Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 23

แผนการจัดการเรียนรู้

โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์
หน่วยที่ 4 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ แรงและความดันของเหลว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 21 เรื่อง แรงเสียดทาน
เวลา 3 ชั่วโมง
รหัสวิชา ว 22101 รายวิชา วิทยาศาสตร์ 3
ภาคเรียน 1
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ปี การศึกษา 2565

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด/ผลการเรียน
มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อ
วัตถุลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทัง้ นำความรู้ไปใช้
ประโยชน์
ตัวชีว
้ ัด
ว 2.2 ม.2/6 อธิบายแรงเสียดทานสถิตและแรงเสียดทานจลน์ จากหลัก
ฐานเชิงประจักษ์
ว 2.2 ม.2/7 ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมในการ
อธิบายปั จจัยที่มีผลต่อขนาดของแรงเสียดทาน
ว 2.2 ม.2/8 เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงอื่น ๆ ที่กระทำ
ต่อวัตถุ
ว 2.2 ม.2/9 ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้เรื่อง แรงเสียดทานโดย
วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและ
เสนอแนะ วิธีการลดหรือเพิ่มแรงเสียดทานที่เป็ นประโยชน์ต่อการทำ
กิจกรรมในชีวิตประจำวัน

2. จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ ตัวชีว
้ ัด/ผลการเรียนรู้(วิชาเพิ่มเติม)
วิเคราะห์พฤติกรรมการเรียนรู้ โดยใส่เครื่องหมาย √ ลงในช่อง K, P, A
K – ด้านความรู้ P – ด้านทักษะ/กระบวนการ A–
ด้านคุณลักษะพึงประสงค์
จุดประสงค์การเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ K P A
1.นักเรียนสามารถเปรียบเทียบแรงเสียดทานสถิตและ √
แรงเสียดทานจลน์ได้
2.นักเรียนมีทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล อธิบาย √
ปั จจัยที่มีผลต่อขนาดของ
แรงเสียดทานและการเพิ่มและลดแรงเสียดทานใน
กิจกรรมต่าง ๆ ที่พบใน ชีวิตประจำวันได้อย่างมีเหตุผล
3.นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการใช้อุปกรณ์การ √
ทำกิจกรรมได้

3. สาระสำคัญ
1) แรงเสียดทานเป็ นแรงที่เกิดขึน
้ ระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ เพื่อต้านการ
เคลื่อนที่ของวัตถุนน
ั ้ โดยถ้าออกแรงกระทำต่อวัตถุที่อยู่นิ่งบนพื้นผิวให้
เคลื่อนที่ แรงเสียดทานก็จะต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทานที่เกิด
ขึน
้ ในขณะที่วัตถุยังไม่เคลื่อนที่เรียก แรงเสียดทานสถิต แต่ถ้าวัตถุกำลัง
เคลื่อนที่ แรงเสียดทานก็จะทำให้วัตถุนน
ั ้ เคลื่อนที่ช้าลงหรือหยุดนิ่ง เรียก
แรงเสียดทานจลน์
2) ขนาดของแรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุขน
ึ ้ กับลักษณะผิว
สัมผัสและขนาดของแรงปฏิกิริยาตัง้ ฉากระหว่างผิวสัมผัส
3) กิจกรรมในชีวิตประจำวันบางกิจกรรมต้องการแรงเสียดทาน เช่น การ
เปิ ดฝาเกลียวขวดน้ำ การใช้แผ่นกันลื่นในห้องน้ำ บางกิจกรรมไม่ต้องการ
แรงเสียดทาน เช่น การลากวัตถุบนพื้น การใช้น้ำมันหล่อลื่นในเครื่องยนต์
4) ความรู้เรื่องแรงเสียดทานสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
ได้

4. สาระการเรียนรู้
เมื่อเราลากหรือดันวัตถุให้เคลื่อนที่ไปบนพื้นจะพบว่า มีแรงชนิดหนึ่งคอย
ต้านวัตถุไว้ไม่ให้เคลื่อนที่ เมื่อไร ก็ตามที่วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่บนอีก
วัตถุหนึ่ง แรงที่คอยต้านการเคลื่อนที่จะพยายามหยุดการเคลื่อนที่นน
ั ้ หรือใน
กรณีของวัตถุที่ถูกแรงผลักหรือดันให้เคลื่อนที่ไปตามพื้นระดับ จะพบว่า เมื่อ
ไม่มีแรงผลักหรือแรงดันต่อไป วัตถุจะเคลื่อนที่ช้าลง แสดงว่ามีแรงคอยต้าน
การเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งเกิดขึน
้ ระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ แรงต้านการ
เคลื่อนที่ระหว่างวัตถุ 2 ชิน
้ ที่สัมผัสกันนีเ้ รียกว่า แรงเสียดทาน (Friction)
แรงเสียดทานเกิดขึน
้ ได้ทงั ้ วัตถุที่ไม่เคลื่อนที่ (อยู่นิ่ง) และวัตถุที่เคลื่อนที่
และมีทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ

จากภาพ ขณะออกแรงดึงวัตถุ (F) ให้เคลื่อนที่ แรงเสียดทานที่พ้น


ื ต้าน
การเคลื่อนที่ของวัตถุ (f) แรงที่โลกดึงวัตถุ (W) และแรงที่พ้น
ื ดันวัตถุ (N)
ประเภทของแรงเสียดทาน
1) แรงเสียดทานสถิต (Static friction = fs) คือ แรงเสียดทานที่เกิดขึน

