน ครู เบอร์โทรศัพท์ 02-2812156, 065-2399577
แผนการเรียน () วิทยานิพนธ์
( ) ค้นคว้าอิสระ
ข้าพเจ้าขอเสนอหัวข้อ วิทยานิพนธ์/ค้นคว้าอิสระ
ชื่อ (ภาษาไทย) นวัตกรรมการบริ ห ารวัฒ นธรรมองค์กรในช่ว งเปลี่ ยนผ่ านดิจิทัล เพื่อลดความเหลื่ อมล้า
ทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา ในสังกัดส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน

ชื่อ (ภาษาอังกฤษ) Organizational Culture Management Innovation During The Digital Transition
to Reduce Educational Inequality of Primary Schools. Office of The Basic Education
Commission

โดยรายละเอียดตามเอกสารที่แนบมาพร้อมนี้ จานวน 2 ชุด

นักศึกษาลงชื่อ...................................................
( นางสาวฤทัยรัตน์ เวียงจันดา )
วัน/เดือน/ปี.........................................................
2 RCIM 1-2

การเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์/ค้นคว้าอิสระ

ชื่อเรื่อง (ภาษาไทย) นวัตกรรมการบริหารวัฒนธรรมองค์กรในช่วงเปลี่ยนผ่านดิจิทัลเพื่อ ลดความเหลื่อม


ล้าทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา ในสังกัดส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน
( English) Organizational Culture Management Innovation During The Digital
Transition to Reduce Educational Inequality of Primary Schools. Office of The Basic Education
Commission

