Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 19

แผนการจัดการเรียนรู้

โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์
หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ธรรมชาติ
ของวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และ
จิตวิทยาศาสตร์ เวลา 3 ชั่วโมง
รหัสวิชา ว 22101 รายวิชา วิทยาศาสตร์ 3
ภาคเรียนที่ 1
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ปี การศึกษา 2566
1. มาตรฐาน/ตัวชีว
้ ัด
หน่วยการเรียนรู้นม
ี ้ ีจุดมุ่งหมายให้นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ
ของวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ เพื่อตระหนักถึงลักษณะสำคัญของ
วิทยาศาสตร์และลักษณะนิสัยของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึกนึกคิด
ทางวิทยาศาสตร์

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

1) วิทยาศาสตร์มีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างจากศาสตร์ความรู้แขนง
อื่น ๆ ซึ่งเรียกว่า ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์

2) ในการมองปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติแบบวิทยาศาสตร์นน
ั ้ มี
ลักษณะแตกต่างจากศาสตร์อ่ น
ื ๆ เช่น ในมุมมองแบบวิทยาศาสตร์มองว่า
สิ่งต่าง ๆ สามารถทำความเข้าใจได้โดยอาศัยหลักฐานสนับสนุน การแปล
ผล และสรุปเป็ นองค์ความรู้ด้วยสติปัญญาของมนุษย์ แนวคิดทาง
วิทยาศาสตร์เปลี่ยนแปลงได้ เมื่อ มีหลักฐานเพิ่มเติมที่เชื่อถือได้และนำ
มาสร้างคำอธิบายใหม่
3) การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ก็มีลักษณะเฉพาะเช่นกัน
โดยเป็ นการรวบรวมข้อมูลหลักฐานเพื่อนามาสร้างคำอธิบายหรือตอบ
คำถามในสิ่งที่สงสัย โดยใช้กระบวนการหรือวิธีการต่าง ๆ ที่เป็ นระบบ แต่
ไม่ตายตัว

4) วิทยาศาสตร์เป็ นกิจกรรมของมนุษยชาติ มีหลายมิติทงั ้ ในระดับ


บุคคล สังคม หรือองค์กร แตกแขนงเป็ นสาขาต่าง ๆ แต่หลักการหรือคำ
อธิบายทางวิทยาศาสตร์ไม่มีขอบเขตแบ่งแยก

