แบบฝึกไอเอส

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 37

คานา

ชุดฝึกรายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ รหัสวิชา I20201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2


สาระการเรียนรู้ภาษาไทยโรงเรียนสวัสดิ์รตั นาภิมุขจัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้
ให้สอดคล้องตามแนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลโดยได้ศึกษาเอกสาร
หลักสูตร ผังมโนทัศน์ โครงสร้างขอบข่ายสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียน และตัวชี้วัด เพื่อกาหนด
กรอบการจัดกิจกรรมและระยะเวลาในการทากิจกรรมให้สอดคล้องกับแผนการจัดการเรียนรู้ และ
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ซึ่งประกอบไป ด้วย แบบทดสอบก่อนเรียน
ใบความรู้ 15 ชุด และ ใบงาน 19 ชุด เพื่อการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนได้บูรณาการตาม
ความเหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดเป็นไปตามความมุ่งหมายของสถานศึกษาต่อไป

ผูจัดทํา
สารบัญ

หน้า
ปกใน ................................................................................................................................................ ก
คา นา ............................................................................................................................................... ข
สารบัญ ............................................................................................................................................. ค
แบบทดสอบก่อนเรียน ......................................................................................................................1
ใบความรู้เรื่อง การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง “Independent Study : IS” .................................2
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหาหรือตั้งคาถาม ...............................................................2
ใบงานที่ 1 เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหาหรือตั้งคาถาม ....................................................................2
ใบงานที่ 2 เรื่อง การฝึกตั้งคาถาม...................................................................................................2
ใบงานที่ 3 เรื่อง การวิเคราะห์ / ตั้งคาถาม / ระบุปัญหาของตนเอง .............................................2
ใบงานที่ 4 เรื่อง การวิเคราะห์ / ตั้งคาถาม / ระบุปัญหาของชุมชน .............................................2
ใบงานที่ 5 เรื่อง การวิเคราะห์ / ตั้งคาถาม / ระบุปัญหาของประเทศ ..........................................2
ใบงานที่ 6 เรื่อง การตั้งคาถาม / การระบุประเด็นปัญหา ..............................................................2
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การตั้งสมมติฐาน .............................................................................................2
ใบงานที่ 7 เรื่อง การตั้งสมมติฐาน ..................................................................................................2
ใบงานที่ 8 เรื่อง การฝึกตั้งสมมติฐาน .............................................................................................2
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ประเด็นปัญหาและสมมติฐาน .........................................................................2
ใบงานที่ 9 เรื่อง ประเด็นปัญหากับการตั้งสมมติฐาน .....................................................................2
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การออกแบบ วางแผน รวบรวมข้อมูล ...........................................................2
ใบงานที่ 10 เรื่อง การออกแบบ วางแผน รวบรวมข้อมูล ..............................................................2
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การเก็บรวบรวมข้อมูล.....................................................................................2
ใบงานที่ 11 เรื่อง การเก็บรวบรวมข้อมูล .......................................................................................2
ใบงานที่ 12 เรื่อง ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ ...........2
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง วิธีการแสวงหาความรู้ของมนุษย์ ................................................................. 34
ใบงานที่ 13 เรื่อง วิธีการแสวงหาความรู้ของมนุษย์ ......................................................................2
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง แหล่งเรียนรู้ .................................................................................................. 39
ใบงานที่ 14 เรื่อง การระบุแหล่งที่มาของความรู้ ........................................................................ 41
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การอ้างทางบรรณานุกรม ............................................................................. 42

สารบัญ (ต่อ)
หน้า
ใบความรู้ที่ 9 เรื่อง เทคนิคในการคิดหาวิธีแก้ไขปัญหา .............................................................. 44
ใบงานที่ 15 เรื่อง การเสนอแนวคิด เทคนิควิธีการแก้ปญ ั หา ...................................................... 46
ใบความรู้ที่ 10 เรื่อง ข้อมูล การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล ...........................................2
ใบงานที่ 16 เรื่อง แบบบันทึกผลการตรวจสอบข้อมูล ................................................................ 50
ใบความรู้ที่ 11 เรื่อง การจัดกระทาข้อมูล ................................................................................... 52
ใบงานที่ 17 เรื่อง แบบฝึกกิจกรรมการจัดกระทาและสื่อความหมายของข้อมูล ...........................2
ใบความรู้ที่ 12 เรื่อง การนาเสนอข้อมูล ...................................................................................... 54
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลความหมายข้อมูล ......................................2
ใบความรู้ที่ 14 เรื่อง สถิติ ............................................................................................................ 59
ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง องค์ความรู้.................................................................................................. 64
ใบงานที่ 18 เรื่อง องค์ความรู้ ...................................................................................................... 66
ใบงานที่ 19 เรื่อง ประโยชน์ของการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ .................................... 66
แบบทดสอบหลังเรียน .................................................................................................................... 68
แบบทดสอบก่อนเรียน
รายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ IS1(Research and Knowledge Formation)
รหัสวิชา I20201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสวัสดิ์รัตนาภิมุข