1. บทนา ประกอบด้วย
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
จากกระแสโลกาภิวัต น์ แ ละความเปลี่ ย นแปลงของโลกที่ เ กิ ด ขึ นอย่ า งรวดเร็ว ทั งด้ า นวิ ท ยาการ
ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยี เป็ น สั งคมที่ต้องอาศัยความรู้ (Knowledge Based Society) ซึ่งมีผ ลให้ การ
บริหารการศึกษาไทยต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขของการแข่งขัน ต้องเรียนรู้และปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลงและความท้าทายดังกล่าว ได้แก่ คุณภาพของคน การพัฒนาคนให้มีคุณภาพต้อง
เริ่มต้นด้วยการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อ ส่งผลให้ศักยภาพที่มีอยู่ในตัวตนของคนได้รับการพัฒนาอย่าง
เต็มที่ ท้าให้คนรู้จักคิด วิ เคราะห์ รู้จักแก้ปัญหา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักเรียนรู้ด้วยตนเอง มีความ
ปลอดภัยของร่างกาย จิตใจ ไม่ตกอยู่ในสภาพเสี่ยง สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข (วิไล ปรึกษากร และ
นพดล เจนอักษร, 2561, หน้า 172) ในยุคที่โลกมีการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว องค์กรที่สามารถ
ปรับตัวและเตรียมความพร้อมเพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดได้เร็วเท่าไรย่อมมีความได้เปรียบ
มากเท่านัน เช่น โควิด-19 กลายเป็นแรงผลักดันบังคับให้เกิดการปรับตัวและน้ามาซึ่งเทคโนโลยีและนวัตกรรม
รูปแบบการศึกษาใหม่ ๆ ที่ช่วยให้เด็กได้เรียนรู้ด้วยตนเองด้วยรูปแบบที่แตกต่างกลายเป็นโมเดลใหม่ ๆ ที่สอด
รับกับบริบทของแต่ละพืนที่ทั่วโลก การเตรียมความพร้อมในการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงผลักดันให้ผู้บริหาร
การศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีศักยภาพในการบริหารการศึกษาและการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล
รวมถึงภาวะผู้น้ายุคดิจิทัล ซึ่งถือเป็นกุญแจส้าคัญในการขับเคลื่อนองค์กรทางการศึกษา อันจะส่งผลให้นักเรียน
มีความรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป (ปุณณิฐฐา มาเชค, 2565, หน้า 1)
การจัดการศึกษาของประเทศไทยอยู่ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) แผนการ
ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 โดยมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 พ.ศ. 2566-2570
เป็นจุดที่เชื่อมต่อกับยุ ทธศาสตร์ช าติร ะยะ 20 ปี ได้ก้าหนดประเด็นการพัฒนา เช่น มีความแตกต่า งด้ าน
โครงสร้างพืนฐาน การจัดสรรทรัพยากรและคุณภาพทุนมนุษย์ที่เป็นปัจจัยส้าคัญต่อการพัฒนาในระดับพืนที่
โดยกรุงเทพฯ และภาคกลาง มีดัชนีความก้าวหน้าของคนสูงกว่าภูมิภาคอื่นเกือบทุกด้าน สะท้อนให้เห็นถึง
ความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงบริการสาธารณะที่มีคุณภาพ อาทิ ด้านสุขภาพ การศึกษา ชีวิตการงาน รายได้
ตลอดจนการคมนาคมและการสื่ อสาร ในขณะที่ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยียังอาจน้ามาซึ่งปัญหาความ
เหลื่อมล้าทางดิจิทัล เนื่องจากขาดความพร้อมด้านอุปกรณ์ ขาดทักษะดิจิทัล ขาดทุนในการเข้าถึงระบบ
อินเทอร์เน็ต ซึ่งจะท้าให้ยิ่งขาดโอกาสในการมีส่วนร่วมและได้รับประโยชน์จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจใหม่ ๆ
การเข้าถึงการศึกษาและการฝึกอบรมพัฒนาทักษะ หรือกระทั่งการได้รับมาตรการช่วยเหลือของภาครัฐ การ
เข้าถึงโอกาสทางการศึกษา การปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศสู่ฐานนวัตกรรม ที่มีแนวโน้มความ
ต้องการทักษะที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากยิ่งขึน อาทิ ความรอบรู้ด้านดิจิทัล การจัดการ
ข้อมูล ปั ญญาประดิ ษฐ์ โค้ดดิง รวมไปถึงทั ก ษะที่ เ ทคโนโลยี ไ ม่ส ามารถทดแทนได้โ ดยเฉพาะทั ก ษะทาง
พฤติกรรม อาทิ ทักษะมนุษย์ การคิดเชิงวิพากษ์ การท้า งานเป็นทีม หรือความคิดสร้างสรรค์ ทังนีแนวโน้ม
3
โครงสร้างประชากรที่คาดว่าจะมีกลุ่มประชากรวัยเรียนลดลง ส่งผลให้การขยายสถานศึกษาในเชิงปริมาณลด
ความจ้าเป็นลง และเป็นโอกาสในการยกระดับคุณภาพ ความเสมอภาค และ ประสิทธิภาพทางการศึกษา หาก
สามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีในการบริหารจัดการทรัพยากรการศึกษา และส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัลและความแพร่หลายของการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตที่
มากขึน ช่วยขยายโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ที่ไม่จ้า กัดเฉพาะในห้องเรียน อาทิ การเรียนรู้ทางไกล
การเรียนรู้ตลอดชีวิต การเรียนรู้ที่สนับสนุนศักยภาพรายบุคคลที่จะมีบทบาทส้า คัญในการตอบสนองต่อความ
ต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ ย นแปลงไปอย่างรวดเร็ว (ส้ า นักงานสภาพัฒ นาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ, 2565, หน้า 10-12) ภัทรา จรรยาธรรม (ภัทรา จรรยาธรรม, 2564, หน้า 2-4) กล่าวว่าการศึกษาที่
เป็ น เครื่ อ งมื อ ส้ า คั ญ ในการพั ฒ นาชาติ นั นจะต้ อ งมี ก ารจั ด วางและออกแบบให้ ส อดคล้ อ งกั บ ทิ ศ ทางการ
เปลี่ยนแปลงของสภาวะการณ์ของสังคมโลกใน 3 ประเด็นดังนี ประเด็นที่หนึ่ง คือ เวลา (Time) การศึกษา
จะต้ อ งตระหนั ก ถึ ง เวลาของการเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ นในสั ง คมโลก ประเด็ นที่ ส อง คื อ เทคโนโลยี
(Technology) ที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ได้อย่างไร้ขีดจ้ากัดอย่างมีความสุข ประเด็นสุดท้าย
ความคิด (Thinking) ผู้ที่ออกแบบการจะต้องคิดวิธีที่ท้าให้เกิดการพัฒนาการศึกษาอย่างยั่งยืน สุกัญญา แช่ม
ช้อย (สุกัญญา แช่มช้อย, 2561, หน้า 120-121) กล่าวว่าในปัจจุบันวิวัฒนาการความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
เป็นปัจจัยส้าคัญที่ท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อรูปแบบการศึกษาของประเทศไทยเป็นอย่างมาก การจัดการ
ศึกษาในยุคดิจิทัลจะต้องมีความยืดหยุ่น จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสถานศึกษาและน้าข้อมูลที่ได้ไป
ประยุกต์เพื่อใช้ในการก้าหนดทิศทางและหาแนวทางในการจัดการสถานศึกษาให้เหมาะสม และสอดคล้องกับ
ความต้ อ งการของผู้ เ รี ย น ผู้ ป กครอง และสั ง คมในยุ ค ดิ จิ ทั ล โดยต้ อ งอาศั ย ความสามารถของผู้ บ ริห าร
สถานศึกษา ครู และบุคลากรที่มีความพร้อมในการรับมือต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงเหล่านี
การด้าเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการตามยุทธศาสตร์ที่ 4 ของแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 -
2580 ที่มีเป้าหมายในการสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา โดยมีเป้าหมายส้า คัญ
คือ 1) การส่งเสริมให้ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ 2) การ
เพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาส้าหรับคนทุกช่วงวัย และ 3) การจัดท้า ระบบ
ข้อมูลรายบุคคลและสาธารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้องเป็นปัจจุบันเพื่อ การวางแผนการบริหาร
จั ด การศึ ก ษา การติ ด ตามประเมิ น และรายงานผล โดยในปี ง บประมาณ พ.ศ. 2565 – 2566
กระทรวงศึกษาธิการได้ป ระกาศนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ใน 4 ประเด็น ส้ า คัญ คือ
การสร้างโอกาสความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาให้แก่บุคคลทุกช่วงวัย พร้อมทังจัดท้าแผนใน
การด้าเนินการ คือ 1) การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลใน
การส่งต่อไปยังสถานศึกษาในระดับที่สูงขึนโดยเฉพาะระดับการศึกษาภาคบังคับ เพื่อป้องกันเด็กตกหล่นและ
เด็กออกกลางคัน 2) การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุตังแต่ 3 ปีขึนไปทุกคนเข้าสู่ระบบการศึกษา
เพื่อรับการพัฒนาอย่างรอบด้าน มีคุณภาพตามศักยภาพ ตามวัยและต่อเนื่องอย่างเป็นระบบ โดยบูรณาการ
ร่วมงานกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3) การพัฒนาข้อมูลและทางเลือกที่หลากหลายให้กับกลุ่มเป้าหมายพิเศษ
และกลุ่มเปราะบางรวมทังกลุ่ม เยาวชนอายุ 15 – 24 ปี ที่ไม่ได้อยู่ในระบบการศึกษา การท้างานหรือการ
ฝึ กอบรม (Not in Education Employment or Training :NEETs) และ 4) พัฒ นาระบบสนับสนุนการจัด
การศึ ก ษาขั นพื นฐานโดยครอบครั ว (Home School) และการเรี ย นรู้ ที่ บ้ า นเป็ น หลั ก (Home-based
Learning) รวมทังการศึกษาทางเลือกอื่น ๆ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2565, หน้า 2)
วัฒนธรรมองค์กร คือ ทุกสิ่งทุกอย่างที่เป็นแนวทางในการท้างานภายในองค์กรซึ่งเป็นความคิดความ
เข้าใจร่วมกันของสมาชิกในองค์กร เป็นสิ่งส้าคัญที่สามารถสะท้อนให้เห็นรูปแบบและกระบวนการคิด การ
ตัดสินใจ การวางแผนยุทธศาสตร์ และอื่น ๆ ของสถานศึกษา วัฒนธรรมองค์กรจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ของสถานศึกษา และวัฒนธรรมองค์กรยังเป็นกลไกในการสร้างแนวทางเพื่อให้ องค์กรสามารถปรับตัว ให้
4
สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมภายนอก และสร้างการบูรณาการระหว่างองค์ประกอบภายในองค์กร ทังนี เพื่อให้
องค์กรมีเสถียรภาพสามารถอยู่รอดและเติบโตต่อไป องค์กรด้านการศึกษาได้มีการสร้างวัฒนธรรมองค์กร
ขึนมา อาทิ การสร้างวัฒนธรรมที่เด่นออกมาโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะปรับปรุงเป้าหมายของการศึกษา มีการ
บริ ห ารจั ดการศึกษาด้ว ยระบบคุณภาพ การท้างานเป็นทีม การจัดการเรีย นการสอนโดยเน้นผู้ เรียนเป็น
ศูนย์กลาง การพัฒนาบุคลากรเพื่อความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริหารสถานศึกษา และจากที่มี
วัฒนธรรมองค์กรที่แข็งแกร่งจะเป็นศูนย์รวมพลังยึดเหนี่ยวบุคลากรเข้าด้วยกัน ทุกคนเข้าใจวัตถุประสงค์ของ
สถานศึกษาเพื่อน้าไปสู่ทิศทางเป้าหมายเดีย วกัน ดังนัน หากผู้บริหารสถานศึกษามีความเข้าใจในวัฒนธรรม
องค์กรแล้ว สามารถน้ามาใช้ประโยชน์ให้เหมาะสมกับบุคลากร ชุมชน และสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาได้
แล้ว การบริหารงานภายในสถานศึกษาจะประสบผลส้าเร็จเป็นอย่างดี ซึ่งวัฒนธรรมองค์กรมีอิทธิพลต่อการ