3. สาระการเรียนรู้

วิทยาศาสตร์มีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างจากศาสตร์แขนงอื่น ๆ โดย
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์จะให้ความสำคัญกับ การมองโลกในมุมมอง
แบบวิทยาศาสตร์ที่ว่า เราสามารถทำความเข้าใจปรากฏการณ์ต่าง ๆ ได้
โดยอาศัยกระบวนการหาหลักฐาน ลงความคิดเห็น ผสมผสานกับความคิด
สร้างสรรค์และจินตนาการ ในการสร้างแนวคิดและคำอธิบายทาง
วิทยาศาสตร์ที่มีความ น่าเชื่อถือ อย่างไรก็ตามองค์ความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ที่มีความคงทนก็อาจจะเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีหลักฐานเพิ่ม
เติมที่มีความ น่าเชื่อถือมากกว่า วิทยาศาสตร์จึงเป็ นวิถีทางแห่งการเรียนรู้
สิ่งรอบตัวอย่างที่ไม่มีที่สน
ิ ้ สุดของมนุษย์และไม่ใช่แนวคิดจากความ เชื่อฟั ง
ที่สืบต่อกันมาเท่านัน
้ อย่างไรก็ตามวิทยาศาสตร์ก็ไม่สามารถให้คำตอบที่
สมบูรณ์หรือตอบคำถามทุกคำถามได้ (AAAS, 1990; 1993; Lederman,
1992; McComas และ Olson, 1998; NGSS, 2013)การสืบเสาะ
หาความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็ นส่วนสำคัญอีกส่วนหนึ่งของธรรมชาติ
วิทยาศาสตร์ เป็ นกระบวนการที่มนุษย์ ใช้แสวงหาคำตอบ สร้างแนวคิด
และคำบรรยายเกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เรียกว่า ทฤษฎี (theory)
และอธิบาย ความสัมพันธ์หรือรูปแบบของสิ่งต่าง ๆ ในปรากฏการณ์ ที่
เรียกว่า กฎ (law) เพื่อใช้อธิบายหรือทำนายการเกิดปรากฏการณ์ใน
ธรรมชาติ เป็ นกระบวนการที่มีระบบแต่ไม่มีรูปแบบที่ตายตัวมักเริ่มต้น
จากคำถาม มีการเก็บข้อมูลหลักฐานด้วยวิธีการต่าง ๆ วิเคราะห์ข้อมูล
และสร้างคำอธิบายจากหลักฐานที่ได้ จากนัน
้ เชื่อมโยงคำอธิบายที่ค้นพบ
กับผู้อ่ น
ื และสื่อสารอย่างมีเหตุผล แม้ว่า วิทยาศาสตร์จะมีลักษณะเฉพาะ
ตัว แต่ก็ถือว่าเป็ นกิจการทางสังคมของมนุษยชาติที่ทุกคนสามารถทำได้
และมีส่วนร่วมได้ทงั ้ ในระดับบุคคล สังคม และองค์กร ความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์มีการจัดระบบและแตกแขนงเป็ นสาขาที่หลากหลายโดย
องค์กรต่าง ๆ และมีหลักจริยธรรมในการดำเนินการร่วมกัน (AAAS,
1990; 1993; NGSS, 2013) ลักษณะนิสัยของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับความ
รู้สึกนึกคิดทางวิทยาศาสตร์ เรียกว่า จิตวิทยาศาสตร์ซึ่งแสดงออกได้หลาย
แนวทาง เช่น วิเคราะห์และให้เหตุผลแต่ละข้อมูลก่อนการประเมินและ
ตัดสินใจ ไม่แสดงความคิดเห็นต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ก่อน ลงมือทำหรือได้
ข้อมูลเพียงพอ สืบเสาะและใช้หลักฐานสนับสนุนคำอธิบายทาง
วิทยาศาสตร์ รายงานหลักฐานเชิงประจักษ์อย่าง ครบถ้วน ไม่แอบอ้างผล
งานผู้อ่ น
ื ยอมรับความเห็นหรือแนวคิดที่มีประจักษ์พยานและเหตุผล
แม้ว่าความเห็นหรือแนวคิด ดังกล่าวจะแตกต่างจากตนเอง รวมทัง้ เห็น
คุณค่า ความสำคัญ และความสนใจต่อวิทยาศาสตร์

4. ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 ด้านความรู้ (K)
ยกตัวอย่างและอธิบายธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
4.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P)
ปฏิบัติตามขัน
้ ตอนการทำกิจกรรมได้
4.3 ด้านคุณลักษะพึงประสงค์ (A)
ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมร่วมกับผู้อ่ น
ื ได้
5. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
5.1 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
√ ความสามารถในการสื่อสาร : การสนทนา การอภิปรายกลุ่ม
การนำเสนอผลงาน
√ ความสามารถในการคิด : การสร้าง mind mapping
√ ความสามารถในการแก้ปัญหา : การนำทักษะจิตวิทยา
ศาสตร์มาแก้ปัญหา
√ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต : การทำงานเป็ นกลุ่ม การพูด
คุยกับเพื่อนในกลุ่ม
√ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี : การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ

5.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์/ค่านิยมหลัก 12 ประการ (ค่า


นิยมต่าง คือ ข้อ 9-12)
 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ √ 7. มีจิตสาธารณะ (คำนึงถึง
ประโยชน์ส่วนรวม)
√ 2. ชื่อสัตย์สุจริต (เสียสละอดทน)  8. มีความกตัญญู
ต่อพ่อแม่ ครูอาจารย์
√ 3. มีวินัย (เคารพกฎหมาย)  9. มีศล
ี ธรรม
รักษาความสัตย์
√ 4. ใฝ่ เรียนรู้
10. รักความเป็ นไทย (รักษา
ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย)
 5. อยู่อย่างพอเพียง 11. เข้าใจ เรียนรู้
ประชาธิปไตยที่ถูกต้อง
√ 6. มุ่งมั่นในการทำงาน มีสติ 12. มีความเข้มแข็ง ทัง้
กายและใจ
5.3 การบูรณาการหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ระบุ
เนื้อหาที่นำมาบูรณาการ)
 ความพอประมาณ :
 ความมีเหตุผล :
 มีภูมิคุ้มกัน :
 เงื่อนไขความรู้ :
 เงื่อนไขคุณธรรม :

