แผน 1

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 17

แผนการจัดการเรียนรู้

โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์
หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และจิตวิทยา
ศาสตร์ เวลา 3 ชั่วโมง
รหัสวิชา ว 22101 รายวิชา วิทยาศาสตร์ 3
ภาคเรียน 1
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ปี การศึกษา 2565
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด/ผลการเรียน
มาตรฐานการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้นีม
้ ีจุดมุ่งหมายให้นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ ของ
วิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ เพื่อ
ตระหนักถึงลักษณะสำคัญของวิทยาศาสตร์และลักษณะนิสัยของบุคคลที่
เกี่ยวข้องกับความรู้สึกนึกคิดทางวิทยาศาสตร์

2. จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ ตัวชีว
้ ัด/ผลการเรียนรู้(วิชาเพิ่มเติม)
วิเคราะห์พฤติกรรมการเรียนรู้ โดยใส่เครื่องหมาย √ ลงในช่อง K, P, A
K – ด้านความรู้ P – ด้านทักษะ/กระบวนการ A–
ด้านคุณลักษะพึงประสงค์
จุดประสงค์การเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ K P A
1.ยกตัวอย่างและอธิบายธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ √
2.ปฏิบัติตามขัน
้ ตอนการทำกิจกรรมได้ √
3.ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมร่วมกับผู้อ่ น
ื ได้ √
3. สาระสำคัญ
1) วิทยาศาสตร์มีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างจากศาสตร์ความรู้แขนงอื่น
ๆ ซึ่งเรียกว่า ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
2) ในการมองปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติแบบวิทยาศาสตร์นน
ั ้ มี
ลักษณะแตกต่างจากศาสตร์อ่ น
ื ๆ
เช่น ในมุมมองแบบวิทยาศาสตร์มองว่า สิ่งต่าง ๆ สามารถทำความเข้าใจ
ได้โดยอาศัยหลักฐานสนับสนุน
การแปลผล และสรุปเป็ นองค์ความรู้ด้วยสติปัญญาของมนุษย์ แนวคิดทาง
วิทยาศาสตร์เปลี่ยนแปลงได้ เมื่อ มีหลักฐานเพิ่มเติมที่เชื่อถือ
ได้และนำมาสร้างคำอธิบายใหม่
3) การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ก็มีลักษณะเฉพาะเช่นกัน โดย
เป็ นการรวบรวมข้อมูลหลักฐานเพื่อนามาสร้างคำอธิบายหรือตอบคำถามใน
สิ่งที่สงสัย โดยใช้กระบวนการหรือวิธีการต่าง ๆ ที่เป็ นระบบ แต่ไม่ตายตัว
4) วิทยาศาสตร์เป็ นกิจกรรมของมนุษยชาติ มีหลายมิติทงั ้ ในระดับบุคคล
สังคม หรือองค์กร แตกแขนงเป็ นสาขาต่าง ๆ แต่หลักการหรือคำอธิบายทาง
วิทยาศาสตร์ไม่มีขอบเขตแบ่งแยก

4. สาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์มีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างจากศาสตร์แขนงอื่น ๆ โดย
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์จะให้ความสำคัญกับ การมองโลกในมุมมองแบบ
วิทยาศาสตร์ที่ว่า เราสามารถทำความเข้าใจปรากฏการณ์ต่าง ๆ ได้โดย
อาศัยกระบวนการหาหลักฐาน ลงความคิดเห็น ผสมผสานกับความคิด
สร้างสรรค์และจินตนาการ ในการสร้างแนวคิดและคำอธิบายทาง
วิทยาศาสตร์ที่มีความ น่าเชื่อถือ อย่างไรก็ตามองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่
มีความคงทนก็อาจจะเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีหลักฐานเพิ่มเติมที่มีความ น่า
เชื่อถือมากกว่า วิทยาศาสตร์จึงเป็ นวิถีทางแห่งการเรียนรู้สิ่งรอบตัวอย่างที่
ไม่มีที่สน
ิ ้ สุดของมนุษย์และไม่ใช่แนวคิดจากความ เชื่อฟั งที่สืบต่อกันมา
เท่านัน
้ อย่างไรก็ตามวิทยาศาสตร์ก็ไม่สามารถให้คำตอบที่สมบูรณ์หรือตอบ
คำถามทุกคำถามได้ (AAAS, 1990; 1993; Lederman, 1992; McComas
และ Olson, 1998; NGSS, 2013)
การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็ นส่วนสำคัญอีกส่วนหนึ่งของ
ธรรมชาติวิทยาศาสตร์ เป็ นกระบวนการที่มนุษย์ ใช้แสวงหาคำตอบ สร้าง
แนวคิดและคำบรรยายเกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เรียกว่า ทฤษฎี
(theory) และอธิบาย ความสัมพันธ์หรือรูปแบบของสิ่งต่าง ๆ ใน
ปรากฏการณ์ ที่เรียกว่า กฎ (law) เพื่อใช้อธิบายหรือทำนายการเกิด
ปรากฏการณ์ใน ธรรมชาติ เป็ นกระบวนการที่มีระบบแต่ไม่มีรูปแบบที่
ตายตัวมักเริ่มต้นจากคำถาม มีการเก็บข้อมูลหลักฐานด้วยวิธีการต่าง ๆ
วิเคราะห์ข้อมูลและสร้างคำอธิบายจากหลักฐานที่ได้ จากนัน
้ เชื่อมโยงคำ
อธิบายที่ค้นพบกับผู้อ่ น
ื และสื่อสารอย่างมีเหตุผล แม้ว่า วิทยาศาสตร์จะมี
ลักษณะเฉพาะตัว แต่ก็ถือว่าเป็ นกิจการทางสังคมของมนุษยชาติที่ทุกคน
สามารถทำได้ และมีส่วนร่วมได้ทงั ้ ในระดับบุคคล สังคม และองค์กร ความรู้
ทางวิทยาศาสตร์มีการจัดระบบและแตกแขนงเป็ นสาขาที่หลากหลายโดย
องค์กรต่าง ๆ และมีหลักจริยธรรมในการดำเนินการร่วมกัน (AAAS, 1990;
1993; NGSS, 2013)
ลักษณะนิสัยของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึกนึกคิดทางวิทยาศาสตร์
เรียกว่า จิตวิทยาศาสตร์ซึ่งแสดงออกได้หลาย แนวทาง เช่น วิเคราะห์และ
ให้เหตุผลแต่ละข้อมูลก่อนการประเมินและตัดสินใจ ไม่แสดงความคิดเห็น
ต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ก่อน ลงมือทำหรือได้ข้อมูลเพียงพอ สืบเสาะและใช้
หลักฐานสนับสนุนคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ รายงานหลักฐานเชิงประจักษ์
อย่าง ครบถ้วน ไม่แอบอ้างผลงานผู้อ่ น
ื ยอมรับความเห็นหรือแนวคิดที่มี
ประจักษ์พยานและเหตุผล แม้ว่าความเห็นหรือแนวคิด ดังกล่าวจะแตกต่าง
จากตนเอง รวมทัง้ เห็นคุณค่า ความสำคัญ และความสนใจต่อวิทยาศาสตร์

5. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
5.1สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
√ ความสามารถในการสื่อสาร √ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
√ ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ความสามารถในการแก้ปัญหา
5.2คุณลักษณะอันพึงประสงค์/ค่านิยมหลัก 12 ประการ (ค่านิยมต่าง คือ
ข้อ 9-12)
1. รักษาติ ศาสน์ กษัตริย์ 7. มีจิตสาธารณะ (คำนึงถึงประโยชน์
ส่วนรวม)
√ 2. ชื่อสัตย์สุจริต (เสียสละอดทน) 8. มีความกตัญญู ต่อพ่อแม่ ครู
อาจารย์
√ 3. มีวินัย (เคารพกฎหมาย) 9. มีศล
ี ธรรม รักษาความสัตย์
√ 4. ใฝ่ เรียนรู้ 10. รักความเป็ นไทย (รักษา
ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย)
5. อยู่อย่างพอเพียง 11. เข้าใจ เรียนรู้ประชาธิปไตยที่ถูกต้อง
√ 6. มุ่งมั่นในการทำงาน มีสติ 12. มีความเข้มแข็ง ทัง้ กายและใจ
5.3การบูรณาการหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกัน
เงื่อนไขความรู้
เงื่อนไขคุณธรรม
5.4การบูรณาการอาเชียนศึกษาเชื่อมโยงท้องถิ่น
1.ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน(Knowing ASEAN)
2.การเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์และความหลากหลาย(Valuing Identity
and Diversity)
3.การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น(Connecting Global Local)
4.การส่งเสริมความเสนอภาคและความยุติธรรม(Promoting Equity and
Justice)
5.การทำงานร่วมกันเพื่ออนาคตที่ยังยืน(Working Together For a
Sustainable Future)
5.5 การบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ตามแนวทางวิถีพุทธ
ศีล หรือพฤติกรรมหรือวินัยในการดำเนินชีวิตที่ดีงามสำหรับตนและสังคม
สมาธิ หรือการพัฒนาจิตใจที่มีคุณภาพ มีสมรรถภาพ มีจิตใจที่เข็มแข็งและ
สงบสุข
ปั ญญา มีความรู้ที่ถูกต้องมีศักยภาพในการคิด การแก้ปัญหาที่เหมาะสม
5.6ทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (3R 8C)
1. ทักษะในสาระวิชาหลัก (3R)
1. reading (อ่าน) 2. (W) Riting (เขียน) 3. (A)
Rithemetics (คณิตฯ)
2. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (8C)
Critical Thinking and Problem Solving (การคิดวิจารณญาณ และแก้
ปั ญหา)
Creativity and Innovation (การสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
Cross-cultural Understanding (ความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม)
Collaboration, Teamwork and Leadership (การทำงานเป็ นทีม
ภาวะผู้นำ)
Communications, Information, and Media Literacy (การสื่อสาร
สารสนเทศ)
Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และ
เทคโนโลยี)
Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และการเรียนรู้)
Compassion (คุณธรรม เมตตา กรุณา ระเบียบวินัย)
5.7บูรณาการกิจกรรมสะเต็มศึกษา
S (Science) : ความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
T (Technology) : ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี
E (Engineering) : การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางวิศวกรรม
M (Mathematics) : การคิดคำนวณ

6. ชิน
้ งานหรือภาระงาน
1) ใบงานเรื่อง วิทยาศาสตร์คืออะไร
2) ใบงานเรื่อง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3) ใบงานเรื่อง ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์