ในขณะที่มีแรงมากระทำต่อวัตถุแล้ววัตถุยังอยู่นิ่งกับที่ ซึง่ จะมีค่าตัง้ แต่ศูนย์
จนถึงค่ามากที่สุด ซึง่ ค่าที่มากที่สุดจะเกิดขณะที่วัตถุเริ่มจะเคลื่อนที่ เรียกว่า
แรงเสียดทานสถิตพอดีเคลื่อนที่ หรือ แรงเสียดทาน ณ ขีดจำกัด
2) แรงเสียดทานจลน์ (Kinetic friction = fk) คือ แรงเสียดทานที่เกิด
ขึน
้ ในขณะที่มีแรงมากระทำต่อวัตถุแล้ววัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ โดย
แรงเสียดทานจลน์จะมีค่าน้อยกว่าแรงเสียดทานสถิต

ภาพแสดง : แรงเสียดทานสถิต ภาพแสดง :


แรงเสียดทานจลน์

ปั จจัยที่มีผลต่อแรงเสียดทาน
แรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสจะมีค่ามากหรือน้อยขึน
้ อยู่กับ ปั จจัยดังนี ้
(1) แรงกดตัง้ ฉากกับผิวสัมผัส ถ้าแรงกดตัวฉากกับผิวสัมผัสมากจะเกิด
แรงเสียดทานมาก ถ้าแรงกดตัง้ ฉากกับผิวสัมผัสน้อยจะเกิดแรงเสียดทาน
น้อย ดังรูป
(2) ลักษณะของผิวสัมผัส ถ้าผิวสัมผัสหยาบ ขรุขระจะเกิดแรงเสียดทาน
มาก ส่วนผิวสัมผัสเรียบและลื่นจะเกิดแรงเสียดทานน้อย ดังภาพตัวอย่างต่อ
ไปนี ้
ภาพแสดง : การเกิดแรงเสียดทานน้อย ภาพแสดง : การเกิดแรงเสียดทานมาก
(ที่มา:
http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432210100/16.htm.)

(3) ชนิดของผิวสัมผัส เช่น คอนกรีตกับเหล็ก เหล็กกับไม้ จะเห็นว่าผิว


สัมผัสแต่ละคู่ มีความหยาบ ขรุขระ หรือเรียบลื่น เป็ นมันแตกต่างกัน ทำให้
เกิดแรงเสียดทานไม่เท่ากัน ดังภาพตัวอย่างต่อไปนี ้

(ที่มา:
http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432210100/16.
htm.)
การลดและการเพิ่มแรงเสียดทาน
แรงเสียดทานจะเกิดขึน
้ ทุกครัง้ ที่วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่บนอีกวัตถุหนึ่ง แรง
เสียดทานจะพยายามหยุด การเคลื่อนที่หรือต้านทานการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ ทำให้ต้องสิน
้ เปลืองพลังงานมากในการทำให้วัตถุเคลื่อนที่
แรงเสียดทาน มักจะทำให้เรารำคาญ เพราะแรงเสียดทานจะเปลี่ยน
พลังงานจลน์ไปเป็ นพลังงานความร้อนและสูญเสียพลังงานนัน
้ ไป
(1) การลดแรงเสียดทาน สามารถทำได้หลายวิธี อาทิเช่น
(1.1) การใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ล้อ บุช และตลับลูกปื น
- ล้อ เป็ นสิ่งจำเป็ นมากสำหรับยานพาหนะ เพราะสามารถลดแรง
เสียดทานระหว่างผิวสัมผัส
- บุช เป็ นโลหะทรงกระบอกกลวง ผิวเรียบ ลื่นทัง้ สองด้าน
- ตลับลูกปื น ลักษณะเป็ นลูกเหล็กกลมอยู่ในเบ้าที่รองรับ ผิวเรียบ
ลื่นและกลิง้ ได้ ทำให้วง
แหวนทัง้ สองหมุนได้รอบตัว เครื่องจักรแทบทุกชนิดจะต้องมีตลับ
ลูกปื นใส่ในแกนหมุน
ของเครื่องยนต์
(1.2) การใช้น้ำมันหล่อลื่นบริเวณข้อต่อ จุดหมุน และผิวหน้าสัมผัส
ต่าง ๆ
(1.3) การลดแรงกดระหว่างผิวสัมผัส เช่น ลดจำนวนสิ่งของที่
บรรทุกให้น้อยลง ทำให้การลากวัตถุให้
เคลื่อนที่ด้วยแรงดึงน้อยลง
(1.4) การทำให้ผิวสัมผัสเรียบลื่น เช่น การใช้ถุงพลาสติกหุ้มถุง
ทราย พื้นถนนที่เปี ยกจะลื่นกว่า
พื้นถนนที่แห้ง
(2) การเพิ่มแรงเสียดทาน แม้ว่าแรงเสียดทานจะทำให้สน
ิ ้ เปลืองพลังงาน
มากในการทำให้วัตถุเคลื่อนที่
แต่ในบางกรณีแรงเสียดทานก็มีประโยชน์ต่อการเคลื่อนที่ของยานพาหนะ
เช่น
(2.1) ขณะที่รถแล่น จะต้องมีแรงเสียดทานระหว่างล้อกับถนน เพื่อ
ทำให้รถเคลื่อนที่ไปได้
ตามทิศทางที่ต้องการ
(2.2) ยางรถยนต์จำเป็ นต้องมีดอกยางเป็ นลวดลาย เพื่อเพิ่มแรง
เสียดทานระหว่างล้อกับถนน
(2.3) ขณะหยุดรถหรือเบรคให้รถหยุดหรือแล่นช้าลง จะต้องเกิด
แรงเสียดทาน เพื่อทำให้ล้อ
หยุดหมุนหรือหมุนช้าลง
(2.4) การเดิน การวิ่ง ต้องการแรงเสียดทานมาช่วยในการเคลื่อนที่
ดังนัน
้ จึงควรใส่รองเท้าพื้นยาง
ไม่ควรใส่รองเท้าพื้นไม้ เพราะรองเท้าพื้นยางให้แรงเสียดทานกับ
พื้นทางเดินได้มากกว่าพื้น รองเท้าที่เป็ นไม้ ทำให้เดินได้ง่ายกว่า
และเร็วกว่าโดยไม่ล่ น
ื ไถล นอกจากนีพ
้ ้น
ื รองเท้าต้อง
มีลวดลาย เพื่อเพิ่มแรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัส
ดังนัน
้ เพื่อให้การเคลื่อนที่ของยานพาหนะมีประสิทธิภาพและความ
ปลอดภัยอุปกรณ์หรือส่วนประกอบของยานพาหนะบางส่วนจึงต้องมีการ
ลดแรงเสียดทานและบางส่วนต้องมีการเพิ่มแรงเสียดทาน
ข้อดีและข้อเสียของแรงเสียดทาน
ข้อดีของแรงเสียดทาน ช่วยให้ระหว่างรองเท้ากับพื้นทำให้เราเดินหรือวิ่ง
ไปได้ ถ้าแรงเสียดทานน้อยมากจะทาให้ล่ น
ื หกล้มได้ง่าย ดังนัน
้ พื้นรองเท้าจึง
ต้องมีลวดลาย เพื่อให้เกิดแรงเสียดทาน การเคลื่อนที่ของยานพาหนะ เช่น
ในขณะที่รถแล่นนัน
้ ล้อกับถนนจะต้องมีแรงเสียดทานเพื่อทำให้รถเคลื่อนที่
ไปได้ตามทิศที่ต้องการ ถ้าไม่มีแรงเสียดทานรถจะแล่นไปไม่ได้ ล้อรถจะ
หมุนอยู่กับที่ และถ้ามีแรงเสียดทานน้อยจะทำให้รถเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย เช่น
เวลาฝนตกถนนลื่น รถที่วิ่งด้วยความเร็วสูงจะหยุดได้ยาก ยางรถยนต์จึงต้อง
มีดอกยางเป็ นลวดลายเพื่อเพิ่มแรงเสียดทาน
ข้อเสียของแรงเสียดทาน ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ช้า จึงต้องใช้แรงมากขึน
้ เพื่อ
เอาชนะแรงเสียดทานทำให้สน
ิ ้ เปลืองพลังงานมาก

5. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
5.1สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
√ ความสามารถในการสื่อสาร √ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
√ ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ความสามารถในการแก้ปัญหา
5.2คุณลักษณะอันพึงประสงค์/ค่านิยมหลัก 12 ประการ (ค่านิยมต่าง คือ
ข้อ 9-12)
1. รักษาติ ศาสน์ กษัตริย์ 7. มีจิตสาธารณะ (คำนึงถึงประโยชน์
ส่วนรวม)
√ 2. ชื่อสัตย์สุจริต (เสียสละอดทน) 8. มีความกตัญญู ต่อพ่อแม่ ครู
อาจารย์
√ 3. มีวินัย (เคารพกฎหมาย) 9. มีศล
ี ธรรม รักษาความสัตย์
√ 4. ใฝ่ เรียนรู้ 10. รักความเป็ นไทย (รักษา
ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย)
5. อยู่อย่างพอเพียง 11. เข้าใจ เรียนรู้ประชาธิปไตยที่ถูกต้อง
√ 6. มุ่งมั่นในการทำงาน มีสติ 12. มีความเข้มแข็ง ทัง้ กายและใจ
5.3การบูรณาการหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกัน
เงื่อนไขความรู้
เงื่อนไขคุณธรรม
5.4การบูรณาการอาเชียนศึกษาเชื่อมโยงท้องถิ่น
1.ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน(Knowing ASEAN)
2.การเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์และความหลากหลาย(Valuing Identity
and Diversity)
3.การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น(Connecting Global Local)
4.การส่งเสริมความเสนอภาคและความยุติธรรม(Promoting Equity and
Justice)
5.การทำงานร่วมกันเพื่ออนาคตที่ยังยืน(Working Together For a
Sustainable Future)
5.5 การบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ตามแนวทางวิถีพุทธ
ศีล หรือพฤติกรรมหรือวินัยในการดำเนินชีวิตที่ดีงามสำหรับตนและสังคม
สมาธิ หรือการพัฒนาจิตใจที่มีคุณภาพ มีสมรรถภาพ มีจิตใจที่เข็มแข็งและ
สงบสุข
ปั ญญา มีความรู้ที่ถูกต้องมีศักยภาพในการคิด การแก้ปัญหาที่เหมาะสม
5.6ทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (3R 8C)
1. ทักษะในสาระวิชาหลัก (3R)
1. reading (อ่าน) 2. (W) Riting (เขียน) 3. (A)
Rithemetics (คณิตฯ)
2. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (8C)
Critical Thinking and Problem Solving (การคิดวิจารณญาณ และแก้
ปั ญหา)
Creativity and Innovation (การสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
Cross-cultural Understanding (ความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม)
Collaboration, Teamwork and Leadership (การทำงานเป็ นทีม
ภาวะผู้นำ)
Communications, Information, and Media Literacy (การสื่อสาร
สารสนเทศ)
Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และ
เทคโนโลยี)
Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และการเรียนรู้)
Compassion (คุณธรรม เมตตา กรุณา ระเบียบวินัย)
5.7บูรณาการกิจกรรมสะเต็มศึกษา
S (Science) : ความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
T (Technology) : ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี
E (Engineering) : การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางวิศวกรรม
M (Mathematics) : การคิดคำนวณ
6. ชิน
้ งานหรือภาระงาน
1) ใบงานเรื่องแรงเสียดทาน