บริหารงานในสถานศึกษาหรือวัฒนธรรมองค์กรมีผลกระทบต่อการบริหารงาน ทังนีหากผู้บริหารเข้าใจและ
เห็นความส้าคัญของวัฒนธรรมองค์กรเป็นอย่างดีแล้ว การบริหารสถานศึกษาจะราบรื่นบังเกิดประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลในการด้าเนินงานต่าง ๆ ท้าให้การบริหารจัดการศึกษาบรรลุเป้าหมายที่ก้าหนดไว้ (ดรุณี รัตน
สุนทร และคณะ, 2560, หน้า 368) วิไล ปรึกษากร (2558, หน้า 279 - 280) ได้ศึกษานวัตกรรมการบริหารงาน
วิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขันพืนฐาน พบว่า นวัตกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา
ขันพืนฐาน มีทังหมด 50 นวัตกรรม และนวัตกรรมการบริหารงานวิชาการที่เหมาะสมของผู้บริหารสถานศึกษา
ขันพืนฐาน ทังหมด 12 นวัตกรรม ตามขอบข่ายงานวิชาการ ได้แก่ 1) นวัตกรรมการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็น
ฐาน 2) นวัตกรรมการบริหารแบบมีส่วนร่วม 3) นวัตกรรมการบริหารแบบการสอนงาน 4) นวัตกรรมการสอน
นักเรียนเป็นรายบุคคล 5) นวัตกรรมการบริหารตามหลักการประกันคุณภาพการศึกษา 6) นวัตกรรมการ
บริหารแบบผสมผสาน 7) นวัตกรรมการบริหารโดยใช้เทคโนโลยีและการสื่อสาร 8) นวัตกรรมการบริหารโดย
ใช้ ภ าคี เ ครื อ ข่ า ย 9) นวั ต กรรมการบริ ห ารแบบที ม งาน 10) นวั ต กรรมการบริ ห ารตามแนว Tip Co 11)
นวัตกรรมการบริหารแบบพัฒนาคุณภาพศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ 12) นวัตกรรมการบริหาร
แบบศูนย์การเรียนรู้คอมพิวเตอร์ นอกจากนี ปิยนันท์ ศิริโสภณ ได้ศึกษาวัฒนธรรมองค์การ ของสถานศึกษา
ขันพืนฐาน สังกัดส้านักงานเขตพืนที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี พบว่า ความคิดเห็นของครู และบุคลากร
ทางการศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ วั ฒ นธรรมองค์ ก ารของสถานศึ ก ษาขั นพื นฐาน ส้ า นั ก งานเขตพื นที่ ก ารศึ ก ษา
ประถมศึกษาจันทบุรีโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้านโดย
เรียงล้าดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้ อย (ปิยนันท์ ศิริโสภณ, 2565, หน้า 80-81) และจันทร์จิรา เหลาราช
(จันทร์จิรา เหลาราช, 2564, หน้า 236-237) ได้ศึกษาการปรับเปลี่ยนสู่ดิจิทัลและผลกระทบต่อองค์กร โดย
กล่าวว่าการปรับเปลี่ยนสู่ดิจิทัลเป็นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสมัยใหม่ที่เป็นตัวช่วยส้าคัญในการปรับเปลี่ยนการ
ด้าเนินงานธุรกิจและมีอิทธิพลต่อทุกแง่มุมของชีวิตผู้บริโภค ซึ่งอาจเรียกได้ว่าการปรับเปลี่ยนสู่ดิจิทัล ซึ่งเป็น
กลยุทธ์หรือกระบวนการที่ส้าคัญในการขับเคลื่อนและผลักดันการปรับเปลี่ยนองค์กรให้เป็นองค์กรดิจิทัลที่มี
การน้าเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในทุกกระบวนการทังภายในและภายนอก มีการปรับโครงสร้างพืนฐานต่าง ๆ
เปลี่ยนแปลงวิธีการ ด้าเนินงาน รูปแบบการแข่งขัน การปฏิสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมลูกค้า
รวมถึงความคาดหวังของผู้ใช้ปลายทาง ทังนีลักษณะส้าคัญที่องค์กรดิจิทัลจะต้องมีคือ การมีความสามารถด้าน
ดิจิ ทัล (Digital Capability) และความช้านาญด้านดิจิทัล (Digital Dexterity) ซึ่งในปัจจุบันพบว่ามีห ลาย
องค์กรที่อยู่ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงและอาจต้องเผชิญกับผลกระทบที่แตกต่างกันทังเชิงบวกและเชิงลบ
ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบต่อรูปแบบธุรกิจ กระบวนการด้าเนินงานประสบการณ์ผู้บริโภค บุคลากรในองค์กร
วัฒนธรรมองค์กร และโครงสร้างพืนฐาน อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าการปรับเปลี่ยนสู่ดิจิทัลขององค์กรจะส่งผล
กระทบในหลายส่วน แต่องค์กรจ้าเป็นที่จะต้องตระหนักและให้ความส้าคัญกับผลกระทบต่อบุคลากรและผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียมากที่สุด เนื่องจากการขับเคลื่อนองค์กรให้สามารถบรรลุเป้าหมายในทุก ๆ ด้าน จ้าเป็นจะต้อง
มีบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ รวมถึงการส่งเสริมสนับสนุนบุคลากรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้เป็นผู้มีแนวคิด
5
ดิจิทัล (Digital mindset) ที่เปิดใจยอมรับดิจิทัลเข้าสู่การด้าเนินงานภายใต้สภาวะการณ์ใหม่ อันจะน้าไปสู่การ
เป็นองค์กรที่มีวัฒนธรรมดิจิทัล ซึ่งองค์กรจะต้องด้าเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคลากรแบบค่อยเป็น
ค่อยไป ทีล ะเล็ กน้ อยจนแทรกซึมเข้าสู่ วิถีการด้าเนินงาน เพื่อไม่ให้ บุคลากรมีความตื่นตระหนกและเกิ ด
ความคิดต่อต้าน อาจจะต้องใช้ระยะเวลาในการเปิดรับและปรับตัวค่อนข้างนาน หากแต่องค์กรตังเป้าหมาย
และพยายามด้าเนินต่อไปจะเกิดการเปลี่ยนแปลงองค์กรได้ในที่สุด นอกจากนีรัชวดี แสงมหะหมัด , (2560,
หน้า 56-57) ได้กล่าวถึงการสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการทางศึกษา และได้ศึกษา
ความเหลื่อมล้าทางการศึกษา คุณภาพสังคมที่คนไทยมองเห็น จะเห็นว่าความเหลื่อมล้าทางการศึกษาเกิดขึน
จากสภาวะที่เกิดขึนในสังคม ได้แก่ ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมของครอบครัว การอาศัยในกรุงเทพฯ หรือ
ต่างจังหวัด โดยในส่วนหลังนีอาจเป็นเพราะค่านิยมของตัวเด็กนักเรียน หรือผู้ปกครองเองที่เน้นการแข่งขัน อีก
ทังระบบการศึกษาที่มีการออกแบบการเรียนการสอนที่ไม่เป็นระบบ ไม่ได้มาตรฐานท้าให้นักเรียนที่ต้องการมี
การศึกษาที่ดี ๆ ต้องลงทุนกับการศึกษาที่สูงมากขึน ในขณะที่อีกกลุ่มคนหนึ่งที่ไม่มีรายได้เพียงพอหาเช้า กินค่้า
จึงได้แต่เพียงส่งลูกหลานให้เข้าเรียนขนาดเล็ก หรือตามพืนที่ห่างไกล และคุณภาพการศึกษาก็ด้อยลงไปด้วย
นั่นจึงเป็นเหตุส้าคัญที่ท้าให้ช่องว่างทางการศึกษาของคนในสังคมต่างกันมากขึน จากที่กล่าวมาทังหมดจะเห็น
ได้ว่าการจะเสริมสร้างความเท่าเทียมทางการศึกษาที่เหมาะสมกับบริบทไทย คือ (1) ส่งเสริมให้มีการกระจาย
การบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพ และเท่าเทียมกันระหว่างพืนที่ต่าง ๆ ของประเทศ (2) ยกระดับคุณภาพ
ของการศึกษาและให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน (3) ควรมีการเสริมสร้างความเข้มแข็งของ
ความมั่นคงทางสังคมและเศรษฐกิจ (4) รัฐบาลควรเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าถึงสิทธิต่าง ๆ ได้อย่างเท่าเทียม
ได้แก่ สิทธิทางการศึกษาที่เท่าเทียม ดังนันการจะลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษาได้นันเราควรเริ่มจากการท้า
ให้ทุกคนได้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพได้อย่างเท่าเทียมมีโอกาสเข้าถึงการท้า งานที่มีรายได้อย่าง
พอเพียงเพื่อน้ามาซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดี และท้ายสุดเพื่อท้าให้ประเทศไทยมีคุณภาพสังคมที่ดีขึนตามไปด้วย ส่วน
ภูริพัฒน์ ถนอมศรีอุทัย (ภูริพัฒน์ ถนอมศรีอุทัย, 2565, หน้า 293-294) ได้ศึกษาความเหลื่อมล้าทางสังคมกับ
การพัฒนาประเทศในยุคดิจิทัล ได้กล่าวว่าความเหลื่อมล้าทางสังคมกับการพัฒนาประเทศในยุคดิจิทัลนัน
ค่านิยมทางวัฒนธรรม ก่อให้เกิดการตีความศักยภาพการแจกจ่ายสารสนเทศที่ดีกว่าแนวปฏิบัติทางวัฒนธรรม
ศักยภาพ การแจกจ่ายสารสนเทศของสังคมหนึ่งสามารถตีความในลักษณะของการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน
อย่างไรก็ตามบริบททางสังคมก็มีส่วนส้าคัญต่อชีวิตในสังคมเพราะการร่วมกันทางดิจิทัลในฐานะที่เป็นกิจกรรม
และนโยบายภาครัฐ การสร้างความเข้าใจสิทธิมนุษย์ในการสื่อสารว่าเป็นมุมมองหนึ่งของปัญหา อย่างไรก็ตาม
ชนรุ่นใหม่อาจค่อย ๆ เปลี่ยนมุมมองที่มีต่อความทันสมัยและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชัยชนะใน
การเปลี่ยนแปลงที่มีสภาพแวดล้อมทางการเมืองที่เป็นไปในทางที่ดีอาจสามารถท้าให้เกิดความเป็นจริงได้มาก
ขึนกับการส่งเสริมการเข้าถึงแถบความถี่กว้างเพื่อการมีส่วนร่วมทางสังคมและการพัฒนาพลเมือง นอกจากนี
ส่วน ธนู ขวัญเดช (ธนู ขวัญเดช, 2565, หน้า 102) ได้ศึกษาการสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่า
เทียมทางการศึกษาให้แก่คนไทยทุกช่วงวัย และการพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ไทยในยุคดิจิทัล ซึ่งศึกษาตาม
กรอบแนวคิดแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศาสตร์การศึกษาของชาติที่ 4 การสร้างโอกาส
ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา สามารถสรุปได้ว่าการสร้างโอกาส ความเสมอภาค และ
ความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัยในหลาย ๆ ประเทศเกิดขึนจากแนวคิดการจัดการศึกษาอย่างทั่ว ถึง
และเท่าเทียมในกระแสโลก และได้แผ่กระจายเข้าสู่ประเทศต่าง ๆ ท้าให้มีการจัดท้านโยบายการสร้างโอกาส
ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัยทังระดับประเทศ และระดับกระทรวงโดยบาง
ประเทศเริ่ ม ต้ น ที่ ส่ ว นกลาง ซึ่ ง ด้ า เนิ น การจั ด การศึ ก ษาอย่ า งทั่ ว ถึ ง และเท่ า เที ย มในลั ก ษณะเป็ น ระบบ
สถานศึกษาทังหมด ในขณะที่บางประเทศโดยเฉพาะในประเทศที่ ก้าลังพัฒนา เลือกที่จะด้าเนินการในระดับ
พืนทีแ่ ละขยายออกไป อย่างไรก็ตามไม่วา่ จะเลือกวิธีการแบบใด ยังมีองค์ประกอบและปัจจัยอีกหลายประการ
ที่เข้ามาเกี่ยวข้อง กล่าวคือ การมีนโยบายระดับประเทศและระดับกระทรวงที่ชัดเจน ที่สนับสนุนและส่งเสริม
6
ให้การด้าเนินงานเป็นไปได้อย่างสะดวก ท้าหน้าที่เป็นแนวทางและเป้าหมายให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน ต่อจากนันจึงมี
กฎกระทรวงหรือข้อบังคับที่หน่วยงานต่าง ๆ รวมทังสถานศึกษาได้ใช้เป็นแหล่งอ้างอิงในการปฏิบัติงาน
จากความเป็นมาและความส้าคัญของปัญหา ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษานวัตกรรมการบริหาร
วัฒนธรรมองค์กรในช่วงเปลี่ยนผ่านดิจิทัลเพื่อลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา ใน
สังกัดส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน เพื่อเป็นองค์ความรู้ในการบริหารวัฒนธรรมองค์กร ซึ่ง
ผู้ บ ริ ห ารสถานศึกษา ผู้ บ ริ ห ารการศึกษา และหน่ว ยงานที่เกี่ยวข้ องกับการจัดการศึกษา สามารถน้า เป็น
แนวทางในการบริหารจัดการวัฒนธรรมองค์กรในช่วงเปลี่ยนผ่านดิจิทัลเพื่อลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษาใน
โรงเรียนประถมศึกษา