7. กิจกรรมการเรียนรู้
ใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry
Cycles: 5Es) (3 ชั่วโมง; 180 นาที)
ขัน
้ ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engagement) (20 นาที)
1) ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยตัง้ ประเด็นคำถามว่า นักเรียน
ื ๆ อย่างไร (มีลักษณะแตกต่าง
คิดว่าวิทยาศาสตร์แตกต่างจากศาสตร์อ่ น
จากศาสตร์อ่ น
ื ๆ เช่น ในมุมมองแบบวิทยาศาสตร์ต้องอาศัยหลักฐาน
สนับสนุน การแปลผล และสรุปเป็ นองค์ความรู้ด้วยสติปัญญาของมนุษย์
แนวคิดทางวิทยาศาสตร์เปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีหลักฐานเพิ่มเติมที่เชื่อถือได้
และนำมาสร้างคำอธิบายใหม่)
2) ครูตงั ้ ประเด็นคำถามเพิ่มเติมทบทวนความรู้พ้น
ื ฐานของนักเรียนเกี่ยว
กับ โครงสร้างอะตอมและวิทยาศาสตร์ โดยอาจตัง้ คำถามดังนี ้
- วิทยาศาสตร์คืออะไร (วิทยาศาสตร์เป็ นความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติซึ่ง
สามารถอธิบาย ได้ด้วยหลักฐานและความเป็ นเหตุเป็ นผลทาง วิทยาศาสตร์
โดยวิทยาศาสตร์มิใช่ความรู้ เกี่ยวกับความจริงของธรรมชาติเพียงอย่าง
เดียวแต่ยังครอบคลุมไปถึงกระบวนการ เรียนรู้และทำความเข้าใจความรู้
นัน
้ อย่างเป็ น ระบบและเป็ นเหตุเป็ นผล)
- ความรู้เกี่ยวกับอะตอมที่เรียนรู้ในชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 เป็ นอย่างไร
(อะตอมเป็ นหน่วยย่อยของสสาร โดยโครงสร้างอะตอมประกอบด้วย
นิวเคลียสซึง่ มีโปรตอน นิวตรอนอยู่เป็ นศูนย์กลาง และ มีอิเล็กตรอนโคจร
โดยรอบ)
ขัน
้ ที่ 2 ขัน
้ สำรวจและค้นหา (Exploration) (40 นาที)
3) ครูนำเข้ากิจกรรมที่ 1.1 ความรู้ทางวิทยาศาสตร์พัฒนาได้อย่างไร โดย
ตัง้ ประเด็นคำถามว่า การพัฒนาองค์ความรู้วิทยาศาสตร์มีลักษณะความ
สำคัญอย่างไร (ความรู้ทางวิทยาศาสตร์พัฒนาได้โดยการรวบรวมข้อมูลหลัก
ฐาน เพื่อนำมาสร้างคำอธิบายหรือตอบคำถามในสิ่งที่สงสัย โดยใช้
กระบวนการหรือวิธีการต่าง ๆ)
4) นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดำเนินกิจกรรม ตาม
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เล่ม 1 ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ หน้า 2 - 4 และครูตรวจสอบ
ความเข้าใจการอ่านโดยใช้คำถามดังต่อไปนี ้
- กิจกรรมนีเ้ กี่ยวกับเรื่องอะไร (การพัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์)
้ ีจุดประสงค์อย่างไร (อ่าน วิเคราะห์ และสรุปแนวคิดเกี่ยว
- กิจกรรมนีม
กับธรรมชาติวิทยาศาสตร์)
ั ้ ตอนโดยสรุปอย่างไร (อ่านบทความการพัฒนา
- วิธีดำเนินกิจกรรมมีขน
องค์ความรู้วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับอะตอม และการวิจัยทางโบราณคดีหญิง
สาวโบราณปลายยุคประวัติศาสตร์ จากนัน
้ เขียนแผนผังเชื่อมโยงหลักฐาน
และข้อสรุปที่ค้นพบ)
- นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง (ข้อมูลเกี่ยวกับการ
พัฒนาองค์ความรู้วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับอะตอม และการวิจัยทางโบราณคดี
หญิงสาวโบราณปลายยุคประวัติศาสตร์)