7. กิจกรรมการเรียนรู้
ใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry
Cycles: 5Es) (3 ชั่วโมง; 180 นาที)
ขัน
้ ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engagement) (20 นาที)
1) ครูนำเข้าสู่เรื่องแรงเสียดทาน โดยครูอาจสาธิตการเคลื่อนที่ของแผ่น
ซีดีที่ติดหลอดดูดขนาดใหญ่ไว้ตรงกลางแผ่น โดยเป่ าลูกโป่ งให้มีขนาดใหญ่
หมุนปากลูกโป่ งให้เป็ นเกลียว เพื่อไม่ให้อากาศออกจากลูกโป่ ง แล้วสวมปาก
ลูกโป่ งเข้ากับปลายหลอดดูด จากนัน
้ ปล่อยมือแล้วออกแรงกระทำให้แผ่น
ซีดีเคลื่อนที่จะพบว่า แผ่นซีดีเคลื่อนที่ได้เร็วขณะที่มีอากาศออกจากปาก
ลูกโป่ ง จากนัน
้ เมื่อแผ่นซีดีหยุดเคลื่อนที่ให้ออกแรงกระทาต่อแผ่นซีดีให้
แผ่นซีดเี คลื่อนที่อีกครัง้ พบว่า แผ่นซีดีจะเคลื่อนที่ได้ช้ากว่าและหยุดอย่าง
้ (นักเ
รวดเร็วครูตงั ้ คำถามให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า ทำไมจึงเป็ นเช่นนัน
รียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง)
2) ให้นักเรียนสังเกตภาพนาเรื่อง อ่านเนื้อหานาเรื่องและคำสำคัญ และ
ร่วมกันอภิปรายโดยอาจใช้คำถามดังนี ้
- การที่ตัวรถไฟ Maglev ลอยอยู่เหนือรางรถไฟจะทาให้รถไฟวิ่งเร็วขึน

หรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง)
- เมื่อเปรียบเทียบแผ่นซีดีขณะที่มีอากาศออกจากปากลูกโป่ งกับรถไฟ
ความเร็วสูงมีส่วนที่เหมือนกันอย่างไร (แผ่นซีดีลอยอยู่เหนือพื้นเช่นเดียวกับ
รถไฟความเร็วสูง ทาให้เคลื่อนที่ได้เร็ว)
3) ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาเกี่ยวกับสถานการณ์การผลักวัตถุหนัก ๆ และ
เปรียบเทียบแรงที่ใช้ในการผลักขณะวัตถุอยู่นิ่งกับวัตถุเคลื่อนที่ โดยครูอาจ
ยกสถานการณ์การเข็นรถยนต์ที่อยู่นิ่งให้เคลื่อนที่ จากนัน
้ ร่วมกันอภิปราย
ว่า ทาไมเมื่อวัตถุเคลื่อนที่จึงออกแรงน้อยลง โดยครูยังไม่ต้องเฉลย
4) นำเข้าสู่กิจกรรมที่ 4.5 แรงเสียดทานเมื่อวัตถุไม่เคลื่อนที่และเคลื่อนที่
แตกต่างกันอย่างไร โดยครูอาจใช้คำถามเพื่อให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า
ถ้าวางวัตถุไปบนพื้นราบ ขณะนัน
้ จะมีแรงเสียดทานหรือไม่ อย่างไร
ขัน
้ ที่ 2 ขัน
้ สำรวจและค้นหา (Exploration) (40 นาที)
5) ให้นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม (หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
หน้า 184) จุดประสงค์ และวิธีดาเนินกิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจ
การอ่าน โดยใช้คำถามดังต่อไปนี ้
- กิจกรรมนีเ้ กี่ยวกับเรื่องอะไร (แรงเสียดทาน เมื่อวัตถุไม่เคลื่อนที่และ
วัตถุเคลื่อนที่)
้ ีจุดประสงค์อะไร (สังเกต อธิบายและเปรียบเทียบแรงเสียด
- กิจกรรมนีม
ทาน เมื่อวัตถุไม่เคลื่อนที่ และเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ และเขียน
แผนภาพของแรงเสียดทานที่กระทำต่อวัตถุเมื่อวัตถุไม่เคลื่อนที่ และเมื่อ
วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่)
ั ้ ตอนโดยสรุปอย่างไร (ใช้เครื่องดึงสปริงดึงแผ่น
- วิธีดำเนินกิจกรรมมีขน
ไม้ที่มีถุงทราย 3 ถุงวางอยู่ด้านบน โดยเพิ่มแรงที่ดึงเครื่องชั่งสปริงครัง้ ละ 1
นิวตัน สังเกตการเคลื่อนที่ของแผ่นไม้จนแผ่นไม้เริ่มเคลื่อนที่ จากนัน
้ ดึงแผ่น
ไม้ ให้เริ่มเคลื่อนที่ บันทึกผล และดึงแผ่นไม้ให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่
บันทึกค่าของแรงที่อ่านได้ เขียนแผนภาพแสดงแรงที่ใช้ดึงและแรงเสียด
ทานเมื่อแผ่นไม้ยังไม่เคลื่อนที่ เริ่มเคลื่อนที่ และเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ )
- นักเรียนต้องสังเกตและรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง (ค่าของแรงจากเครื่อง
ชั่งสปริงเมื่อแผ่นไม้ยังไม่เคลื่อนที่เริ่มเคลื่อนที่ และเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว
คงที่)
6) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือทำกิจกรรม โดยครูเดินสังเกตนักเรียนทุก
กลุ่มเพื่อให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดึงเครื่องชั่งสปริงว่าต้องดึงเครื่องชั่งสปริง
ขนานกับพื้น และแนะนำวิธีอ่านค่าของแรงจากเครื่องชั่งสปริงเมื่อวัตถุเริ่ม
เคลื่อนที่ โดยต้องเพิ่มแรงที่ดึงเครื่องชั่งสปริงทีละน้อย และเมื่อแผ่นไม้ขยับ
ค่าของแรงจะลดลงเล็กน้อย ให้บันทึกค่าสูงสุดที่อ่านได้ ในกรณีที่นักเรียน
อ่านค่าของแรงไม่ทัน อาจใช้วิธีถ่ายภาพหรือถ่ายคลิปวิดีทัศน์จากโทรศัพท์
มือถือได้ และสำหรับกรณีการอ่านค่าของแรงจากเครื่องชั่งสปริงเมื่อดึงให้
แผ่นไม้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ควรให้นักเรียนคนที่ดึงเครื่องชั่งสปริงและ
คนที่อ่านค่าของแรงเป็ นคนละคนกัน เพื่อให้แผ่นไม้เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว
คงที่จริง ๆ และค่าที่อ่านได้เป็ นค่าที่แม่นยา นอกจากนีค
้ รูควรรวบรวมข้อมูล
จากการทำกิจกรรมของนักเรียน เพื่อใช้เป็ นข้อมูลประกอบการอภิปรายหลัง
การทำกิจกรรม
ขัน
้ ที่ 3 ขัน
้ อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) (40 นาที)
7) สุ่มนักเรียนนำเสนอผลการทำกิจกรรม ตอบคำถามท้ายกิจกรรม และ
ร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้คำถามท้ายกิจกรรม เพื่อให้ได้ข้อสรุปจาก
กิจกรรมว่า เมื่อมีแรงกระทำต่อแผ่นไม้เพื่อให้แผ่นไม้เคลื่อนที่จะมีแรงต้าน
การเคลื่อนที่นน
ั ้ ๆ เมื่อเพิ่มแรงให้มากขึน
้ เรื่อย ๆ โดยแผ่นไม้ยังไม่เคลื่อนที่
แรงต้านก็จะเพิ่มมากขึน
้ เช่นกัน โดยแรงต้านจะมีขนาดเท่ากับแรงที่กระทา
แต่มีทิศตรงกันข้าม และเมื่อแรงกระทำมากขึน
้ จนถึงค่าหนึ่ง แผ่นไม้จะเริ่ม
เคลื่อนที่แต่เมื่อดึงต่อไปให้แผ่นไม้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ แรงที่ดึงแผ่น
ไม้ก็จะมีค่าลดลงเล็กน้อย
8) ให้นักเรียนเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับแรงเสียดทาน โดยอ่านเนื้อหาใน
หนังสือเรียนหน้า 185-186 ตอบคำถามระหว่างเรียน และร่วมกันอภิปราย
เกี่ยวกับแรงเสียดทานสถิตและแรงเสียดทานจลน์ เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า แรง
เสียดทานสถิตเป็ นแรงเสียดทานที่เกิดขึน
้ เมื่อวัตถุไม่เคลื่อนที่หรือวัตถุเริ่ม
เคลื่อนที่ โดยแรงเสียดทานสถิตมีค่าเปลี่ยนแปลงได้ แต่จะมีค่าสูงสุดหนึ่งค่า
เรียกว่า ค่าแรงเสียดทานสถิตสูงสุด ส่วนแรงเสียดทานจลน์เป็ นแรงเสียด
ทานที่เกิดขึน
้ ขณะที่วัตถุเคลื่อนที่ โดยแรงเสียดทานจลน์จะมีค่าคงที่ค่าหนึ่ง
ๆ เมื่อมีแรงกระทำต่อวัตถุแล้ววัตถุยังไม่เคลื่อนที่ หรือเริ่มเคลื่อนที่ หรือ
เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ แรงเสียดทานจะมีขนาดเท่ากับแรงที่มากระทำ
9) ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า เมื่อ
มีแรงกระทำ เพื่อให้วัตถุเคลื่อนที่จะมีแรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของ
วัตถุในทิศทางตรงกันข้าม เพื่อต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุนน
ั้
- แรงเสียดทานสถิต เป็ นแรงเสียดทานที่เกิดขึน
้ เมื่อวัตถุอยู่นิ่ง มีได้หลาย
ค่าแต่มค
ี ่าสูงสุด
ค่าหนึง่ เรียกว่าแรงเสียดทานสถิตสูงสุด
- แรงเสียดทานจลน์ เป็ นแรงเสียดทานที่เกิดขึน
้ เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ โดยแรง
เสียดทานจลน์จะ
มีค่าน้อยกว่าแรงเสียดทานสถิตสูงสุด
- เมื่อมีแรงมากระทาต่อวัตถุให้วัตถุเคลื่อนที่ไปบนพื้นผิวแต่วัตถุยังคงอยู่
นิ่ง หรือเริ่มเคลื่อนที่ หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ในแต่ละกรณีแรงเสียด
ทานจะมีขนาดเท่ากับแรงที่มากระทานัน
้ แต่มีทิศทางตรงข้าม
ขัน
้ ที่ 4 ขัน
้ ขยายความรู้ (Elaboration) (50 นาที)
10) ให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย โดยอาจใช้คำถามว่า แรงเสียดทานที่เกิด
ขึน
้ จะมีค่ามากหรือน้อยขึน
้ อยู่กับปั จจัยใด ซึ่งครูยังไม่เฉลยคำตอบ เพื่อนา
เข้าสู่กิจกรรมที่ 4.6 ปั จจัยใดบ้างที่มีผลต่อขนาดของแรงเสียดทาน
11) ให้นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดาเนินกิจกรรม และ
ตรวจสอบความเข้าใจการอ่าน โดยใช้คำถามดังต่อไปนี ้
- กิจกรรมนีเ้ กี่ยวข้องกับเรื่องอะไร (ปั จจัยที่มีผลต่อขนาดของแรงเสียด
ทาน)
้ ีจุดประสงค์อะไร (ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีที่
- กิจกรรมนีม
เหมาะสมเพื่อหาปั จจัยที่มีผลต่อขนาดของแรงเสียดทาน)
ั ้ ตอนโดยสรุปอย่างไร (ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ
- วิธีดาเนินกิจกรรมมีขน
ปั จจัยที่มีผลต่อขนาดของแรงเสียดทาน จากนัน
้ เลือกศึกษาปั จจัยใดปั จจัย
หนึ่ง ตัง้ สมมติฐาน ระบุตัวแปร ออกแบบการทดลอง และทดลอง เพื่อตรวจ
สอบสมมติฐานแล้วนาเสนอพร้อมอภิปรายผลการทดลองร่วมกัน)
- นักเรียนต้องสังเกตและรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง (ค่าของแรงจากเครื่อง
ชั่งสปริงเมื่อวัตถุยังไม่เคลื่อนที่เริ่มเคลื่อนที่ และเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่
ลักษณะพื้นผิวคูส
่ ัมผัส และแรงที่กดพื้นผิว)
12) ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับปั จจัยที่มีผลต่อขนาดของแรง
เสียดทาน จากนัน
้ ให้แต่ละกลุ่มเลือกที่จะศึกษาปั จจัยดังกล่าว 1 ปั จจัย
พร้อมตัง้ สมมติฐาน ระบุตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม รวมทัง้
ออกแบบการทดลองและดาเนินการทดลอง โดยครูเป็ นผู้ให้คำแนะนาถ้า
นักเรียนมีข้อสงสัย นอกจากนีค
้ รูควรรวบรวมข้อมูล จากการทากิจกรรมของ
นักเรียน เพื่อใช้เป็ นข้อมูลประกอบการอภิปรายภายหลังการทำกิจกรรม
13) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม ตอบคำถามท้าย
กิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้คำถามท้ายกิจกรรมเป็ น
แนวทาง เพื่อให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรมว่า ขนาดของแรงเสียดทานจะมีค่า
มากหรือน้อยขึน
้ อยู่กับหลายปั จจัย เช่น ลักษณะพื้นผิวของคู่สัมผัส แรงที่กด
พื้นผิวหรือน้าหนักของวัตถุ ซึง่ บางปั จจัยอาจสรุปได้ยังไม่ถูกต้องสมบูรณ์นัก
แต่นักเรียนจะได้เรียนเมื่ออ่านเนื้อหาในเรื่องต่อไป
14) ให้นักเรียนเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะผิวของคู่สัมผัสที่มีผลต่อ
ขนาดของแรงเสียดทาน โดยอ่านเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้า 188 และตอบ
คำถามระหว่างเรียน จากนัน
้ ร่วมกันอภิปราย เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า ลักษณะ
ผิวของคูส
่ ัมผัสที่หยาบและขรุขระจะมีแรงเสียดทานมากกว่าผิวสัมผัสที่ล่ น