คาชี้แจง ให้เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด เพียงคาตอบเดียวในแต่ละข้อ แล้วกาเครื่องหมาย ลงใน


กระดาษคาตอบใช้เวลาในการทดสอบ 1 ชั่วโมง 40 คะแนน
1. ข้อใดสาคัญที่สุดในการศึกษาค้นคว้า 6. แหล่งการเรียนรู้ที่ใช้สาหรับการศึกษา
ก. การกาหนดจุดมุ่งหมายของการศึกษา ค้นคว้า ควรมีลักษณะเป็นอย่างไร
ค้นคว้า ก. พอเพียง
ข. การกล่าวถึงความเป็นมาของปัญหาที่ ข. ทันสมัย
จะศึกษาค้นคว้า ค. เพียงพอ
ค. การอธิบายปัญหาที่จะทาการศึกษา ง. สืบค้นได้ง่าย
ค้นคว้าให้ชัดเจน 7. ข้อใด คือ ผู้เกี่ยวข้องในการศึกษาค้นคว้า
ง. การเลือกเรื่องเพื่อตั้งประเด็นปัญหา เป็นลาดับแรก
2. การปฏิบัติในข้อใดที่จะช่วยลดอุปสรรคใน ก. ประชากร
การศึกษาค้นคว้าได้มากที่สุด ข. กลุ่มตัวอย่าง
ก. การประหยัด ค. ผู้ช่วยการวิเคราะห์ข้อมูล
ข. ความอดทน ง. ที่ปรึกษา
ค. ความละเอียด รอบคอบ 8. ข้อใดเป็นลักษณะของการนิยามปัญหา
ง. ความพากเพียร ก. การอธิบายปัญหาที่จะศึกษาค้นคว้าให้
3. เรื่องที่ผู้ศึกษาค้นคว้าสนใจ ควรสอดคล้อง ชัดเจน
กับเรื่องใดมากที่สุด ข. การกล่าวถึงที่มาของปัญหาที่จะศึกษา
ก. ผู้ศึกษาค้นคว้ามีความสนใจอย่างแท้จริง ค้นคว้า
ข. มีประโยชน์ต่อคนในสังคมโลก ค. การอ้างทฤษฏี กฎเกณฑ์ หรือข้อเขียน
ค. มีความพากเพียร อดทน ที่เชื่อถือได้
ง. ตั้งใจศึกษาค้นคว้าให้สาเร็จ ง. การกาหนดจุดมุ่งหมายของการศึกษา
4. ข้อใด แสดงว่าผู้ศึกษาค้นคว้ามีความรู้ ค้นคว้า
ความสามารถในเรื่องที่ศึกษาค้นคว้า 9. การกล่าวถึงที่มาของปัญหาที่จะศึกษา
ก. ศักยภาพในการเรียนรู้ ค้นคว้า สาเหตุที่ต้องศึกษาค้นคว้าเรื่องนั้น
ข. ประสบการณ์ในการศึกษาค้นคว้า เป็นลักษณะของข้อใด
ค. พื้นฐานการศึกษา ก. การกาหนดจุดมุ่งหมาย
ง. การทาความเข้าใจเรื่องที่ศึกษาค้นคว้า ข. บทนา หรือความเป็นมา
5. ผู้ศึกษาค้นคว้า ควรทาอย่างไรเกี่ยวกับทุนที่ ค. การเขียนสมมุติฐาน
ใช้เป็นค่าใช้จ่าย ง. การนิยามปัญหา
ก. กาหนดราคาค่าวัสดุ อุปกรณ์ให้ชัดเจน
ข. ทาประมาณการค่าใช้จ่าย
ค. ระบุค่าเดินทางเก็บรวบรวมข้อมูล
ง. จัดเตรียมงบประมาณค่าพิมพ์รายงาน
2