5.4 การบูรณาการอาเซียนศึกษาเชื่อมโยงท้องถิ่น
 1.ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน (Knowing ASEAN)
 2.การเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์และความหลากหลาย (Valuing
Identity and Diversity)
 3.การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น (Connecting Global Local)
 4.การส่งเสริมความเสนอภาคและความยุติธรรม (Promoting
Equity and Justice)
 5.การทำงานร่วมกันเพื่ออนาคตที่ยังยืน (Working Together
For a Sustainable Future)
5.5 การบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ตามแนวทางวิถีพุทธ
√ ศีล หรือพฤติกรรมหรือวินัยในการดำเนินชีวิตที่ดีงามสำหรับตนและ
สังคม
√ สมาธิ หรือการพัฒนาจิตใจที่มีคุณภาพ มีสมรรถภาพ มีจิตใจทีเ่ ข็ม
แข็งและสงบสุข
√ ปั ญญา มีความรู้ที่ถูกต้องมีศักยภาพในการคิด การแก้ปัญหาที่เหมาะ
สม
5.6 ทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (3R 8C)
1. ทักษะในสาระวิชาหลัก (3R)
1. √ Reading (อ่าน) 2. √ (W) Riting (เขียน) 3.  (A)
Rithemetics (คณิตฯ)
2. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (8C)
 Critical Thinking and Problem Solving (การคิด
วิจารณญาณ และแก้ปัญหา)
 Creativity and Innovation (การสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
 Cross-cultural Understanding (ความเข้าใจความต่าง
วัฒนธรรม)
√ Collaboration, Teamwork and Leadership (การทำงาน
เป็ นทีม ภาวะผู้นำ)
√ Communications, Information, and Media Literacy
(การสื่อสารสารสนเทศ)
 Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และ
เทคโนโลยี)
 Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และการเรียนรู้)
 Compassion (คุณธรรม เมตตา กรุณา ระเบียบวินัย)
5.7 บูรณาการกิจกรรมสะเต็มศึกษา
√ S (Science) : ความรู้เกีย
่ วกับวิทยาศาสตร์
 T (Technology) : ความรู้เกีย
่ วกับเทคโนโลยี
 E (Engineering) : การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางวิศวกรรม
 M (Mathematics) : การคิดคำนวณ
5.8 การบูรณาการสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
สาระที่ -
เรื่อง -
5.9 สอดแทรกพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวง
รัชกาลที่ 10
 มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
 มีพ้น
ื ฐานชีวิตที่มั่นคง - มีคุณธรรม
 มีงานทำ - มีอาชีพ
 เป็ นพลเมืองที่ดี
5.10 การบูรณาการกับคุณธรรมอัตลักษณ์โรงเรียน
√ ความรับผิดชอบ
√ ความมีวินัย
 ความพอเพียง

5.11 การบูรณาการกับหนังสือทะเลและมหาสมุทร และผลประโยชน์


ของชาติทางทะเล
หน่วยที่ – เรื่อง -

6. ชิน
้ งานหรือภาระงาน (หลักฐาน/ร่องรอยแสดงความรู้)