1.2 คาถามการวิจัย
1.2.1 ศึกษาการบริหารวัฒนธรรมองค์กรในช่วงเปลี่ยนผ่านดิจิทัลเพื่อลดความเหลื่อมล้าทางการ
ศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาเป็นอย่างไร
1.2.2 นวัตกรรมการบริหารวัฒนธรรมองค์กรในช่วงเปลี่ยนผ่านดิจิทัลเพื่อลดความเหลื่อมล้า
ทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาเป็นอย่างไร
1.2.3 ประเมินและรับรองนวัตกรรมการบริหารวัฒนธรรมองค์กรในช่วงเปลี่ยนผ่านดิจิทัลเพื่อลด
ความเหลื่อมล้าทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษามีความเป็นไปได้หรือไม่
1.3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1.3.1 เพื่อศึกษาการบริหารวัฒนธรรมองค์กรในช่วงเปลี่ยนผ่านดิจิทัลเพื่อลดความเหลื่อมล้า
ทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา
1.3.2 เพื่อสร้างนวัตกรรมการบริห ารวัฒนธรรมองค์กรในช่วงเปลี่ยนผ่ านดิจิทัลเพื่อลดความ
เหลื่อมล้าทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา
1.3.3 เพื่อประเมินและรับรองนวัตกรรมการบริหารวัฒนธรรมองค์กรในช่วงเปลี่ยนผ่านดิจิทัล
เพื่อลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจาการวิจัย
1.4.1 โรงเรียนระดับประถมศึกษา สามารถน้า นวัตกรรมการบริหารวัฒนธรรมองค์กรในช่ว ง
เปลี่ยนผ่านดิจิทัลเพื่อลดความเหลื่ อมล้าทางการศึกษาในครังนีไปใช้ เป็นแนวทางในการบริหารจัดการให้
ประสิทธิภาพ
1.4.2 หน่วยงานทางการศึกษาในสังกัดส้านักงานการศึกษาขันพืนฐาน และหน่วยงานทางการ
ศึกษาในสังกัดอื่น ๆ สามารถน้าไปใช้เป็นแนวนทางในการบริหารจัดการวัฒนธรรมองค์กร
1.5 ขอบเขตของการวิจัย
1.5.1 ขอบเขตเนื้อหา
ในการศึกษาวิจัย เรื่องนวัตกรรมการบริหารวัฒนธรรมองค์กรในช่วงเปลี่ยนผ่านดิจิทัลเพื่อ
ลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา ในสังกัดส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน
พืนฐาน ผู้วิจัยก้าหนดขอบเขตเนือหาดังนี
1) แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับนวัตกรรมการบริหาร
2) แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
3) ความหมายเกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
4) แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษา
5) แนวคิดการบริหารจัดการช่วงเปลี่ยนผ่าน
6) แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับดิจิทัล
7
7) ความหมายเกี่ยวกับดิจิทัล
8) แนวคิดเกี่ยวกับความเลื่อมล้าทางการศึกษา
1.5.2 ขอบเขตประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ ผู้อ้านวยการโรงเรียน รองผู้อ้านวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา และครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษา
ส้ านั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน ในภาคกลางของประเทศไทย 22 จังหวัด 3,372 โรงเรียน
จ้านวน 13,488 คน (ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน, ออนไลน์, http://www.bopp.go.th/wp-
content/uploads/2022/08/DMC651.xlsx)

กลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ คือ ผู้ อ้านวยการโรงเรียน รองผู้ อ้านวยการโรงเรียนฝ่ าย
วิ ช าการ หั ว หน้ า กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ สั ง คมศึ ก ษา และครู ก ลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ สั ง คมศึ ก ษา ส้ า นั ก งาน
คณะกรรมการการศึ ก ษาขั นพื นฐาน ในภาคกลางของประเทศไทย โดยก้ า หนดแหล่ ง ข้ อ มู ล วิ จั ย ได้ แ ก่
ผู้อ้านวยการโรงเรียน รองผู้อ้านวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา และครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา จ้านวน 94 โรงเรียน โดยการสุ่มตัวอย่างทังหมด 375 คน ได้มาจากการเทียบ
ได้มาจากการเปิดตารางเครจชี่มอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1970, pp. 607-610)
ขอบเขตเวลา
ระยะเวลาที่ท้าการศึกษา ตังแต่ พฤษภาคม 2566 ถึง กันยายน 2568
ขอบเขตพื้นที่
โรงเรียนระดับประถมศึกษา ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน ที่ตังอยู่ในภาค
กลางของประเทศไทย
1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ
นวัตกรรมการบริหาร หมายถึง การน้าแนวคิด ทฤษฎี นวัตกรรม ที่มีอยู่แล้วพัฒนาต่อยอด
ดั ด แปลง หรื อ ประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ ห้ เ หมาะสมกั บ บริ บ ทของสถานศึ ก ษา หรื อ คิ ด ค้ น ขึ นใหม่ เพื่ อ พั ฒ นางานใน
สถานศึกษา หรือแก้ไขปัญหาที่เกิดขึนในสถานศึกษา เพื่อมุ่งหวังประโยชน์สู งสุดแก่ผู้เรียน ท้าให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงอย่างมีประสิทธิภาพ ยกระดับคุณภาพการศึกษา
วั ฒ นธรรมองค์ กร หมายถึง ความมุ่งประสงค์ ข ององค์ก ร การมอบอ้า นาจ การตัดสิ น ใจ
ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร ความไว้วางใจ ความมีคุณภาพ การยอมรับ ความเอืออาทร ความ
ซื่อสัตย์สุจริต และความหลากหลายของบุคลากร
ช่วงเปลี่ยนผ่านดิจิทัล หมายถึง ช่วงเวลาหนึ่งที่วิวัฒนาการของเทคโนโลยีเกิดขึนเพื่อตอบสนอง
ความต้องการของมนุษย์ และช่วยให้การด้าเนินชีวิตประจ้าวันของมีความสะดวกสบายมากขึนจนส่งผลให้วิถี
ชีวิต เศรษฐกิจ สังคม ธุรกิจ และการศึกษาเปลี่ยนไป
ความเลื่อมล้าทางการศึกษา หมายถึง การศึกษาที่ไม่เสมอภาคและขาดความเป็นธรรม

2. วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย
2.1 แนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
นวัตกรรมการบริหารวัฒนธรรมองค์กรในช่วงเปลี่ยนผ่านดิจิทัลเพื่อลดความเหลื่อมล้าทางการ
ศึกษา ของโรงเรียนประถมศึกษา ในสังกัดส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน ผู้วิจัยได้ท้าการศึกษา
8
แนวคิด ทฤษฎี ตลอดจนงานวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อน้ามาเป็นประโยชน์ในการก้าหนดแนวทางการวิจัยที่
น้าไปสู่วัตถุประสงค์ของการศึกษาครังนี โดยสรุปเป็นประเด็นส้าคัญ ดังนี
1) แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับนวัตกรรมการบริหาร
นวัตกรรม (Innovation) ตังแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ สังคม
การเมือง และนวัตกรรมของมนุ ษย์ จ นแยกจากกัน ไม่ อ อก ส่ งผลให้ เกิดการเปลี่ ยนแปลง โครงสร้างการ
อุตสาหกรรมการผลิตและการบริการตลอดจนโครงสร้างทางสังคม อีกทังเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สร้าง
ความเจริญเติบโตเศรษฐกิจและเพิ่มพูนความสามารถเชิงการแข่งขันของประเทศ โดยให้นิยามความหมายของ
นวัตกรรม ดังนี
Perz-Bustamante, 1999, pp. 6-17 ได้ให้ ความหมายว่า “นวัตกรรม” ว่าเป็นเรื่อ งของ
กระบวนการแสวงหา ด้าเนินงานจัดเก็บ ตลอดจนใช้ประโยชน์จากข้อมูลในด้านการสร้างความรู้การวิจัย และ
พัฒนาและการอยู่รอด
Smits, 2002, pp. 861–883 ได้ให้ความหมายว่า “นวัตกรรม” เป็นความส้าเร็จของการ
ผสมเชื่อมโยงในเรื่องของวัสดุ อุปกรณ์และความคิดให้เป็นประโยชน์ในเชิงสังคม
Herkema, 2003, pp. 340-346 ได้ให้ความหมายว่า “นวัตกรรม” เป็นการใช้ความคิด หรือ
พฤติกรรมที่เกิดขึนใหม่ในองค์การและนวัตกรรม สามารถเป็นได้ทังผลิตภัณฑ์ใหม่ บริหารใหม่ หรือเทคโนโลยี
ใหม่ ซึ่งอาจจะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงในลักษณะเฉียบพลันหรือค่อยเป็นค่อยไป
Lemon and Sahota, 2004, pp. 483–498 ได้ให้ความหมายว่ า “นวัตกรรม” ว่าเป็นผล
จากการใช้ความรู้ในเรื่องใหม่ และหรือความรู้เชิงเทคนิคใหม่ ๆ ที่น้าไปสู่การพัฒนา
สรุปได้ว่า นวั ตกรรม หมายถึง ความคิดและการกระท้าใหม่ ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อนหรือการ
พัฒนาดัดแปลงจากของเดิมให้ดีขึน และเมื่อน้ามาใช้งานก็ท้าให้งานมีประสิทธิภาพมากขึนเมื่อน้านวัตกรรมมา
ใช้ในการศึกษา เราก็เรียกว่า นวัตกรรมการศึกษา
1. มีลักษณะการพัฒนานวัตกรรมใหม่อย่างสินเชิง (Radical Innovation) กล่าวคือ
ตังแต่ยุคแรกถึงยุคที่สาม (ค.ศ. 1770 – ค. ศ.1930) การพัฒนานวัตกรรมมีลักษณะที่เป็นการคิดค้นประดิษฐ์
ขึนใหม่ทังสินมีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป (Incremental Innovation) มากขึน กล่าวคือในยุคที่สี่ (ระหว่างปี
ค.ศ. 1930 – 1970)
2. มีการปรับปรุงทังนวัตกรรมขบวนการและการปรับปรุงนวั ตกรรมผลิตภัณฑ์อย่าง
กว้างขวางโดยเฉพาะอย่ างยิ่งประเทศญีุ่นได้
ป่ ปรับปรุงขบวนการผลิตโดยใช้ นวัตกรรม ขบวนการเป็นส้า คัญ
เช่น การบริหารงานคุณภาพ การใช้ผลิตแบบทั นเวลาพอดีการผลิตแบบกะทั ดรัดคล่องตัวสามารถแข่ง ขั น
เอาชนะอังกฤษ สหรัฐอเมริกา และเยอรมันในยุคนีได้
3. นวั ต กรรมที่ มี ลั ก ษณะค่ อ ยเป็ น ค่ อ ยไปมี ลั ก ษณะของการสะสมการเรี ย นรู้
(Cumulative Learning) อยู่ ใ นบริ บ ทของสั ง คมหนึ่ ง เป็ น ขบวนการค้ น พบ หรื อ คิ ด ค้ น สิ่ ง ใหม่ โ ดยการ
ประยุกต์ใช้แนววคิดใหม่ หรือความรู้ที่มีลักษณะต่อเนื่องไม่สินสุด โดยการประยุกต์ใช้แนวคิดใหม่หรือความรู้
ใหม่ของมนุษย์และการค้นคว้าเทคนิค หรือเทคโนโลยีใหม่
4. มีลักษณะส่งเสริมให้เกิดการสร้างนวั ตกรรมอย่างกว้างขวาง กล่าวคือในยุคที่ ห้า
(ระหว่างปี ค.ศ. 1970 – ปัจจุบัน) มีการส่งเสริมให้มีการสร้างนวตักรรมใหม่ ๆ โดยมีการก้าหนด นโยบายและ
กฎหมายอย่างงชัดเจน โดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกามีก้า หนดนโยบายส่งเสริมให้เกิดการสร้างนวั ตกรรม
อย่างกว้างขวาง มีการออกกฎหมายเปิดโอกาสให้นั กวิจัยของรัฐสามารถก้าวขึนเป็นผู้น้าในการสร้างนวัตกรรม
ที่คิดค้นขึนมาใหม่ได้ ท้าให้สหรัฐอเมริกาก้าวขึนเป็นผู้น้าในการสร้างนวัตกรรมได้อีกครังหนึ่ง โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่ง ในนวัตกรรมในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ และอุตสาหกรรมการจัดการข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยี
การสื่อสารมาจนถึงปัจจุบัน (กีรติ ยศยิ่งยง, 2552, หน้า 4)
9
2) แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
แนวคิดในเรื่องวัฒนธรรมองค์กร (Organizational Culture) เป็นส่วนส้าคัญส่วนหนึ่งในการ
ใช้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ในการท้ า ความเข้ า ใจพฤติ ก รรมของบุ ค คลนั น ๆ หรื อ แม้ แ ต่ ก ลุ่ ม บุ ค คล ไม่ ว่ า จะเป็ น
แนวความคิดการท้างาน ระเบียบแบบแผน กฎเกณฑ์ ความสัมพันธ์ในการพึ่งพาอาศัยกันของการอยู่ร่วมใน
สังคมเดียวกัน อีกทังวัฒนธรรมยังถือว่าเป็นความเชื่อ ศีลธรรม กฎหมาย ประเพณี ลักษณะนิสัยต่าง ๆ ของ
บุคคลนัน ที่ถูกปฏิบัติและถูกถ่ายทอดลงมารุ่นสู่รุ่นจนกลายเป็นสิ่งที่เกิดขึนในองค์กร หรือหน่วยงานทุกองค์กร
จากอดีตสู่ปัจจุบันและอนาคต ที่เป็นสิ่งส้าคัญในการขับเคลื่อนองค์กรให้ก้าวหน้า และประสบผลส้าเร็จได้ จึงมี
นักวิชาการหรือนักการศึกษาทังในและต่างประเทศจ้า นวนมากที่ให้ความสนใจและท้า การศึกษาวัฒนธรรม
องค์กรอย่างแพร่หลายพร้อมทังได้ให้ความหมายของค้าว่าวัฒนธรรมองค์กรไว้หลายแนวคิด ดังนี
Kolb Rubin and Osland, 1991, p. 370 ได้ให้แนวคิดว่า วัฒนธรรมองค์กร คือ รูปแบบ
ของคติฐานที่ท้าให้กลุ่มได้เรียนรู้ที่จะคิดประดิษฐ์พัฒนา แก้ปัญหาในการปรับตัวจากภายนอกและการบูรณา
การจากภายใน
Turner, 1992, p. 256 ได้ ใ ห้ ค้ า นิ ย ามของวั ฒ นธรรมองค์ ก ร คื อ พฤติ ก รรมที่ เ หมาะสม
สัมพันธ์กัน และแรงจูงใจของปัจเจกชนรวมทังวิธีการที่ท้าสิ่งต่าง ๆ ในองค์กร
Arroba and Kim, 1992, p. 103 กล่าวถึงวัฒนธรรมองค์กรว่า เป็นหัวใจของการท้างานเป็น
การรวมค่านิยมหลักอันจะส่งผลไปยังโครงสร้างขององค์การ และการออกแบบงาน รวมถึงแบบแผนในการ
ประพฤติปฏิบัติของสมาชิกในองค์การ วัฒนธรรมองค์กรถือเป็นการแสดงถึงการร่วมรับรู้และความชัดเจน
จนถึงบรรทัดฐานในการปฏิบัติงาน และการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลของสมาชิกในองค์การ
3) ความหมายเกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
วัฒ นธรรมองค์กร คือ ทุกสิ่ งทุกอย่า งที่ เป็ นแนวทางในการท้า งานภายในองค์ กรซึ่ ง เป็ น
ความคิดความเข้าใจร่ว มกันของสมาชิกในองค์กร (สุพานี สฤษฎีวานิช , 2552, หน้า 427) เป็นสิ่งส้ า คั ญที่
สามารถสะท้อนให้เห็น รูป แบบและกระบวนการคิดการตัดสินใจ การวางแผนยุทธศาสตร์และอื่น ๆ ของ
สถานศึกษา วัฒนธรรมองค์กรจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษา และวัฒนธรรมองค์กรยังเป็นกลไก
ในการสร้างแนวทางเพื่อให้องค์กรสามารถปรับตัวให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมภายนอก และสร้างการบูรณา
การระหว่างองค์ประกอบภายในองค์กร ทังนีเพื่อให้องค์กรมีเสถียรภาพ สามารถอยู่รอดและเติบโตต่อไป (พิ
ชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต , 2552, หน้า 222) องค์กรด้านการศึกษาได้มีการสร้างวัฒนธรรมองค์กรขึนมา อาทิ
การสร้างวัฒนธรรมที่เด่นออกมาโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะปรับปรุงเป้าหมายของการศึกษา มีการบริหารจัด
การศึกษาด้วยระบบคุณภาพ การท้า งานเป็นทีม การจัดการเรียนการสอน โดยเน้นผู้ เรียนเป็นศูนย์กลาง การ
พัฒนาบุคลากรเพื่อความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริหารสถานศึกษา และจากที่มีวัฒนธรรม
องค์กรที่แข็งแกร่งจะเป็นศูนย์รวมพลังยึดเหนี่ยวบุคลากรเข้าด้วยกัน ทุกคนเข้าใจวัตถุประสงค์ของสถานศึกษา
เพื่อน้าไปสู่ทิศทางเป้าหมายเดียวกัน ดังนันหากผู้ บริหารสถานศึกษามีความเข้าใจในวัฒนธรรมองค์กรแล้ว
สามารถน้ามาใช้ประโยชน์ให้เหมาะสมกับบุคลากร ชุมชน และสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาได้แล้วการ
บริหารงานภายในสถานศึกษาจะประสบผลส้า เร็จเป็นอย่างดี ซึ่งวัฒนธรรมองค์กรมีอิทธิพลต่อการบริหารงาน
ในสถานศึ ก ษา หรื อ วั ฒ นธรรมองค์ ก รมี ผ ลกระทบต่ อ การบริ ห ารงาน ทั งนี หากผู้ บ ริ ห ารเข้ า ใจและเห็ น
ความส้าคัญของวัฒนธรรมองค์กรเป็นอย่างดีแล้ว การบริหารสถานศึกษาจะราบรื่นบังเกิดประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลในการด้า เนินงานต่าง ๆ ท้าให้การบริหารจัดการศึกษาบรรลุเป้าหมายที่ก้า หนดไว้ วัฒนธรรม
องค์กรมีความส้าคัญและขอบเขตที่กว้าง และมีลักษณะคล้าย ๆ ภูเขาน้าแข็ง (Iceberg) คือ มีส่วนที่อยู่ข้างบน
น้าส่วนหนึ่ง และอยู่ใต้น้าอีกส่วนหนึ่ง จึงอาจแบ่งวัฒนธรรมออกได้เป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่มองเห็นได้ (Visible)
จะเป็นสิ่งที่สมาชิกองค์กรสร้างหรือประดิษฐ์ขึนมา เช่น สิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ (Artifacts) ดังเช่น รูปปั้นของผู้
ก่อตังกิจการ และถาวรวัตถุต่าง ๆ และส่วนที่อยู่ลึกลงไปจะมองไม่เห็น (Invisible) แต่เป็นสิ่งที่สมาชิกรับรู้และ
10
เข้าใจร่วมกัน เช่น ค่านิยมขององค์กรที่สมาชิกรับรู้ (อภินันท์ จันตะนี และประพันธ์ แสงทองดี , 2565, หน้า
55)
4) แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษา
นักวิชาการได้ให้ความหมายของการบริหารการศึกษา ดังนี
Campbell, and others, 1971, p. 22 กล่าวว่า การบริหารสถานศึกษา หมายถึง การจัด
แผนยุทธศาสตร์ในสถาบันการศึกษาเพื่อให้ผลส้าเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างแท้จริง
Good, 1973, p. 14 ได้กล่าวไว้ว่า การบริหารการศึกษา หมายถึง การวินิจฉัย การสั่งการ
ควบคุมและการจั ดการเกี่ย วกับ งานหรื อกิจการสถานศึกษา ทังการบริห าร ธุรกิจในสถานศึกษาและการ
ด้าเนินการที่เกี่ยวกับบุคลากรทังหมดในสถานศึกษา ตลอดจนกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับนักเรียนโดยตรง การเรียน
การสอน การแนะแนว กิจกรรมเสริมหลักสูตร
Hoy and Cecil, 1996 p. 170 ได้กล่ าวว่า การบริห ารสถานศึกษา หมายถึง การบริห าร
โรงเรียนเป็นการบริหารบุคลากรทางการศึกษา ครู นักเรียน เพื่อให้ความร่วมมือและความ ร่วมแรงร่วมใจใน
การปฏิบัติงานในโรงเรียนให้บุคคลทัง 3 กลุ่ม เห็นด้วยและด้าเนินการตามข้อตกลงที่วางไว้และพึงยึดปฏิบัติ
โดยเคร่งครัด
Hoy and Miskel, 2001, pp. 437-438 กล่าวว่า การบริหารการศึกษาหมายถึงกระบวนการ
ที่มุ่งไปสู่จุดหมายที่ก้าหนดไว้ด้วยองค์ประกอบหลายประการ เช่น การตัดสินใจ องค์กรแรงจูงใจ ภาวะผู้น้า
โดยการบริหารต้องค้านึงผลกระทบที่จะตามมาและสภาพการณ์ที่เกิดขึนในอนาคต
ถวิล เกษสุพรรณ์ (2552, หน้า 32) กล่าวว่า การบริหารการศึกษา หมายถึง กระบวนการ
ท้างาน หรือกิจกรรมต่าง ๆ ทางการศึกษาที่บุคคลผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้ร่วมมือกันด้าเนินงานโดยใช้ทรัพยากร
การบริหารเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นสมาชิกที่ดีมีคุณภาพของสังคมตามวัตถุประสงค์ที่ได้ก้าหนดไว้
สมเดช สาวันดี (2553, หน้า 32) กล่าวว่า การบริหารการศึกษา หมายถึง การใช้ศาสตร์และ
ศิลปะในการท้างานร่วมกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของกระบวนการเรียนรู้ และความเจริญงอกงามของบุคคล
และสังคมแห่งการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
จากความหมายของการบริหารการศึกษาดังกล่าวข้างต้นสรุปได้ว่า การบริหารการศึกษา
หมายถึง กิจกรรมต่าง ๆ หรือกระบวนการทางสังคมที่ร่วมมือกันด้าเนินการเพื่อพัฒนาสมาชิกของสังคม อัน
ได้แก่ เด็ก เยาวชน ประชาชนเพื่อให้เป็นก้าลังคนที่มีประสิทธิภาพของสังคม
นักวิชาการได้กล่าวถึงความส้าคัญของการบริหารการศึกษา ไว้ดังนี
ปรัชญา เวสารัชช์ (2554, หน้า 3) กล่าวว่าความส้าคัญของการบริ หารการศึกษาเป็นการ