และเรียบ
ขัน
้ ที่ 5 ขัน
้ ประเมิน (Evaluation) (30 นาที)
15) ให้นักเรียนเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับขนาดของแรงเสียดทานขึน
้ อยู่กับ
น้ำหนักของวัตถุหรือไม่ โดยอ่านเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้า 189-190 และ
ร่วมกันอภิปรายจากตัวอย่างกิจกรรมการดึงแม่เหล็กที่วางอยู่บนตาชั่งให้เริ่ม
เคลื่อนที่ เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า ปั จจัยอีกหนึ่งปั จจัยที่มีผลต่อขนาดของแรง
เสียดทาน คือ แรงที่พ้น
ื ผิวกระทาต่อวัตถุในแนวตัง้ ฉาก โดยแรงนีอ
้ าจมี
ขนาดเท่าหรือไม่เท่ากับน้ำหนักของวัตถุก็ได้ และเพื่อให้นักเรียนได้มี
ประสบการณ์จริง ครูอาจจัดอุปกรณ์ต่าง ๆ ตามหนังสือเรียน ได้แก่ แม่
เหล็กขัว้ ข้าง ตาชั่งพลาสติก เชือก และเครื่องชั่งสปริง เพื่อให้นก
ั เรียนได้
ลงมือปฏิบัติจริง จากนัน
้ ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อตอบคำถามระหว่าง
เรียน
16) ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับปั จจัยที่มีผลต่อขนาดของแรง
เสียดทาน เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า ปั จจัยที่มีผลต่อขนาดของแรงเสียดทาน คือ
ลักษณะผิวสัมผัสและแรงที่พ้น
ื ผิวกระทำต่อวัตถุในแนวตัง้ ฉาก จากนัน
้ ให้
นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของรถไฟฟ้ าความเร็วสูงใน
เนื้อหาของภาพนำเรื่อง เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า การที่ตัวรถไฟลอยอยู่เหนือราง
รถไฟเป็ นการลดแรงที่รางรถไฟกระทาต่อตัวรถไฟในแนวตัง้ ฉาก ซึ่งจะทำให้
แรงเสียดทานลดลงจึงทำให้รถไฟฟ้ าเคลื่อนที่ได้เร็วขึน