6.1 ใบงานเรื่อง วิทยาศาสตร์คืออะไร

7. กิจกรรมการเรียนรู้
ใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry
Cycles: 5Es) (3 ชั่วโมง; 180 นาที
7.1 ขัน
้ นำเข้าสู่บทเรียน
ขัน
้ ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engagement) (20 นาที)
1) ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยตัง้ ประเด็นคำถามว่า
ื ๆ อย่างไร (มี
นักเรียนคิดว่าวิทยาศาสตร์แตกต่างจากศาสตร์อ่ น
ลักษณะแตกต่างจากศาสตร์อ่ น
ื ๆ เช่น ในมุมมองแบบวิทยาศาสตร์
ต้องอาศัยหลักฐานสนับสนุน การแปลผล และสรุปเป็ นองค์ความรู้
ด้วยสติปัญญาของมนุษย์ แนวคิดทางวิทยาศาสตร์เปลี่ยนแปลงได้
เมื่อมีหลักฐานเพิ่มเติมที่เชื่อถือได้และนำมาสร้างคำอธิบายใหม่)
2) ครูตงั ้ ประเด็นคำถามเพิ่มเติมทบทวนความรู้พ้น
ื ฐานของนักเรียน
เกี่ยวกับ โครงสร้างอะตอมและวิทยาศาสตร์ โดยอาจตัง้ คำถามดังนี ้
- วิทยาศาสตร์คืออะไร (วิทยาศาสตร์เป็ นความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ
ซึ่งสามารถอธิบาย ได้ด้วยหลักฐานและความเป็ นเหตุเป็ นผลทาง
วิทยาศาสตร์ โดยวิทยาศาสตร์มิใช่ความรู้ เกี่ยวกับความจริงของ
ธรรมชาติเพียงอย่าง เดียวแต่ยังครอบคลุมไปถึงกระบวนการ เรียนรู้
และทำความเข้าใจความรู้นน
ั ้ อย่างเป็ น ระบบและเป็ นเหตุเป็ นผล)
- ความรู้เกี่ยวกับอะตอมที่เรียนรู้ในชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 เป็ น
อย่างไร (อะตอมเป็ นหน่วยย่อยของสสาร โดยโครงสร้างอะตอม
ประกอบด้วย นิวเคลียสซึ่งมีโปรตอน นิวตรอนอยู่เป็ นศูนย์กลาง และ
มีอิเล็กตรอนโคจรโดยรอบ)
ขัน
้ ที่ 2 ขัน
้ สำรวจและค้นหา (Exploration) (40 นาที)
3) ครูนำเข้ากิจกรรมที่ 1.1 ความรู้ทางวิทยาศาสตร์พัฒนาได้
อย่างไร โดยตัง้ ประเด็นคำถามว่า การพัฒนาองค์ความรู้วิทยาศาสตร์
มีลักษณะความสำคัญอย่างไร (ความรู้ทางวิทยาศาสตร์พัฒนาได้โดย
การรวบรวมข้อมูลหลักฐาน เพื่อนำมาสร้างคำอธิบายหรือตอบ
คำถามในสิ่งที่สงสัย โดยใช้กระบวนการหรือวิธีการต่าง ๆ)
4) นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดำเนินกิจกรรม
ตามหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช
2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ หน้า
2 - 4 และครูตรวจสอบความเข้าใจการอ่านโดยใช้คำถามดังต่อไปนี ้
- กิจกรรมนีเ้ กี่ยวกับเรื่องอะไร (การพัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์)
้ ีจุดประสงค์อย่างไร (อ่าน วิเคราะห์ และสรุปแนวคิด
- กิจกรรมนีม
เกี่ยวกับธรรมชาติวิทยาศาสตร์)
ั ้ ตอนโดยสรุปอย่างไร (อ่านบทความการ
- วิธีดำเนินกิจกรรมมีขน
พัฒนาองค์ความรู้วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับอะตอม และการวิจัยทาง
โบราณคดีหญิงสาวโบราณปลายยุคประวัติศาสตร์ จากนัน
้ เขียน
แผนผังเชื่อมโยงหลักฐานและข้อสรุปที่ค้นพบ)
- นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง (ข้อมูลเกี่ยวกับ
การพัฒนาองค์ความรู้วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับอะตอม และการวิจัยทาง
โบราณคดีหญิงสาวโบราณปลายยุคประวัติศาสตร์)
7.2 ขัน
้ สอน
ขัน
้ ที่ 3 ขัน
้ อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) (30 นาที)
5) นักเรียนนำเสนอผลการทำใบงานวิทยาศาสตร์คืออะไร โดย
การตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรม เพื่อ
ให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรมว่า การสรุปองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
ต้องอาศัยข้อมูล หลักฐานที่ได้จากการศึกษาอย่างเป็ นระบบ ความรู้
ทางวิทยาศาสตร์เปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีหลักฐานที่น่าเชื่อถือมา
สนับสนุนแนวคิดใหม่ และเมื่อมีหลักฐานใหม่เพิ่มขึน
้ จะทำให้ความรู้
เพิ่มพูนชัดเจนขึน
้ การสร้างองค์ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ประกอบ
ด้วย การตัง้ คำถาม การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสร้างคำ
อธิบายเชื่อมโยงจากข้อมูล และแนวคิดทางวิทยาศาสตร์เพื่อตอบ
คำถาม และการสื่อสารหรือเผยแพร่องค์ความรู้นน
ั้
ขัน
้ ที่ 4 ขัน
้ ขยายความรู้ (Elaboration) (40 นาที)
6) ครูจัดเตรียมอุปกรณ์ตามกิจกรรมที่ 1.2 วัตถุอะไรอยู่ในกล่อง
เพื่อความเข้าใจยิ่งขึน
้ เกี่ยวกับธรรมชาติวิทยาศาสตร์ ตามหนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เล่ม 1 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ หน้า 6 – 7
7) นักเรียนอ่านคำอธิบายการทำกิจกรรมและครูตรวจสอบความ
เข้าใจการอ่านโดยใช้คำถามดังต่อไปนี ้
- กิจกรรมนีเ้ กี่ยวกับเรื่องอะไร (ลักษณะของธรรมชาติของ
วิทยาศาสตร์ จากการหาคำตอบว่าอะไรอยู่ในกล่องปริศนา)
้ ีจุดประสงค์อะไร (สังเกต อภิปรายและลงความเห็น
- กิจกรรมนีม
เกี่ยวกับสิ่งที่อยู่ในกล่องปริศนา จากนัน
้ ยกตัวอย่าง และอธิบายธรรมชาติ
ของวิทยาศาสตร์ที่สอดคล้องกับกิจกรรม)
ั ้ ตอนโดยสรุปอย่างไร (สังเกต เก็บรวบรวม
- การทำกิจกรรมมีขน
ข้อมูลและวิเคราะห์สิ่งที่อยู่ในกล่องปริศนาโดยใช้ ประสาทสัมผัส ต่อมาจึง
ใช้เครื่องมือ จากนัน
้ นำเสนอและอภิปรายสรุปร่วมกัน)
- นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง (ข้อมูลหลักฐาน
ต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนความคิดว่าสิ่งใดอยู่ในกล่อง ปริศนา โดยใช้ประสาท
สัมผัสต่าง ๆ)
7.3 ขัน
้ สรุป
ขัน
้ ที่ 5 ขัน
้ ประเมิน (Evaluation) (50 นาที)
8) ครูและนักเรียนนำเสนอผลการตอบคำถามท้ายกิจกรรมที่ 1.2
ร่วมกัน (เฉลยแนบท้ายแผนการจัดการเรียนรู้)
9) นักเรียนสรุปองค์ความรู้ที่ได้รับจากบทเรียน โดยการเขียน
บรรยาย วาดภาพ หรือเขียนแผนผังมโนทัศน์สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์