บริหารจัดการที่มีระบบและด้าเนินการอย่างต่อเนื่อง มีบุคคลและหน่วยงานที่รับผิดชอบเข้าร่วมด้าเนินการมี
รูปแบบ ขันตอน กติกา และวิธีด้าเนินการ มีทรัพยากรสนับสนุนและมีกระบวนการประเมินผลการศึก ษา
เที่ยงตรงและเชื่อถือได้
ครรชิต มาลัยวงศ์ (2557, ออนไลน์) กล่าวว่าการบริหารการศึกษามีความส้าคัญมากเพราะ
การศึกษาของเยาวชนหรือคนในประเทศจะท้าให้คนในประเทศแข่งขันกับคนประเทศอื่น ๆ ได้ดี หรืออีกนัย
หนึ่งคือขึนอยู่กับผู้บริหารบ้านเมือง หากประเทศใดได้นักบริหารการศึกษาที่มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง
มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล มีความเข้าใจงานด้านการศึกษา และผลกระทบของการศึกษาต่อความก้าวหน้าของ
ประชาชนและประเทศแล้ว ประเทศนันก็จะมีความรุ่งเรืองในทุก ๆ ทางแต่ในทางตรงกันข้ามประเทศใดไม่มี
นั ก บริ ห ารการศึ ก ษาที่ เ ก่ ง หรื อ เชี่ ย วชาญ ท้ า งานโดยก้ า หนดเอาความก้ า วหน้ า และความรุ่ ง เรื อ งของ
ประเทศชาติเป็นธงชัยแล้วก็ยากที่ประเทศนันจะรุ่งเรืองได้
11
สรุ ป ได้ว่า การบริ ห ารการศึกษามีความส้าคัญในการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ และ
ด้าเนินการอย่างต่อเนื่อง มีบุคคลและหน่วยงานที่รับผิดชอบเข้าร่วมด้าเนินการ มีรูปแบบ ขันตอน กติกา และ
วิธีการด้าเนินงาน มีทรัพยากรสนับสนุน และมีกระบวนการประเมินผลการศึกษาเที่ยงตรง และเชื่อถือได้
5) การบริหารช่วงเปลี่ยนผ่านทางดิจิทลั
การเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัล (Digital Transformation) ขององค์กรเป็นปรากฏการณ์ใหม่และ
ไม่มีที่สิ นสุ ด ไม่ส ามารถก้า หนดจุดสินสุ ดไว้ได้อย่างชัดเจน แต่ส ามารถเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนขึนได้ หากมี
ยุทธศาสตร์และแนวทางปฏิบัติเพื่อให้องค์กรก้าวไปข้างหน้า ซึ่งผู้บริหารควรให้ความตระหนักถึงสิ่งนี การน้า
เทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในองค์กรจึงเป็นการเร่งกิจกรรมกระบวนการ ขีดความสามารถและรูปแบบทาง
ธุรกิจ เพื่อใช้ประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในการสร้างโอกาสให้ธุรกิจ สร้างความสามารถ
ทางการแข่งขันภายใต้สภาพแวดล้อมด้านเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว รวมถึงการเปลี่ยนแปลง
แนวความคิด และน้าเทคโนโลยีมาใช้ในองค์กรในยุคดิจิทัล ตังแต่การวางรากฐาน การก้าหนดเป้าหมาย การ
ด้าเนินงานในส่วนต่าง ๆ และส่งต่อคุณค่าให้แก่ผู้บริโภค ซึ่งหากมีการน้าเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ใน
องค์กรจะส่งผลต่อการด้าเนินงานของส่วนต่าง ๆ หลายด้าน (วัชรพจน์ ทรัพย์สงวนบุญ , เวทยา ใฝ่ใจดี และ
ปรียากมล เอืองอ้าย, 2563, หน้า 28-29) โดยการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลอันเนื่องมาจากการใช้เทคโนโลยีจะ
ส่งผลกระทบต่อมิติต่าง ๆ ขององค์กร ได้แก่ 1) ภายนอกองค์กร (Externally) 2) ภายในองค์กร (Internally)
และ 3) แบบผสม (Holistically) โดยการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลถือว่าเป็นหนึ่งในความท้าทายที่ ส้าคัญของทุก
ๆ อุตสาหกรรมในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาถึงแม้ว่าองค์กรต่าง ๆ จะตระหนักถึงความส้าคัญของการเปลี่ยนผ่านทาง
ดิจิทัล แต่ก็ยังคงเผชิญอุปสรรคหลายประการที่ยับยังการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว อย่างเช่น วัฒนธรรมองค์กร
แบบดังเดิมซึ่งจะส่งผลต่อความก้าวหน้าขององค์กร โดยองค์กรที่ประสบความส้าเร็จในการพัฒนาทักษะด้าน
การบริหารและเทคโนโลยีที่เหมาะสมจะได้รับประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลใหม่ ๆ (เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
และวาสนา แก้วผนึกรังษี, 2561, หน้า 26) การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึนนันนอกจากองค์กรจะต้องมีการ
ปรับตัวให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีแล้ว พนักงานหรือผู้ปฏิบัติงานต่าง ๆ ควรให้ความส้าคัญ
และพัฒนาตนเองเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพดังที่ วัชรพจน์ ทรัพย์สงวนบุญ (2563, หน้า
15) ได้ศึกษาการเปลี่ ย นผ่ านทางดิจิทั ล ขององค์ กรภาครัฐ เพื่อยกระดั บ ความสามารถทางการแข่งขั นของ
ประเทศไทย พบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อความส้าเร็จของการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลในองค์กรภาครัฐคือ ด้านการให้
ความส้าคัญของผู้บริหารระดับสูงเป็นปัจจัยที่มีความส้าคัญมากที่สุด โดยผู้บริหารต้องมีการก้าหนดเป้าหมาย
และกลยุทธที่ชัดเจนในการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัล และปัจจัยด้านบุคลากรในองค์กรคือ การมีส่วนร่วมในการน้า
เทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในองค์กร ทังการท้าความเข้าใจ การเรียนรู้และการให้ข้อมูลที่สะท้อนปัญหา
ของการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อให้องค์กรน้าไปปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลให้มีประสิทธิภาพมากขึน
ดั ง นั น ในปั จ จุ บั น การเปลี่ ย นผ่ า นทางดิ จิ ทั ล เพื่ อ ปฏิ รู ป องค์ ก รสู่ ดิ จิ ทั ล มี รู ป แบบการใช้
เทคโนโลยี ที่ ซับ ซ้ อ นมากขึ น องค์ ก รจ้ า เป็ นต้ อ งอาศั ยบทบาทเชิง กลยุ ท ธ์ข องเทคโนโลยี ดิจิ ทัล ใหม่ และ
ความสามารถในการสร้างนวัตกรรมทางดิจิทัลที่ประสบความส้าเร็จ ซึ่งกระบวนการที่องค์กรต่าง ๆ ใช้ในการ
ผสานรวมทางเทคโนโลยีดิจิทัลใหม่ ๆ เข้ากับการเชื่อมต่อที่แพร่หลายโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้องค์กรมีการ
ด้าเนินงานที่มีประสิทธิภาพมากขึน และมีความได้เปรียบทางการแข่งขัน เปลี่ยนแปลงมิติต่าง ๆ ทางธุรกิจ เช่น
รูปแบบธุรกิจ ประสบการณ์ทางดิจิทัลของลูกค้า และการด้าเนินงานขององค์กร และส่งผลกระทบต่อบุคลากร
ของบริษัทและเครือข่าย
6) แนวคิดและความหมายเกี่ยวกับดิจิทัล
การด้าเนินชีวิตของมนุษย์ในยุคปัจจุบันแตกต่างจากเมื่อก่อนเป็นอย่างมาก มีความสะดวก
สบายมากขึนนั่นเป็นเพราะความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่ค่อย ๆ กลายมาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิต จนเกิด
ความคุ้นเคยอย่างไม่ทันสังเกต ไม่ว่าจะเป็นวิธีที่เราสื่อสารกับผู้อื่น รูปแบบการท้างาน การเรียนการสอนใน
12
สถานศึกษา หรือแม้แต่การด้าเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป ซึ่งวิวัฒนาการของยุคดิจิทัล สามารถแบ่งออกเป็น 4 ยุค
ดังนี
ดิจิทัล 1.0 (Digital 1.0) เป็นช่วงเริ่มต้นในการเข้ามาของเทคโนโลยีดิจิทัลต่าง ๆ ที่ส่งผลท้า
ให้วิถีชีวิตของผู้คนเริ่มเปลี่ยนแปลงโดยค่อย ๆ เปลี่ยนจากระบบอานาล็อคมาสู่โลกดิจิทัลมากขึน เช่น การเข้า
มาของอินเทอร์เน็ตในปี 2530 ในประเทศไทย เป็นครังแรกแต่เป็นเพียงการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระหว่างมหาวิทยาลัยเท่านัน มีชื่อเรียกว่า แคมปัสเน็ตเวิร์ค (Campus Network) และต่อมาในปี 2535 และ
ในอีกสามปีต่อมาประเทศไทยได้มีการเปิดให้บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ซึ่ง การเปิดให้บริการใน
ครังนันมีอิทธิพลต่อการด้าเนินชีวิตของผู้คนเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการใช้ไปรณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรือที่
เรียกว่าอีเมล (E-mail) แทนการส่งจดหมายผ่านไปรณีย์แบบเดิม เนื่องจากการส่งอีเมลนันมีความสะดวก
รวดเร็วและสามารถใช้งานได้ตลอดเวลาด้วยการเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ดิจิทัล 2.0 (Digital 2.0) เป็นยุคที่มีการใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างแพร่หลายจนท้าให้ผู้คน เริ่ม
คุ้นเคยกับการใช้งานอินเทอร์เน็ตในชีวิตประจ้าวันจนท้าให้เกิดการสร้างและพัฒนาเครือข่ายสังคม ออนไลน์
(Social Media) เสิร์ชเอนจิน (Search engine) ในรูปแบบที่หลากหลายเพื่อเพิ่มความสะดวก รวดเร็วในการ
ติดต่อสื่อสารบนโลกออนไลน์มากขึน
ดิจิทัล 3.0 (Digital 3.0) เป็นยุคของคลังข้อมูลที่มีปริมาณมหาศาลหรือที่เรียกว่า บิ๊กดาต้า
(big data) บิ๊กดาต้าคือคลังเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ที่สามารถช่วยให้องค์กรสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลจ้านวน
มาก และหลากหลายรูปแบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการน้าข้อมูลไปวิเคราะห์ด้วยเทคนิคหรือเทคโนโลยีที
มีความทันสมัยเพื่อน้าไปประกอบการวางแผนและการตัดสินใจให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของ
ผู้บริโภคให้มากที่สุด สามารถช่วยลดระยะเวลาในการด้าเนินงาน และสามารถช่วยลดต้นทุนได้
ดิ จิ ทั ล 4.0 (digital 4.0) เป็ น ยุ ค ปั จ จุ บั น ที่ ค วามเจริ ญ ก้ า วหน้ า ของเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ได้
เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของผู้คนไปอย่างสินเชิง ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อสื่อสาร การท้างาน การศึกษาธุรกิจใน
รูปแบบใหม่ ๆ ที่เกิดขึนตามวิถีชีวิตและความต้องการของผู้บริโภคอุปกรณ์อิเล็กทรอนิคต่าง ๆ สามารถสื่อสาร
และท้างานได้อย่างอัตโนมัติผ่านการเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต นอกจากนีเทคโนโลยีดิจิทัลที่ควบคู่มากับ
การท้างานของอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง คือเทคโนโลยีที่เรียกว่าปัญญาประดิษฐ์หรือที่เรียกว่า เอไอ (Artificial
Intelligence) เอไอคือเทคโนโลยีดิจิทัลที่ออกแบบให้มีระบบการท้างานเสมือนสมองของมนุษย์ที่สามารถคิด
วิเคราะห์ วางแผน และมีการประมวลผลที่รวดเร็วและแม่นย้าอย่างมากได้ช่วยอ้านวยความสะดวกอย่างมาก
ให้กับชีวิตประจ้าของผู้คนและองค์กรต่าง ๆ มากมาย
นอกจากนีในปัจจุบันยังมีเทคโนโลยีดิจิทัลอีกมากมายที่อยู่เบืองหลังความส้าเร็จของธุรกิจต่าง
ๆ และยั งเป็ น ปั จ จั ย ส้ าคัญที่ท้าให้ เกิดความสะดวกสบายในการด้าเนินชีวิต ของผู้ คน ซึ่งส่ งผลให้ เกิดการ
เปลี่ยนแปลงในหลายมิติไม่ว่าจะเป็นสังคม เศรษฐกิจ การศึกษาล้วนแล้วแต่เป็นผลมากจากวิวัฒนาการที่
ก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีดิจิทัลที่ไม่หยุดนิ่ง ดังนันองค์กรต่าง ๆ ต้องตระหนักถึงผลกระทบทังในเชิง
บวก และลบจากกระแสการเปลี่ยนแปลงเหล่านีเพื่อปรับเปลี่ยน และค้นหาแนวทางในการพัฒนาองค์กรให้
สอดคล้องกับทิศทางการเปลี่ยนแปลงของสังคม และการความต้องการของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป รวมไป
ถึงสถานศึกษาที่จ้าเป็นจะต้องปรับตัวและค้นหาแนวทางในการด้าเนินงาน การจัดการเรียนการสอนรวมไปถึง
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับผู้เรียนในยุคดิจิทัล (ภัทรา จรรยาธรรม, 2564 หน้า 63-65)
7) การบริหารสถานศึกษาในยุดิจิทัล
สุกัญญา แช่มช้อย กล่าวว่า ในปัจจุบันเทคโนโลยีไม่เพียงแต่มีบทบาทต่อการด้าเนินชีวิต แต่
ยั ง มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การจั ด การเรี ย นรู้ ต่ อ ผู้ เ รี ย นในสถานศึ ก ษาแบบองค์ ร วม ไม่ ว่ า จะเป็ น สมาร์ ท โฟน
(Smartphone) แท็บเล็ต (Tablet) คอมพิวเตอร์พกพา (Notebook) เมื่อน้าอุปกรณ์เหล่านีเชื่อมต่อเครือข่าย
อิน เทอร์ เน็ ตจะท้าให้ เกิดการเรี ย นรู้ ที่ไม่มีขีดจ้ากัดทังด้านเวลา สถานที่ และปริมาณของความรู้ที่ผู้ เรียน
13
สามารถเข้าถึงได้จากทั่วทุกมุมโลก ซึ่งวิวัฒนาการของเทคโนโลยีเหล่านีท้าให้เกิดการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ต่อ
ผู้เรียน ดังนันผู้น้าสถานศึกษามีความจ้าเป็นจะต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการด้าเนินงาน การจัดการเรียนรู้ให้
เหมาะสมต่อทิศทางของยุคสมัยและจะต้องมีความเข้าใจบริบทของสถานศึกษาเป็นอย่างดี และเพื่อให้เกิดการ
เปลี่ ย นแปลงอย่ า งยั่ ง ยื น ผู้ บ ริ ห ารจะต้ อ งท้ า การวิ เ คราะห์ ส ถานศึ ก ษาทั งระบบเพื่ อ ให้ ท ราบถึ ง ปั ญ หาที่
สถานศึกษาก้าลังเผชิญอยู่ และน้าไปวางแผนเพื่อก้าหนดแนวทางในการแก้ไขและพัฒนาให้สถานศึกษาเกิด