ขัน
้ ที่ 3 ขัน
้ อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) (30 นาที)
5) นักเรียนนำเสนอผลการทำกิจกรรมที่ 1.1 โดยการตอบคำถามท้าย
กิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรม เพื่อให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรมว่า
การสรุปองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ต้องอาศัยข้อมูล หลักฐานที่ได้จากการ
ศึกษาอย่างเป็ นระบบ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีหลักฐาน
ที่น่าเชื่อถือมา สนับสนุนแนวคิดใหม่ และเมื่อมีหลักฐานใหม่เพิ่มขึน
้ จะทำให้
ความรู้เพิ่มพูนชัดเจนขึน
้ การสร้างองค์ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ประกอบ
ด้วย การตัง้ คำถาม การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสร้างคำอธิบาย
เชื่อมโยงจากข้อมูล และแนวคิดทางวิทยาศาสตร์เพื่อตอบคำถาม และการ
สื่อสารหรือเผยแพร่องค์ความรู้นน
ั้
ขัน
้ ที่ 4 ขัน
้ ขยายความรู้ (Elaboration) (40 นาที)
6) ครูจัดเตรียมอุปกรณ์ตามกิจกรรมที่ 1.2 วัตถุอะไรอยู่ในกล่อง เพื่อ
ความเข้าใจยิ่งขึน
้ เกี่ยวกับธรรมชาติวิทยาศาสตร์ ตามหนังสือเรียนรายวิชา
พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) สสวท.
กระทรวงศึกษาธิการ หน้า 6 – 7
7) นักเรียนอ่านคำอธิบายการทำกิจกรรมและครูตรวจสอบความเข้าใจ
การอ่านโดยใช้คำถามดังต่อไปนี ้
- กิจกรรมนีเ้ กี่ยวกับเรื่องอะไร (ลักษณะของธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
จากการหาคำตอบว่าอะไรอยู่ในกล่องปริศนา)
้ ีจุดประสงค์อะไร (สังเกต อภิปรายและลงความเห็นเกี่ยวกับ
- กิจกรรมนีม
สิ่งที่อยู่ในกล่องปริศนา จากนัน
้ ยกตัวอย่าง และอธิบายธรรมชาติของ
วิทยาศาสตร์ที่สอดคล้องกับกิจกรรม)
ั ้ ตอนโดยสรุปอย่างไร (สังเกต เก็บรวบรวมข้อมูล
- การทำกิจกรรมมีขน
และวิเคราะห์สิ่งที่อยู่ในกล่องปริศนาโดยใช้ ประสาทสัมผัส ต่อมาจึงใช้
เครื่องมือ จากนัน
้ นำเสนอและอภิปรายสรุปร่วมกัน)
- นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง (ข้อมูลหลักฐานต่าง ๆ
เพื่อสนับสนุนความคิดว่าสิ่งใดอยู่ในกล่อง ปริศนา โดยใช้ประสาทสัมผัสต่าง
ๆ)
ขัน
้ ที่ 5 ขัน
้ ประเมิน (Evaluation) (50 นาที)
8) ครูและนักเรียนนำเสนอผลการตอบคำถามท้ายกิจกรรมที่ 1.2 ร่วมกัน
(เฉลยแนบท้ายแผนการจัดการเรียนรู้)
9) นักเรียนสรุปองค์ความรู้ที่ได้รับจากบทเรียน โดยการเขียนบรรยาย
วาดภาพ หรือเขียนแผนผังมโนทัศน์สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ธรรมชาติของ
วิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์

8. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1.)ใบกิจกรรมหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
2 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ หน้า 3 – 7

9. การวัดและประเมินผล
ตัวชีว
้ ัด/ผล วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์ที่ใช้ในการ
การเรียนรู้ ประเมิน
1. ยกตัวอย่าง - ตรวจการตอบ - คำถามใบงาน ได้ไม่น้อยกว่า 2
และ คำถามใบงาน เรื่องวิทยาศาสตร์ คะแนน
อธิบาย เรื่อง คืออะไร, ใบงาน ระดับคุณภาพดี
ธรรมชาติของ วิทยาศาสตร์คือ เรื่องกระบวนการ ถือว่าผ่าน
วิทยาศาสตร์ได้ อะไร, ใบงาน ทางวิทยาศาสตร์, การประเมินด้าน
(ด้านความรู้: เรื่อง ลักษณะสำคัญของ ความรู้
K) กระบวนการ นักวิทยาศาสตร์
ทาง
วิทยาศาสตร์,
ลักษณะสำคัญ
ของนัก
วิทยาศาสตร์
2. ปฏิบัติตาม - สังเกตการทำ - แบบสังเกตการ ได้ไม่น้อยกว่า 2
ขัน
้ ตอนการทำ กิจกรรมของ ปฏิบัติตามขัน
้ ตอน คะแนน
กิจกรรม นักเรียน การทำกิจกรรม ระดับคุณภาพดี
(ด้าน ถือว่าผ่าน
กระบวนการ: การประเมินด้าน
P) กระบวนการ
3. ให้ความร่วม - สังเกตความ - แบบสังเกตความ ได้ไม่น้อยกว่า 2
มือในการทำ ร่วมมือในการ ร่วมมือในการทำ คะแนน
กิจกรรมร่วม ทำกิจกรรมของ กิจกรรมร่วมกับผู้ ระดับคุณภาพดี
กับผู้อ่ น
ื ได้ นักเรียน อื่น ถือว่าผ่าน
(ด้านเจตคติ: การประเมินด้าน
A) เจตคติ