8. สื่อ/แหล่งเรียนรู้

8.1 สื่อ / นวัตกรรม

1) ใบกิจกรรมหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) สสวท. กระทรวง
ศึกษาธิการ หน้า 3 – 7
8.2 แหล่งเรียนรู้
การสืบค้นสารสนเทศอินเตอร์เน็ต
9. การวัดและประเมินผล

ตัวชีว
้ ัด/ผล วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์ที่ใช้ในการ
การเรียนรู้ ประเมิน
1. ยกตัวอย่าง - ตรวจการตอบ - คำถามใบงาน ได้ไม่น้อยกว่า 2
และ คำถามใบงาน เรื่องวิทยาศาสตร์ คะแนน
อธิบาย เรื่อง คืออะไร, ใบงาน ระดับคุณภาพดี
ธรรมชาติของ วิทยาศาสตร์คือ เรื่องกระบวนการ ถือว่าผ่าน
วิทยาศาสตร์ได้ อะไร, ใบงาน ทางวิทยาศาสตร์, การประเมินด้าน
(ด้านความรู้: เรื่อง ลักษณะสำคัญของ ความรู้
K) กระบวนการ นักวิทยาศาสตร์
ทาง
วิทยาศาสตร์,
ลักษณะสำคัญ
ของนัก
วิทยาศาสตร์
2. ปฏิบัติตาม - สังเกตการทำ - แบบสังเกตการ ได้ไม่น้อยกว่า 2
ขัน
้ ตอนการทำ กิจกรรมของ ปฏิบัติตามขัน
้ ตอน คะแนน
กิจกรรม นักเรียน การทำกิจกรรม ระดับคุณภาพดี
(ด้าน ถือว่าผ่าน
กระบวนการ: การประเมินด้าน
P) กระบวนการ
3. ให้ความร่วม - สังเกตความ - แบบสังเกตความ ได้ไม่น้อยกว่า 2
มือในการทำ ร่วมมือในการ ร่วมมือในการทำ คะแนน
กิจกรรมร่วม ทำกิจกรรมของ กิจกรรมร่วมกับผู้ ระดับคุณภาพดี
กับผู้อ่ น
ื ได้ นักเรียน อื่น ถือว่าผ่าน
(ด้านเจตคติ: การประเมินด้าน
A) เจตคติ