17) ให้นักเรียนเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับแรงเสียดทานในชีวิตประจำวัน โดย
อ่านเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้า 191-194 และตอบคำถามท้ายกิจกรรม
และร่วมกันอภิปราย เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า กิจกรรมบางอย่างต้องเพิ่มแรง
เสียดทาน และกิจกรรมบางอย่างต้องลดแรงเสียดทาน

8. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1) ใบกิจกรรมหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
2 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ หน้า 184 ใบ
กิจกรรมหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เล่ม
1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ หน้า 187
2) เครื่องชั่งสปริง, ถุงทรายขนาด 500 g, แผ่นไม้, เครื่องชั่งสปริง, ถุง
พลาสติก, กระดาษทราย, แผ่นโฟม, แผ่นกระดาษลูกฟูก, แผ่นพลาสติก
ลูกฟูก

9. การวัดและประเมินผล
ตัวชีว
้ ัด/ผล วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์ที่ใช้ในการ
การเรียนรู้ ประเมิน
1. เปรียบเทียบ - ตรวจความถูก - ผลการทำ ได้ไม่น้อยกว่า 2
แรงเสียดทาน ต้องของ กิจกรรม และ คะแนน
สถิตและแรง ผลการทำ คำถามท้าย ระดับคุณภาพดี
เสียดทานจลน์ กิจกรรมที่ 4.5 กิจกรรมที่ 4.5 ถือว่าผ่าน
ได้ แรงเสียดทาน แรงเสียดทานเมื่อ การประเมินด้าน
(ด้านความรู้: เมื่อวัตถุไม่ วัตถุไม่เคลื่อนที่ ความรู้
K) เคลื่อนที่และ และเคลื่อนที่แตก
เคลื่อนที่แตก ต่างกันอย่างไร
ต่างกันอย่างไร จำนวน 6 ข้อ
2. นักเรียนมี - ตรวจการ - แบบประเมินการ ได้ไม่น้อยกว่า 2
ทักษะการ ออกแบบ ออกแบบตาราง คะแนน
ลงความเห็น ตารางบันทึกผล บันทึกผล และ ระดับคุณภาพดี
จากข้อมูล และ กิจกรรมที่ 4.6 ถือว่าผ่าน
อธิบายปั จจัยที่ การนำเสนอ ปั จจัยใดบ้างที่มีผล การประเมินด้าน
มีผลต่อ ข้อมูลเกี่ยวกับ ต่อขนาดของแรง กระบวนการ
ขนาดของแรง ปั จจัยที่มีผลต่อ เสียดทาน
เสียดทานและ ความดันของ
การเพิ่มและลด ของเหลวด้วยรูป
แรงเสียดทาน แบบหรือวิธีการ
ในกิจกรรมต่าง ต่าง ๆ
ๆ ทีพ
่ บในชีวิต
ประจำวันได้
อย่างมีเหตุผล
(ด้าน
กระบวนการ:P
)
3. ตระหนักถึง - สังเกตการใช้ - แบบสังเกตการ ได้ไม่น้อยกว่า 2
ความ งานอุปกรณ์การ ใช้งานอุปกรณ์การ คะแนน
สำคัญของการ ทดลองใน ทดลองในกิจกรรม ระดับคุณภาพดี
ใช้อุปกรณ์การ กิจกรรมของ ของนักเรียน ถือว่าผ่าน
ทำกิจกรรมได้ นักเรียนแต่ละ การประเมินด้าน
(ด้านเจตคติ: กลุ่ม เจตคติ
A)
9.1เกณฑ์การประเมินผลงานนักเรียน
เกณฑ์การประเมิน
ค่าน้ำ
ประเด็นการ
หนัก แนวทางการให้คะแนน
ประเมิน
คะแนน