ความก้าวหน้าและสอดรับต่อทิศทางการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย (สุกัญญา แช่มช้อย, 2561, หน้า 41)
ในการจะปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการศึกษาให้สอดคล้องต่อทิศทางการเปลี่ยนแปลงของ
สังคมด้วยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีให้เกิดขึนอย่างมีประสิทธิภาพนันสถานศึกษาจ้าเป็นจะต้องค้านึงถึงปัจจัย
ต่าง ๆ ในหลายด้านที่เป็นส่วนส้าคัญที่จะขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะเป็น การบริหารจัดการของ
สถานศึกษา การออกแบบหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การคัดเลือกและพัฒนาผู้สอน สภาพแวดล้อม
ผู้ปกครอง เป็นต้น หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนคือปัจจัยที่ส้าคัญในการก้าหนดทิศทางความรู้ ทักษะ
และประสบการณ์ของผู้เรียนให้สามารถเผชิญและรับมือต่อความท้าทายของโลกยุคใหม่ที่ไม่หยุดนิ่ง เพ็ญจันทร์
สินธุเขต (2560, หน้า 9-10) เสนอว่าการบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัลจะต้องมีความเข้าใจต่อทิศทางของการ
เปลี่ยนแปลงเพื่อให้สามารถปรับเปลี่ยนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีลักษณะของคนในยุคดิจิทัล (DQ) และเพื่อ
ปรับเปลี่ยนองค์กรให้เกิดวัฒนธรรมองค์ กรแห่งการเรียนรู้โดยในการปรับเปลี่ยนนันจะต้องค้า นึงถึงศักยภาพ
ของผู้เรียนรายบุคคลและความเหมาะสมต่อบริบท นอกจากนีแนวทางการจัดการศึกษาในยุคดิจิทัลสามารถ
แบ่งออกเป็น 5 แนวทาง ดังนี 1. ด้านหลักสูตรต้องมีความยืดหยุ่นและครอบคลุมในด้านความรู้ ทักษะ และ
คุณลักษณะที่เชื่อมโยงกับขอบข่ายสหวิทยาการส้าหรับศตวรรษที่ 21 2. ด้านกระบวนการเรียนรู้ มุ่งเน้น
วิธีการเรียนรู้เชิงนวัตกรรมโดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูลอย่างไร้ขีดจ้ากัดเพื่อสร้างทักษะการคิด
ในขันที่สูงและซับซ้อนมากขึน 3. ด้านการวัดผลประเมินผลต้องปฏิรูปแนวการวัดและประเมินผลการศึกษาใน
รูปแบบใหม่ที่เน้นทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 และมีความหลากหลาย 4. ด้านการพัฒนาสื่อสร้างความรู้ใน
การใช้สื่อและเทคโนโลยีที่หลากหลายในการสืบค้นจากแหล่งข้อมูลขนาดใหญ่อย่างไร้ขีดจ้ากัด 5. ด้านบุคลากร
มุ่งเน้นให้ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา
8) แนวคิดเกี่ยวกับความเลื่อมล้าทางการศึกษา
นักวิชาการและองค์การที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเห็นว่า การศึกษาความเหลื่อมล้า ทางการ
ศึกษาต้องศึกษาทังความยุติธรรม (Equity) และความเสมอภาคหรือความเท่าเทียมกัน (Equality) ซึ่งหมายถึง
ความเท่าเทียมกันในด้านปริมาณ ระดับ สถานภาพ คุณค่า และคุณภาพ ส่วนความยุติธรรมด้านการศึกษาเป็น
เรื่ อ งของการกระจายการศึ ก ษาทุ ก ระดั บ อย่ า งเที่ ย งธรรม (Jacob and Holsinger, 2009, Online) The
Organization for Economic Co-Operation and Development หรือ OECD เสนอว่าความยุติธรรมทาง
การศึกษามี 2 มิติ คือ (1) บุคคลหรือสังคมไม่สามารถกีดกันนักเรียนมิให้มีศักยภาพทางการศึกษาได้ และ (2)
นักเรียนทุกคนจะต้องสามารถเข้าถึงการศึกษามาตรฐานขั นต่้าโดยไม่ถูกจ้ากัดจากภูมิหลัง ลักษณะส่วนบุคคล
ภูมิล้าเนาหรือท้องถิ่นสังคมต้องท้า ให้ทุกคนมีทักษะพืนฐานในการท้างาน เช่น การอ่าน การเขียน และการ
ค้านวณ ความยุติธรรม คือ การให้นักเรียนแต่ละคนได้รับในสิ่งที่ต้องการ ส่วนความเท่าเทียมหมายถึงการได้รับ
เหมือน ๆ กัน เช่น โรงเรียนแต่ละแห่งได้รับงบประมาณเท่าเทียมกันแต่อาจไม่เพียงพอต่อการจัดการศึกษา
อย่างยุติธรรมได้
ดังนัน สามารถให้ความหมายของความเหลื่อมล้า ทางการศึกษาได้ว่า หมายถึง (1) การศึกษา
ที่ไม่เสมอภาค คือ สถาบันการศึกษาได้รับทรัพยากรทางการศึกษาที่ไม่เท่าเทียมกัน เช่น งบประมาณ คุณภาพ
ความรู้และความเชี่ยวชาญของครู และบุคลากรทางการศึกษา ความสามารถจัดหาหรือเข้าถึงหนังสือ ต้า รา
เรียนและเทคโนโลยีของสถานศึกษา และของนักเรียน (2) การศึกษาที่ขาดความเป็นธรรมโดยโรงเรียนที่ด้อย
14
โอกาส เช่น โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนในชนบทไม่สามารถเข้าถึงหรือได้รับทรัพยากรที่ส้า คัญและจ้าเป็นต่อ
การด้าเนินงานเพื่อให้การศึกษาของนักเรียนประสบผลส้าเร็จหรือเกิดประสิทธิผลของการศึกษา
ผลที่เกิดจากความเหลื่อมล้าทางการศึกษา เกิดจากครอบครัวที่บิดามารดามีการศึกษาและมี
รายได้มาก สามารถท้าให้บุตรหลานของตนเริ่มต้นการมีชีวิตที่ดีด้วยการเข้าเรียนในโรงเรียนเอกชนเพื่อได้รับ
การศึกษาที่ดีมากกว่าครอบครัวที่บิดามารดามีการศึกษาน้อย การเลื่อนระดับสูงขึน (Upward-Mobility) ของ
บุคคลที่ได้รับการศึกษาที่สูงขึ น และการลดระดับต่้าลง (Downward-Mobility) เด็กที่บิดามารดามิได้ส้า เร็จ
การศึกษาจากวิทยาลัยจะมีความมั่งคั่งลดลงร้อยละ 10 ในขณะที่เด็กบิดามารดาส้าเร็จการศึกษาจากวิทยาลัย
แต่ตนเองมิได้ ส้ า เร็ จ การศึ กษาจากวิ ทยาลั ยจะท้า ให้ ความมั่ง คั่งลดลงมากขึ นถึง ร้ อยละ 18 จะเห็ นได้ ว่ า
การศึกษามีผลต่อความมั่งคั่งของบุคคลสามารถท้า ให้บุคคลที่มีฐานะยากจนมีความมั่งคั่ง และสามารถท้าให้
บุคคลที่มีความมั่งคั่งแล้วมีความมั่งคั่งลดลงหากละเลยในเรื่องการศึกษา
สรุปได้ว่าความเหลื่อมล้า ทางการศึกษา ส่งผลต่อระดับเศรษฐกิจและสังคมของแต่ละบุคคล
คือ ท้าให้ขาดความรู้และทักษะในการท้างาน ได้รับค่าตอบแทนในอัตราที่ต่้า ขาดอ้านาจการต่อรองในการจ้าง
งาน ขณะเดียวกันเมื่อฐานะทางเศรษฐกิจไม่ดี บุคคลเหล่านั นย่อมขาดโอกาสทางด้านสังคมตามมาด้วย เช่น มี
โอกาสเข้าถึงข้อมูลข่าวสารจากเทคโนโลยีได้น้อย ไม่มีเวลารวมกลุ่มท้ากิจกรรมอื่น ๆ ในสังคมรวมทังขาดความ
สนใจทางการเมือง ท้าให้มีส่วนร่วมทางการเมืองน้อยตามมา ดังนั น หากลดความเหลื่อมล้า ทางการศึกษาให้
น้อยลงผลกระทบที่เกิดขึนข้างต้นก็จะลดน้อยลงได้ (สมจินตนา คุ้มภัย, 2563, หน้า 41-45)
2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
อภินันท์ จันตะนี และประพันธ์ แสงทองดี (2565, หน้า 61) ได้ศึกษาวัฒนธรรมองค์กรในยุค
ดิจิทัลว่า ในสภาพธุรกิจปัจจุบันมีการแข่งขันกันสูงและเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างรวดเร็วท้าให้องค์กรทังภาครัฐ
และเอกชนต้องปรับตัวเข้าสู่องค์กรในยุคดิจิทัล แต่การเปลี่ยนไปสู่แนวทางดังกล่าว การลงทุนจัดซือจัดหา
ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ใหม่ ๆ มาติดตังใช้งานอาจไม่เพียงพอ ต้องมีการปรับเปลี่ยนให้ลงลึกไปจนถึงแก่น
และหัวใจส้าคัญของการด้าเนินงานมีความจ้าเป็นอย่างยิ่ง หากสามารถพัฒนาองค์กรให้เข้ากับยุคดิจิทัล และ
ปกติใหม่จะท้าให้องค์กรตอบสนองกับพฤติกรรมของลูกค้าและบริการผลิตภัณฑ์แบบการเว้นระยะห่าง ซึ่งการ
ด้าเนินงานขององค์กรจ้าเป็นต้องปรับเปลี่ยนโครงสร้างพืนฐานการให้บริการโดยน้าเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้า
มาเพื่อบูรณาการร่วมกับการด้าเนินงานทังภายในและภายนอกองค์กร แม้ว่าจะมีบางองค์กรยั งไม่สามารถปรับ
ตนเองเข้ากับยุคดิจิทัลได้ทันที แต่องค์กรภาคเอกชนและหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกกิจส่วนใหญ่ก้าลัง
ปรับเปลี่ยนไปตามยุคดิจิทัลและได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย พร้อมทังผู้บริหารองค์กรได้ปรับแผนกลยุทธ์
ดิจิทัลเพื่อบริหารจัดการที่มีคุณภาพมีความมั่นคงและยั่งยืนตลอดไป
สุเมธ งามกนก (2564, หน้า 59) ได้ศึกษาการบริหารงานวิชาการในยุคดิจิทัล ว่า ผู้บริหาร
สถานศึกษาได้เห็น ความส้ า คัญของการบริ หารงานวิชาการในยุคดิจิทัล ซี่งถือเป็นภารกิจที่ส้า คัญของการ
บริหารโรงเรียนตามที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545
และเป็นงานที่มีความส้าคัญที่สุด เป็นหัวใจของการจัดการศึกษา และจากการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาจาก
การเรียนในห้องเรียนเป็นการจัดการเรียนการสอนออนไลน์รูปแบบของการจัดการศึกษาก็ต้องเปลี่ยนแปลง
โดยองค์ประกอบที่ส้า คัญของสถานศึกษาในยุค ดิจิทัลไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล เทคโนโลยีทางการ
ศึกษาในยุคดิจิทัล ผู้เรียนในยุคดิจิทัล และครูในยุคดิจิทัลที่มีการเปลี่ยนแปลงไปโดยสินเชิง ดังนัน การบริหาร
สถานศึกษาในยุคดิจิทัลจึงมีความจ้า เป็นต้องปรับเปลี่ยนให้เหมาะกับยุคสมัย โดยอาศัยการน้า ของผู้บริหาร
สถานศึกษาในยุคดิจิทัลที่ต้องมีภาวะผู้น้า เชิงเทคโนโลยี และภาวะผู้น้าเชิงนวัตกรรมเพื่อรองรับการบริหาร
สถานศึกษา และการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันและในอนาคต
จันทร์จิรา เหลาราช (จันทร์จิรา เหลาราช, 2564, หน้า 236-237) ได้ศึกษาการปรับเปลี่ยนสู่
ดิจิทัลและผลกระทบต่อองค์กร โดยกล่ าวว่าการปรับเปลี่ยนสู่ดิจิทัลเป็นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสมัยใหม่ที่เป็น
15
ตัวช่วยส้าคัญในการปรับเปลี่ยนการด้าเนินงานธุรกิจและมีอิทธิพลต่อทุกแง่มุมของชีวิตผู้บริโภค ซึ่งอาจเรียกได้
ว่ า การปรั บ เปลี่ ย นสู่ ดิ จิ ทั ล ซึ่ ง เป็ น กลยุ ท ธ์ ห รื อ กระบวนการที่ ส้ า คั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นและผลั ก ดั น การ
ปรับเปลี่ยนองค์กรให้เป็นองค์กรดิจิทัลที่มีการน้าเทคโนโลยีดิจิทัลไม่ว่าจะเป็น Internet of things, Cloud
Computing, Big data, Artificial Intelligence/ Machine learning, Security, Blockchain, และ Social
media หรือ Mobile technologies เข้ามาใช้ในทุกกระบวนการทังภายในและภายนอก มีการปรับโครงสร้าง
พืนฐานต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงวิธีการ ด้าเนินงาน รูปแบบการแข่งขัน การปฏิสัมพันธ์และการเปลี่ ยนแปลง
พฤติกรรมลูกค้า รวมถึงความคาดหวังของผู้ใช้ปลายทาง ทังนีลักษณะส้า คัญที่องค์กรดิจิทัลจะต้องมีคือ การมี
ความสามารถด้านดิจิทัล (Digital Capability) และความช้านาญด้านดิจิทัล (Digital Dexterity) ซึ่งในปัจจุบัน
พบว่ามีหลายองค์กรที่อยู่ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงและอาจต้องเผชิญกับผลกระทบที่แตกต่างกันทังเชิงบวก
และเชิงลบ ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบต่อรูปแบบธุรกิจ กระบวนการด้าเนินงานประสบการณ์ผู้บริโภค บุคลากรใน
องค์กร วัฒนธรรมองค์กร และโครงสร้างพืนฐาน อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าการปรับเปลี่ยนสู่ดิจิทัลขององค์กรจะ
ส่งผลกระทบในหลายส่วน แต่องค์กรจ้าเป็นที่จะต้องตระหนักและให้ความส้าคัญกับผลกระทบต่อบุคลากรและ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมากที่สุด เนื่องจากการขับเคลื่อนองค์กรให้สามารถบรรลุเป้าหมายในทุก ๆ ด้าน จ้าเป็น
จะต้องมีบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ รวมถึงการส่งเสริมสนับสนุนบุคลากรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้เป็นผู้ มี
แนวคิดดิจิทัล (Digital mindset) ที่เปิดใจยอมรับดิจิทัลเข้า สู่การด้าเนินงานภายใต้สภาวะการณ์ใหม่ อันจะ
น้าไปสู่การเป็นองค์กรที่มีวัฒนธรรมดิจิทัล ซึ่งองค์กรจะต้องด้าเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคลากรแบบ
ค่อยเป็นค่อยไป ทีละเล็กน้อยจนแทรกซึมเข้าสู่วิถีการด้าเนินงาน เพื่อไม่ให้บุคลากรมีความตื่นตระหนกและ
เกิ ด ความคิ ด ต่ อ ต้ า น อาจจะต้ อ งใช้ ร ะยะเวลาในการเปิ ด รั บ และปรั บ ตั ว ค่ อ นข้ า งนาน หากแต่ อ งค์ ก ร
ตังเป้าหมายและพยายามด้าเนินต่อไปจะเกิดการเปลี่ยนแปลงองค์กรได้ในที่สุด
2.3 กรอบแนวคิดในการวิจัย
จากการศึกษาเอกสาร ต้ารา นโยบาย แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 และงาน
วิชาการที่เกี่ยวข้องกับ นวัตกรรมการบริหารวัฒนธรรมองค์กรในช่วงเปลี่ยนผ่านดิจิทัลเพื่อลดความเหลื่อมล้า
ทางการศึกษา ของโรงเรียนประถมศึกษา ในสังกัดส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน ผู้วิจัยได้น้ามา
ก้าหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้ องประกอบด้วยตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา
แสดงดังภาพที่ 1