9.1 เกณฑ์การประเมินผลงานนักเรียน

ค่าน้ำ
ประเด็นการ
หนัก แนวทางการให้คะแนน
ประเมิน
คะแนน

ตอบคำถามใบงานเรื่องวิทยาศาสตร์คืออะไร,
การให้คะแนน 3
ใบงานเรื่องกระบวนการทางวิทยาศาสตร์,
การตอบคำตอบ
ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์ ถูกต้อง
ใบงานเรื่อง
จำนวน 11 – 17 ข้อ
วิทยาศาสตร์คือ
ตอบคำถามใบงานเรื่องวิทยาศาสตร์คืออะไร,
อะไร, ใบงาน 2
ใบงานเรื่องกระบวนการทางวิทยาศาสตร์,
เรื่อง
ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์ ถูกต้อง
กระบวนการ
จำนวน 4 - 10 ข้อ
ทาง
ตอบคำถามใบงานเรื่องวิทยาศาสตร์คืออะไร,
วิทยาศาสตร์, 1
ใบงานเรื่องกระบวนการทางวิทยาศาสตร์,
ลักษณะสำคัญ
ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์ ถูกต้อง
ของนัก
จำนวน 0 - 3 ข้อ
วิทยาศาสตร์
การให้คะแนน 3 สามารถปฏิบัติตามขัน
้ ตอนการทำกิจกรรมได้
ปฏิบัติตามขัน
้ อย่างถูกต้อง มีระบบระเบียบในการจัดลำดับ
การทำกิจกรรม จดบันทึกการทำกิจกรรม
ตอนการทำ
ตอบคำถาม และดำเนินกิจกรรมภายในเวลา
กิจกรรม
กำหนด
2 สามารถปฏิบัติตามขัน
้ ตอนการทำกิจกรรมได้
อย่างถูกต้อง มีระบบระเบียบในการจัดลำดับ
การทำกิจกรรม แต่ไม่จดบันทึกการทำ
กิจกรรม ไม่ตอบคำถาม และยังดำเนิน
กิจกรรมภายในเวลากำหนด
1 สามารถปฏิบัติตามขัน
้ ตอนการทำกิจกรรมได้
มีระบบระเบียบในการจัดลำดับการทำ
กิจกรรม แต่ไม่จดบันทึกการทำกิจกรรม ไม่
ตอบคำถาม และดำเนินกิจกรรมไม่ทันภายใน
เวลากำหนด
ประเด็นการ ค่าน้ำ แนวทางการให้คะแนน
ประเมิน หนัก
คะแนน

ตอบคำถามใบงานเรื่องวิทยาศาสตร์คืออะไร,
3
ใบงานเรื่องกระบวนการทางวิทยาศาสตร์,
การให้คะแนน
ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์ ถูกต้อง
ความร่วมมือใน
จำนวน 11 – 17 ข้อ
การทำกิจกรรม
ตอบคำถามใบงานเรื่องวิทยาศาสตร์คืออะไร,
ร่วมกับผู้อ่ น
ื 2
ใบงานเรื่องกระบวนการทางวิทยาศาสตร์,
ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์ ถูกต้อง
จำนวน 4 - 10 ข้อ
ตอบคำถามใบงานเรื่องวิทยาศาสตร์คืออะไร,
1
ใบงานเรื่องกระบวนการทางวิทยาศาสตร์,
ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์ ถูกต้อง
จำนวน 0 - 3 ข้อ
การให้คะแนน 3 ให้ความร่วมมือในทำกิจกรรมร่วมกับผู้อ่ น

ปฏิบัติตามขัน
้ ตลอดทัง้ คาบเรียน ไม่ก่อความวุ่นวายหรือ
ปั ญหาที่รบกวนการเรียนของผู้อ่ น
ื เช่น พูด
ตอนการทำ
เสียงดังโวยวายลุกเดินไปมา หรือชวนผู้อ่ น
ื คุย
กิจกรรม เล่น ขณะครูทำการสอน
2 ให้ความร่วมมือในทำกิจกรรมร่วมกับผู้อ่ น