9.1เกณฑ์การประเมินผลงานนักเรียน
เกณฑ์การประเมิน
ค่าน้ำ
ประเด็นการ
หนัก แนวทางการให้คะแนน
ประเมิน
คะแนน

การให้คะแนน 3 ตอบคำถามใบงานเรื่องวิทยาศาสตร์คืออะไร,
การตอบคำตอบ ใบงานเรื่องกระบวนการทางวิทยาศาสตร์,
ใบงานเรื่อง ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์ ถูกต้อง
วิทยาศาสตร์คือ จำนวน 11 – 17 ข้อ
อะไร, ใบงาน 2 ตอบคำถามใบงานเรื่องวิทยาศาสตร์คืออะไร,
เรื่อง ใบงานเรื่องกระบวนการทางวิทยาศาสตร์,
กระบวนการ ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์ ถูกต้อง
ทาง จำนวน 4 - 10 ข้อ
วิทยาศาสตร์, 1 ตอบคำถามใบงานเรื่องวิทยาศาสตร์คืออะไร,
ลักษณะสำคัญ ใบงานเรื่องกระบวนการทางวิทยาศาสตร์,
ของนัก ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์ ถูกต้อง
วิทยาศาสตร์ จำนวน 0 - 3 ข้อ

ค่าน้ำ
ประเด็นการ
หนัก แนวทางการให้คะแนน
ประเมิน
คะแนน

สามารถปฏิบัติตามขัน
้ ตอนการทำกิจกรรมได้
3
อย่างถูกต้อง มีระบบระเบียบในการจัดลำดับ
การทำกิจกรรม จดบันทึกการทำกิจกรรม
การให้คะแนน
ตอบคำถาม และดำเนินกิจกรรมภายในเวลา
ปฏิบัติตามขัน

กำหนด
ตอนการทำ
สามารถปฏิบัติตามขัน
้ ตอนการทำกิจกรรมได้
กิจกรรม 2
อย่างถูกต้อง มีระบบระเบียบในการจัดลำดับ
การทำกิจกรรม แต่ไม่จดบันทึกการทำ
กิจกรรม ไม่ตอบคำถาม และยังดำเนิน
กิจกรรมภายในเวลากำหนด
สามารถปฏิบัติตามขัน
้ ตอนการทำกิจกรรมได้
1
มีระบบระเบียบในการจัดลำดับการทำ
กิจกรรม แต่ไม่จดบันทึกการทำกิจกรรม ไม่
ตอบคำถาม และดำเนินกิจกรรมไม่ทันภายใน
เวลากำหนด
ประเด็นการ ค่าน้ำ แนวทางการให้คะแนน
ประเมิน หนัก
คะแนน

3 ให้ความร่วมมือในทำกิจกรรมร่วมกับผู้อ่ น

ตลอดทัง้ คาบเรียน ไม่ก่อความวุ่นวายหรือ
การให้คะแนน
ปั ญหาที่รบกวนการเรียนของผู้อ่ น
ื เช่น พูด
ความร่วมมือ
เสียงดังโวยวายลุกเดินไปมา หรือชวนผู้อ่ น
ื คุย
ในการทำ
เล่น ขณะครูทำการสอน
กิจกรรม
2 ให้ความร่วมมือในทำกิจกรรมร่วมกับผู้อ่ น