การบริหาร
วัฒนธรรมองค์กร

นวัตกรรมการบริหารวัฒนธรรมองค์กร
แนวคิด แนวคิดการ ในช่วงเปลี่ยนผ่านดิจิทัลเพื่อลดความ
ช่วงเปลี่ยนผ่าน พัฒนานวัตกรรม เหลื่อมล้าทางการศึกษา
ดิจิทัล

ความเหลื่อมล้า
ทางการศึกษา
16

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัยนวัตกรรมการบริหารวัฒนธรรมองค์กรในช่วงเปลี่ยนผ่านดิจิทัลเพื่อลดความ
เหลื่อมล้าทางการศึกษา ของโรงเรียนประถมศึกษา ในสังกัดส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน

3. วิธีดาเนินการวิจัย ประกอบด้วย
3.1 วิธีการวิจัย
การวิจัยครังนีเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Models) ผู้วิจัยได้แบ่งวิธีด้าเนินการวิจัยเป็น
3 ขันตอน ดังนี
ตอนที่ 1 ศึกษานวัตกรรมการบริหารวัฒนธรรมองค์กรในช่วงเปลี่ยนผ่านดิจิทัลเพื่อลดความ
เหลื่อมล้าทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา
ตอนที่ 2 พัฒนานวัตกรรมการบริหารวัฒนธรรมองค์กรในช่วงเปลี่ยนผ่านดิจิทัลเพื่อลดความ
เหลื่อมล้าทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา
ตอนที่ 3 ประเมินและรับรองนวัตกรรมการบริหารวัฒนธรรมองค์กรในช่วงเปลี่ยนผ่านดิจิทัล
เพื่อลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา
3.2 วิธีการรวบรวมข้อมูล
3.2.1 สอบถามนวัตกรรมการบริหารวัฒนธรรมองค์กรในช่วงเปลี่ยนผ่านดิจิทัลเพื่อลดความ
เหลื่อมล้าทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา
3.2.2 การสนทนากลุ่ม (Focus Group)
3.2.3 ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ
เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย
1) แบบสอบถาม (Questionnaire) ประเมินค่า 5 ระดับ (Likert, 1967, p. 74) ตามแบบ
ลิเคอร์ท (Likert Scale) โดยก้าหนดเป็น 5 ระดับ ดังนี
5 หมายถึง การด้าเนินการและความพึงพอใจในการด้าเนินการ อยู่ในระดับมากที่สุด
4 หมายถึง การด้าเนินการและความพึงพอใจในการด้าเนินการ อยู่ในระดับมาก
3 หมายถึง การด้าเนินการและความพึงพอใจในการด้าเนินการ อยู่ในระดับปานกลาง
2 หมายถึง การด้าเนินการและความพึงพอใจในการด้าเนินการ อยู่ในระดับน้อย
1 หมายถึง การด้าเนินการและความพึงพอใจในการด้าเนินการ อยู่ในระดับน้อยที่สุด
2) แบบแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนวัตกรรมการบริหารวัฒนธรรมองค์กรในช่วงเปลี่ยนผ่าน
ดิจิทัลเพื่อลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา เป็นแบบสอบถามปลายเปิด
3) ประเมินโครงสร้างซึ่งน้าผลการประเมินแบบสอบถามข้อ 1) โดยพิจารณาจากค่าเฉลี่ยน้อย
ที่สุ ดมาก้าหนดเป็ น เค้าโครงของการสั มภาษณ์และขอบเขตเนือหา โดยให้ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิ พ นธ์
ตรวจสอบและน้ามาปรับปรุงแก้ไข น้าแบบสัมภาษณ์ที่ผ่านปรับปรุงแก้ไขและผ่านการพิจารณากลั่นกรองจาก
อาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว น้าไปใช้สัมภาษณ์จริงกับ ผู้อ้านวยการโรงเรียน รองผู้อ้านวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา และครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ส้านักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขันพืนฐาน ในภาคกลางของประเทศไทยต่อไป
17
4. บรรณานุกรม
บรรณานุกรมภาษาไทย
กีร ติ ยศยิ่ งยง. (2552). องค์กรแห่ งนวัตกรรม แนวคิดและกระบวนการ. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์แห่ ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร. (2565). ประกาศกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เรื่ อ ง นโยบายและจุ ด เน้ น ของ
ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ป ร ะ จ า ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2567. เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก :
https://www.moe.go.th/360policy-and-focus-moe-fiscal-year-2024/, 20 มีนาคม 2566.
ค ร ร ชิ ต ม า ลั ย ว ง ศ์ ( 2557). เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร บ ริ ห า ร ก า ร ศึ ก ษ า . เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก :
http://www.drkanchit.com/general_articles/articles/general_24.html., 21 มีนาคม 2566.
จันทร์จิรา เหลาราช. (มีนาคม 2564). การปรับเปลี่ยนสู่ดิจิทัลและผลกระทบต่อองค์กร. มนุษยศาสตร์สาร,
22(1), 227-240.
ดรุณี รัตนสุนทร, อินทร์ จันทร์เจริญ และวีรพันธุ์ ศิริฤทธิ์. (พฤษภาคม – สิงหาคม 2560). วัฒนธรรมองค์กรที่
มีผลต่อการบริหารการศึกษาของส้านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
จังหวัดเชียงราย. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ Veridian มหาวิทยาลัยศิลปากร (มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์
และศิลปะ), 10(2), 365-378.
ถวิล เกษสุพรรณ์. (2552). การศึกษาสภาพการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐานในการ
บริหารงานโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบล เขต 5. ปริญญาครุศาสตรมหา
บัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, อุบลราชธานี.
ธนู ขวัญเดช. (มกราคม – มิถุนายน 2565). การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
ให้แก่คนไทยทุกช่วงวัย และการพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ไทยในยุคดิจิทัล. วารสารสังคมศาสตร์
บูรณาการ มหาวิทยาลัยมหิดล, 9(1), 87-103.
นิติยา หลานไทย. (กุมภาพันธ์ – กรกฎาคม 2560). นโยบายความเสมอภาคด้านคุณภาพของการศึกษาขัน
พืนฐานในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 -10. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 11(2), 286-305.
ปิยนันท์ ศิริโสภณ. (2565). วัฒนธรรมองค์การของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาจันทบุรี. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏร้าไพพรรณี, จันทบุรี.
ปุ ณ ณิ ฐ ฐา มาเชค. (2565). การบริ ห ารองค์ ก รทางการศึ ก ษาในยุ ค ดิ จิ ทั ล . เข้ า ถึ ง ได้ จ าก: http://ed-
adm.buu.ac.th/public/backend/upload/ed-
adm.buu.ac.th/document/file/document166623381159360600.pdf, 19 มีนาคม 2566.
ปรัชญา เวสารัชช์. (2554). หลักการจัดการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.
พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (2552). องค์การและการบริหารจัดการ. นนทบุรี: ธิงค์ บียอนด์ บุ๊คส์.
เพ็ญจันทร์ สินธุเขต (2560). การศึกษายุคนี (ยุคดิจิทัล) : Thailand 4.0. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการ
และการนาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ (Conference Proceedings) ครุศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 3: 2560
นวัตกรรมแห่งการเรียนรู้, 1-13.
ภัทรา จรรยาธรรม. (2564). การบริหารสถานศึกษาเอกชนในยุคดิจิทัล. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, ภาค
วิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ภูริ พัฒ น์ ถนอมศรี อุทัย . (พฤษภาคม-สิ งหาคม, 2565). ได้ศึกษาความเหลื่ อมล้ าทางสั งคมกับ การพั ฒ นา
ประเทศในยุคดิจิทัล. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 7(2), 293-304.
18
รัชวดี แสงมหะหมัด . (มกราคม-มิถุนายน 2560). ความเหลื่อมล้าทางการศึกษา : คุณภาพสังคมที่คนไทย
มองเห็น. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 8(1), 33-66.
วิไล ปรึกษากร. (2558). นวัตกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วิไล ปรึกษากร และ นพดล เจนอักษร. (2561). นวัตกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา
ขันพืนฐาน. วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 9(1), 170-178.
วัชรพจน์ ทรัพย์สงวนบุญ, เวทยา ใฝ่ใจดี และปรียากมล เอืองอ้าย. (มกราคม – มิถุนายน, 2563). การเปลี่ยน
ผ่ า นทางดิ จิ ทั ล เพื่ อ ยกระดั บ ความสามารถทางการแข่ ง ขั น องค์ ก ร กรณี ศึ ก ษาธุ ร กิ จ อาหารและ
เครื่องดื่ม. วารสารเกษตรศาสตร์ธุรกิจประยุกต์, 14(20), 25-44.
วัชรพจน์ ทรัพย์สงวนบุญ . (มกราคม – มิถุนายน, 2563). การเปลี่ยนผ่ านทางดิจิทัลขององค์กรภาครั ฐเพื่อ
ยกระดับความสามารถทางการแข่งขันของประเทศไทย. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 18(1), 15-22.
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ และวาสนา แก้วผนึกรังษี. (2561). การเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลของประเทศไทยเพื่ อ
น้าไปสู่ Thailand 4.0. วารสารวิชาการ กสทช. ประจาปี 2561, 24-42.
สุกัญญา แช่มช้อย. (2561). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล . ส้านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ,
กรุงเทพมหานคร.
สุพานี สฤษฎีวานิช. (2552). พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่ : แนวคิดและทฤษฎี. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น
จ้ากัด.
สุเมธ งามกนก (เมษายน, 2564). การบริหารงานวิชาการในยุคดิจิทัล . วารสารสมาคมพัฒนาวิชาชีพ การ
บริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย, 59-67.
ส้านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่
13 พ.ศ. 2566-2570. เข้าถึงได้จาก:
https://www.ldd.go.th/App_Storage/navigation/files/23_0.pdf, 28 มีนาคม 2566.
สมเดช สาวันดี. (2553). การนาเสนอรูปแบบการบริหารการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานต้นแบบ
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 5. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต .
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, อุบลราชธานี.
สมจินตนา คุ้มภัย. (2563). ความเหลื่อมล้าทางการศึกษา : ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างโรงเรียนมัธยมในเขต
เมืองกับโรงเรียนมัธยมนอกเขตเมืองในจังหวัดนครศรีธรรมราช. รายงานวิจัยชุมชน. ส้านักวิจัยและ
พัฒนา สถาบันพระปกเกล้า กรุงเทพมหานคร.
อภินั น ท์ จั น ตะนี และประพัน ธ์ แสงทองดี . (มกราคม – มิถุนายน 2565). วัฒ นธรรมองค์กรในยุคดิจิทัล .
วารสาร มจร ภาษาและวัฒนธรรม, 2(1), 52-62.

บรรณานุกรมภาษาอังกฤษ
Arroba, T., and Kim, J. (1992). Pressure at work : A Survivals Guide for Manager. (2nd ed).
London: McGraw-Hill Book Company.
Campbell, R.F., Bridges, E.M., Corbally, J.E., Nystrand R.O., and Ramseyer, J.A. (1971).
Introduction to educational administration. (4th ed.). Boston: Allyn and Bacon.
Good, C. V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill Book.
Harkema, S. (2003). A Complex Adaptive Perspective on Learning within Innovation Projects.
The Learning Oranization 10(6), 340-346.
19
Hoy, W. K., and Cecil, M. G. (1996). Educational Administration Theory: Research and Practice.
New York: McGraw – Hill Inc.
Hoy, W. K., and Miskel, C. G. (2001). Educational Administration: Theory, Research and Practice.
(6th ed). Mc Graw – Hill International Edition 2001.
Jacob, J. W., and Holsinge, D. (2009). Inequality in Education: Comparative and International
Perspectives. Retrived September 2, 2019, from https://www.springer.com/gp/book/
9789048126514.
Kolb, D. A., Rubin, I. M., and Osland, J. S. (1991). The Organizational Behavior Leader. (5th ed).
Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.
Krejcie, R.V., and Morgan, D.W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities.
Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607 – 610.
Lemon, M. and Sahota, P.S. ( 2 0 0 4 ) . Organizational Culture as a Knowledge Repository for
Increased Innovation Capacity. Technovation, 24, 483–498.
Likert, R. (1967). The human organization. New York : McGraw-Hill.
Pérez‐Bustamante, G. ( 1 9 9 9 ) . Knowledge Management in Agile Innovative Organizations.
Journal of Knowledge Management. 3(1), 6-17.
Smits, R. (2002). Innovation studies in the 21 th century: Question from user’s Perspective.
Science Direct Journals, 69(9), 861–883.
Turner, C. H. (1992). Creating Corporate Culture : From Discord to Harmony. Wakefield: Addison
Wesley.

You might also like