การให้คะแนน 3 บันทึกผลการทำกิจกรรมได้ถูกต้อง มีตาราง


ความถูกต้องของ บันทึกผลการทำกิจกรรม สรุปผลการทำ
ผลการทำ กิจกรรม และตอบคำถามท้ายกิจกรรมถูกต้อง
กิจกรรมที่ 4.5 ครบทุกข้อ
แรงเสียดทานเมื่อ 2 บันทึกผลการทำกิจกรรมได้ถูกต้อง มีตาราง
วัตถุไม่เคลื่อนที่ บันทึกผลการทำกิจกรรม สรุปผลการทำ
และเคลื่อนที่แตก กิจกรรม และตอบคำถามท้ายกิจกรรมถูกต้อง
ต่างกันอย่างไร บางส่วน
1 บันทึกผลการทำกิจกรรมได้ มีตารางบันทึกผล
การทำกิจกรรม แต่ไม่มีสรุปผลการทำกิจกรรม
และตอบคำถามท้ายกิจกรรมถูกต้องบางส่วน
การให้คะแนน 3 ออกแบบตารางบันทึกผลการทดลองได้ดี มี
การออกแบบ การนำเสนอข้อมูลเข้าใจง่าย มีลำดับขัน
้ ตอน
ตารางบันทึกผล ระบุช่ อ
ื ตารางบันทึกผลการทดลอง หัวเรื่อง
การทดลอง ตารางบันทึกผลและบันทึกผลการทดลองได้
การบันทึกผล ถูกต้อง ตอบคำถามท้ายกิจกรรมครบถ้วน
2 ออกแบบตารางบันทึกผลการทดลองได้ มี
การนำเสนอข้อมูลเข้าใจง่าย มีลำดับขัน
้ ตอน
ระบุช่ อ
ื ตารางบันทึกผลการทดลอง หัวเรื่อง
ตารางบันทึกผลแต่บันทึกผลการทดลองและ
ตอบคำถามท้ายกิจกรรมไม่ถูกต้อง
1 ออกแบบตารางบันทึกผลการทดลองได้ แต่
การนำเสนอข้อมูลเข้าใจยากไม่มีลำดับขัน
้ ตอน
ไม่ระบุช่ อ
ื ตารางบันทึกผลการทดลอง ไม่มีหัว
เรื่องตารางบันทึกผล และบันทึกผลการ
ทดลองและตอบคำถามท้ายกิจกรรมไม่ถูกต้อง
การให้คะแนน 3 ใช้งานอุปกรณ์การทดลองในกิจกรรมได้ถูกวิธี
การใช้งาน หยิบ เคลื่อนย้ายอุปกรณ์อย่างระมัดระวัง ไม่
อุปกรณ์ หยอกล้อหรือแกล้งเพื่อนขณะกำลังใช้งาน
การทดลองใน อุปกรณ์ และหลังการใช้งานอุปกรณ์มีการเก็บ
กิจกรรม รักษาอย่างถูกวิธี
2 ใช้งานอุปกรณ์การทดลองในกิจกรรมได้ถูกวิธี
หยิบ เคลื่อนย้ายอุปกรณ์อย่างระมัดระวัง ไม่
หยอกล้อหรือแกล้งเพื่อนขณะกำลังใช้งาน
อุปกรณ์ แต่หลังการใช้งานอุปกรณ์ไม่มีการ
เก็บรักษาอย่างถูกวิธี หรือไม่เก็บอุปกรณ์เข้าตู้
เก็บอุปกรณ์ตามประเภทของอุปกรณ์
1 ใช้งานอุปกรณ์การทดลองในกิจกรรมได้ แต่
ขณะหยิบ เคลื่อนย้ายอุปกรณ์หรือกำลังใช้งาน
อุปกรณ์ จะหยอกล้อหรือแกล้งเพื่อน อาจ
ทำให้อุปกรณ์เสียหายได้ และหลังการใช้งาน
อุปกรณ์ไม่มีการเก็บรักษาอย่างถูกวิธี

9.2ระดับคุณภาพ (โดยนำคะแนนรวมทุกด้าน K P A แล้วหาค่าเฉลี่ย)


คะแนนรวมเฉลี่ย 3.00 หมายถึง ดีมาก
คะแนนรวมเฉลี่ย 2.00 - 2.99 หมายถึง ดี
คะแนนรวมเฉลี่ย 0.01 - 1.99 หมายถึง พอใช้
ดังนัน
้ นักเรียนต้องได้คะแนนเฉลี่ยทุกประเด็นการประเมิน ไม่ต่ำกว่า 2.00
คะแนน แสดงระดับคุณภาพดี ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมินในแผนการจัดการ
เรียนที่ 21

10. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………

บันทึกผลหลังการสอน
หน่วย
ที่..........เรื่อง........................................................จำนวน...................................ชั่
วโมง

1. สรุปผลการเรียนการสอน
1.1 นักเรียนจำนวน...........คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้...................คน คิดเป็ นร้อย
ละ....................................................
ไม่ผ่านจุดประสงค์...............................คน คิดเป็ นร้อย
ละ....................................................
-นักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์ (ถ้ามี ระบุรายชื่อ) เพื่อแก้ไขและพัฒนา
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
-นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ หรือสามารถส่งเสริมความเป็ นเลิศได้ (ถ้ามี
ระบุรายชื่อ)
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
1.2 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K)
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการจัดการเรียนรู้ ร้อย
ละ.......................................................................................................
1.3 นักเรียนมีความรู้เกิดทักษะ (P)
นักเรียนมีความรู้และเกิดทักษะกระบวนการ การจัดการเรียนรู้ ร้อย
ละ............................................................................
1.4 นักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรมจริยธรรม (A)
นักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม ร้อย
ละ........................................................................................................

2. ปั ญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………..

3. ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.................................................................
(นายณัฐวุฒิ นักรำ)
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย

ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ผลจากการจัดการเรียนรู้
ของ..............................................................................แล้วมีความคิดเห็นดังนี ้

1. เป็ นแผนการจัดการเรียนรู้ที่
ดีมาก
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
2. กระบวนการจัดการเรียนรู้ของแผนการจัดการเรียนรู้
มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เน้นผูเ้ รียนเป็ นสำคัญชัดเจน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญยังไม่ชัดเจน ควร
พัฒนาปรับปรุงต่อไป
มีการสอดแทรกจุดเน้น เพื่อพัฒนาผูเ้ รียน (ข้อ 6) ชัดเจน
ยังไม่มีการสอดแทรกจุดเน้นเพื่อพัฒนาผูเ้ รียน (ข้อ 6) ควรพัฒนา
ปรับปรุงต่อไป
3. เป็ นแผนการจัดการเรียนรู้ที่
สามารถนำไปใช้จัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้
ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้

ลงชื่อ.................................................................
(น
างกนกวรรณ ชุนถนอม)
หัวหน้ากลุ่มสาระ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ความคิดเห็นของผู้บริหาร
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………..

ลงชื่อ…………………………………………………………
(นาย
พงศกร พูลสมบัติ)
ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย

You might also like