ร่วมกับผู้อ่ น

เป็ นบางครัง้ ในคาบเรียน และก่อความวุ่นวาย
หรือปั ญหาที่รบกวนการเรียนของผู้อ่ น
ื เช่น
พูดเสียงดังโวยวาย ลุกเดินไปมา หรือชวนผู้
อื่นคุยเล่น ขณะครูสอน
1 ไม่ให้ความร่วมมือในทำกิจกรรมร่วมกับผู้อ่ น

ทำให้เกิดความวุ่นวายหรือปั ญหาที่รบกวน
การเรียนของผู้อ่ น
ื เช่น พูดเสียงดังโวยวาย
ลุกเดินไปมา หรือ ชวนผู้อ่ น
ื คุยเล่น ขณะครู
ทำการสอน

9.2ระดับคุณภาพ (โดยนำคะแนนรวมทุกด้าน K P A แล้วหาค่าเฉลี่ย)


คะแนนรวมเฉลี่ย 3.00 หมายถึง ดีมาก
คะแนนรวมเฉลี่ย 2.00 - 2.99 หมายถึง ดี
คะแนนรวมเฉลี่ย 0.01 - 1.99 หมายถึง พอใช้
ดังนัน
้ นักเรียนต้องได้คะแนนเฉลี่ยทุกประเด็นการประเมิน ไม่ต่ำกว่า 2.00
คะแนน แสดงระดับคุณภาพดี ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมินในแผนการจัดการ
เรียนที่ 1
10. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………

บันทึกผลหลังการสอน

หน่วย
ที่..........เรื่อง........................................................จำนวน...................................ชั่
วโมง

1. สรุปผลการเรียนการสอน
1.1 นักเรียนจำนวน...........คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้...................คน คิดเป็ นร้อย
ละ....................................................
ไม่ผ่านจุดประสงค์...............................คน คิดเป็ นร้อย
ละ....................................................
- นักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์ (ถ้ามี ระบุรายชื่อ) เพื่อแก้ไขและพัฒนา
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
- นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ หรือสามารถส่งเสริมความเป็ นเลิศได้ (ถ้ามี
ระบุรายชื่อ)
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
1.2 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K)
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการจัดการเรียนรู้ ร้อย
ละ.......................................................................................................
1.3 นักเรียนมีความรู้เกิดทักษะ (P)
นักเรียนมีความรู้และเกิดทักษะกระบวนการ การจัดการเรียนรู้ ร้อย
ละ............................................................................
1.4 นักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรมจริยธรรม (A)
นักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม ร้อย
ละ........................................................................................................

2. ปั ญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………..

3. ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.................................................................
(นายณัฐวุฒิ นักรำ)
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ผลจากการจัดการเรียนรู้
ของ..............................................................................แล้วมีความคิดเห็นดังนี ้

1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย ใช้รูปแบบหรือเทคนิค วิธีการ ที่หลาก
หลาย
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย ใช้ส่ อ
ื นวัตกรรม เทคโนโลยี ที่หลาก
หลาย
มีการวัดประเมินผลด้วยเครื่องมือที่หลากหลายและสอดคล้องกับ
สาระการเรียนรู้
มีการใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
2. กระบวนการจัดการเรียนรู้ของแผนการจัดการเรียนรู้
เป็ นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดี สามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้ตาม
วัตถุประสงค์

ลงชื่อ.................................................................
ลงชื่อ.................................................................
(นางกนกวรรณ ชุนถนอม) (นางสาววีรินทร์
จั่นทอง)
หัวหน้ากลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีผู้ช่วยรองผู้อำนวยการก
ลุ่มบริหารวิชาการ
วัน................เดือน........................พ.ศ. ......................
วัน................เดือน........................พ.ศ. ......................

ความคิดเห็นของผู้บริหาร
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………..

ลงชื่อ…………………………………………………………

(นางสาวมณีรัตน์ สัจจวิโส)

รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ

วัน................เดือน........................พ.ศ. ......................
ลงชื่อ……………………………………………
……………
(นาง
กรองแก้ว พูลเพิ่มพันธ์)
ผู้อำนวยการโรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์

วัน................เดือน........................พ.ศ
. ......................

You might also like