10. ข้อใดเป็นจริง เกี่ยวกับการกาหนด 15. ผลการทดสอบสมมุติฐาน จะต้องตรงกับ


จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า สมมุติฐานที่ตั้งไว้หรือไม่
ก. เขียนแยกเป็นรายข้อ ก. ตรง
ข. ไม่ต้องเขียนแยกเป็นรายข้อ ข. ไม่ตรง
ค. เขียนแยกเป็นรายข้อ หรือไม่แยกข้อก็ได้ ค. ตรง หรือไม่ตรง ก็ได้
ง. ใช้ภาษาทางวิชาการ ง. สรุปแน่นอนไม่ได้
11. ข้อใด คือ ความหมายของสมมุติฐาน 16. ข้อใดสาคัญที่สุด
ก. วิธีการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์โดย ก. อธิบายผลการศึกษาค้นคว้าว่าเป็น
เริ่มต้นจากการตั้งประเด็นปัญหา เพราะเหตุใด
ข. ข้อคิดเห็น หรือถ้อยแถลงที่ใช้เป็นมูล ข. ผลการศึกษาต้องเป็นไปตามสมมุติฐาน
ฐานของการหาเหตุผล ค. ผลการศึกษาค้นคว้า ไม่เป็นไปตาม
ค. การรวบรวมข้อมูลเพื่อคาดคะเน สมมุติฐาน
คาตอบ ง. ไม่มีข้อใดสาคัญที่สุด
ง. การคาดคะเนคาตอบให้ถูกต้องตรงกับ 17. สมมุติฐาน ที่กาหนดว่า “ไม่มีความ
ความเป็นจริงมากที่สุด แตกต่าง” เป็นสมมุติฐานประเภทใด
12. ข้อใดเป็นจริง ก. สมมุติฐานทางเลือก
ก. สมมุติฐานตั้งขึ้นหลังจากศึกษาค้นคว้า ข. สมมุติฐานทางสถิติ
รวบรวมข้อมูลแล้ว ค. แสดงถึงการปฏิเสธสมมุติฐาน
ข. สมมุติฐานตั้งขึ้นก่อนการศึกษาค้นคว้า ง. แสดงถึงการยอมรับสมมุติฐาน
รวบรวมข้อมูล 18. การศึกษาค้นคว้า ใช้ตั้งสมมุติฐานแบบใด
ค. สมมุติฐาน ไม่ต้องสอดคล้องกับ ก. ไม่ต้องตั้งสมมุติฐาน
จุดมุง่ หมายของการศึกษาค้นคว้าก็ได้ ข. ตั้งสมมุติฐานแบบยอมรับ
ง. สมมุตติฐาน ตั้งขึ้นก่อนการตั้งประเด็น ค. สมมุติฐานทางเลือก
ปัญหา ง. สมมุติฐานทางสถิติ
13. สมมุติฐานการศึกษาค้นคว้า ควรตั้งขึ้น 19. หากผลการทดสอบ ทางสถิติชี้ว่า “ไม่
เมื่อใด จริง” ต้องปฏิบัติอย่างไร
ก. การศึกษาค้นคว้าไม่ต้องตั้งสมมุติฐานก็ได้ ก. แสดงว่าการศึกษาค้นคว้าล้มเหลว
ข. ก่อน หรือหลังการเก็บรวบรวมข้อมูลก็ได้ ข. แสดงว่าการศึกษาค้นคว้าประสบ
ค. หลังการเก็บรวบรวมข้อมูล ความสาเร็จ
ง. ก่อนการเก็บรวบรวมข้อมูล ค. ไม่ยอมรับ
14. อะไรเป็นสิ่งบ่งชี้ว่า สมมุติฐานได้มาจาก ง. ยอมรับ
การไตร่ตรองโดยใช้เหตุผลที่น่าจะเป็น 20. ข้อใดเป็นประโยชน์ของสมมุติฐาน
ก. รากฐานของทฤษฏี ก. ใช้ตรวจสอบ
ข. รากฐานของทฤษฏี ผลการศึกษาค้นคว้า ข. จากัดขอบเขตการศึกษาค้นคว้า
ค. ทฤษฏี ผลการศึกษา ผลการวิจัยที่ ค. ใช้ตรวจสอบ จากัดขอบเขต ช่วยให้
เกี่ยวข้อง เข้าใจเรื่อง
ง. ผลการทดสอบสมมุติฐาน ตรงกับ ง. แสดงความสัมพันธ์ของผลการศึกษา
สมมุติฐาน ค้นคว้า
3