เป็ นบางครัง้ ในคาบเรียน และก่อความวุ่นวาย
หรือปั ญหาที่รบกวนการเรียนของผู้อ่ น
ื เช่น
พูดเสียงดังโวยวาย ลุกเดินไปมา หรือชวนผู้
อื่นคุยเล่น ขณะครูสอน
1 ไม่ให้ความร่วมมือในทำกิจกรรมร่วมกับผู้อ่ น

ทำให้เกิดความวุ่นวายหรือปั ญหาที่รบกวน
การเรียนของผู้อ่ น
ื เช่น พูดเสียงดังโวยวาย
ลุกเดินไปมา หรือ ชวนผู้อ่ น
ื คุยเล่น ขณะครู
ทำการสอน

9.2 ระดับคุณภาพ (โดยนำคะแนนรวมทุกด้าน K P A แล้วหาค่าเฉลี่ย)

คะแนนรวมเฉลี่ย 3.00 หมายถึง ดีมาก

คะแนนรวมเฉลี่ย 2.00 - 2.99 หมายถึง ดี

คะแนนรวมเฉลี่ย 0.01 - 1.99 หมายถึง พอใช้

ดังนัน
้ นักเรียนต้องได้คะแนนเฉลี่ยทุกประเด็นการประเมิน ไม่ต่ำ
กว่า 2.00 คะแนน แสดงระดับคุณภาพดี ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน
ในแผนการจัดการเรียนที่ 1

10. กิจกรรมเสนอแนะ
บันทึกผลหลังการสอน
หน่วยที่ ………… เรื่อง
………………………………………………………..……….. จำนวน ……….
ชั่วโมง
สรุปผลการเรียนการสอน
นักเรียนจำนวน...........คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้...................คน คิดเป็ นร้อย
ละ....................................................
ไม่ผ่านจุดประสงค์...............................คน คิดเป็ นร้อย
ละ....................................................
-นักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์ (ถ้ามี ระบุรายชื่อ) วิธีการแก้ไขและพัฒนา
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
-นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ หรือสามารถส่งเสริมความเป็ นเลิศได้
(ถ้ามี ระบุรายชื่อ)
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ( K )
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการจัดการเรียนรู้ ร้อย
ละ..........................................................................................
นักเรียนมีความรู้เกิดทักษะ ( P )
นักเรียนมีความรู้และเกิดทักษะกระบวนการ การจัดการเรียนรู้ ร้อย
ละ..............................................................
นักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรมจริยธรรม ( A )
นักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม ร้อย
ละ........................................................................................
ปั ญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………..…
ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………

ลงชื่อ..........................................
........
( นายณัฐวุฒิ นักรำ
)
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ -
ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย

จากผลการจัดการเรียนรู้ของ
มีความคิดเห็นดังนี ้

1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

 จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย ใช้รูปแบบหรือเทคนิค วิธีการ


ที่หลากหลาย
 จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย ใช้ส่ อ
ื นวัตกรรม เทคโนโลยี
ที่หลากหลาย
 มีการวัดประเมินผลด้วยเครื่องมือที่หลากหลายและ
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
 มีการใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active
Learning

2. ผลของการจัดการเรียนรู้
 เป็ นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดี สามารถพัฒนาคุณภาพผู้
เรียนได้ตามวัตถุประสงค์

ลงชื่อ................................................ ลงชื่อ................................................
................. .................
( นางกนกสรรณ ชุนถนอม ) ( นางสาววีรินทร์ จั่นทอง )
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ผู้ช่วยรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหาร
วิทยาศาสตร์ วิชาการ
และเทคโนโลยี
วันที่ ............
วันที่ ............
เดือน............................พ.ศ. ............
เดือน............................พ.ศ. ............
. .

ความคิดเห็นของรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ

………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ...........................................................
( นา
งสาวมณีรัตน์ สัจจวิโส )
รองผู้
อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
วันที่ ............
เดือน............................พ.ศ. .............

ลงชื่อ...........................................................
(
นางกรองแก้ว พูลเพิ่มพันธ์ )
ผู้อำนวยการโรงเรียนอ้อมน้อย
โสภณชนูปถัมภ์
วันที่ ............
เดือน............................พ.ศ. .............

You might also like