21. ข้อใดควรเกิดขึ้นหลังจากตั้งสมมุติฐานแล้ว ค. เชิงคุณลักษณะ หรือเชิงคุณภาพ


ก. จุดมุ่งหมาย ง. การศึกษาค้นคว้าต้องมีการตั้ง
ข. ผลการศึกษาค้นคว้า สมมุติฐานก่อน
ค. สมมุติฐาน 28. ข้อใดเป็นจริง
ง. ทุกข้อสามารถเกิดขึ้นก่อน หรือหลังก็ได้ ก. การเก็บรวบรวมข้อมูลต้องทาก่อนตั้ง
22. ข้อใดเป็นลักษณะของสมมุติฐานที่ดี สมมุติฐาน
ก. ตั้งขึ้นก่อนการกาหนดจุดมุ่งหมาย ข. สมมุติฐานตั้งขึ้นจากข้อมูลที่ค้นพบไม่ได้
ข. ตั้งขึ้นก่อนการรวบรวมข้อมูล ค. การสังเกต เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ
ค. สามารถทดสอบได้ด้วยข้อมูล ง. การสังเกต เป็นการศึกษาเชิงคุณลักษณะ
หลักฐานต่าง ๆ 29. สมมุติฐาน ทดสอบได้จากอะไร
ง. ใช้ภาษาที่แสดงรายละเอียดให้มากที่สุด ก. ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมา
23. ควรปฏิบัติอย่างไรให้สมมุติฐานมีความ ข. ข้อมูลที่มีผู้เก็บรวบรวมไว้แล้ว
สมเหตุสมผล ค. ข้อมูลจากผลการศึกษาค้นคว้าที่
ก. มีเหตุผล เกี่ยวข้อง
ข. มีเหตุผล และตามทฤษฏี ง. สถิติที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
ค. มีเหตุผล ตามทฤษฏี และผลการศึกษา 30. ข้อใดเป็นจริง
ง. มีผู้เชี่ยวชาญรับรอง ก. สมมุติฐานควรมีข้อเดียว
24. ข้อความที่ใช้เขียนสมมุติฐาน ควรมี ข. สมมุติฐานจะมีข้อเดียว หรือมีหลายข้อก็ได้
ลักษณะเป็นอย่างไร ค. สมมุติฐานควรมีหลายข้อ
ก. ใช้ภาษาเขียน หรือภาษพูดก็ได้ ง. สรุปแน่นอนไม่ได้
ข. เขียนเป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ 31. เทคโนโลยีที่ใช้เชื่อมโยงการรับ ส่งสารสนเทศ
ค. เขียนอธิบายรายละเอียดชัดเจน อ่าน โดยผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คืออะไร
เข้าใจง่าย ก. อินเทอร์เน็ต
ง. เฉพาะเจาะจง กะทัดรัด ตรงจุดมุ่งหมาย ข. เครือข่าย
25. ควรตั้งสมมุติฐานเมื่อใด ค. รหัส URL
ก. เมื่อศึกษาค้นคว้าจากเอกสารที่ ง. เทคโนโลยีสารสนเทศ
เกี่ยวข้องแล้ว 32. “ห้องสมุดของโลก” มีลักษณะคล้ายกับ
ข. ก่อนการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ข้อใดมากที่สุด
ค. ก่อน หรือหลังการศึกษาค้นคว้าก็ได้ ก. ห้องสมุด
ง. เมื่อสรุปผลการศึกษาค้นคว้าแล้ว ข. แหล่งการเรียนรู้
26. ข้อใดควรปฏิบัติเป็นลาดับแรก ค. อินเทอร์เน็ต
ก. การเก็บรวบรวมข้อมูล ง. เครือข่ายสารสนเทศ
ข. การตั้งสมมุติฐาน 33. ในการใช้อินเทอร์เน็ต ข้อใดเป็นประโยชน์
ค. การสรุปผลการศึกษาค้นคว้า ของรหัสสืบค้นยูอาร์แอล
ง. การรายงานผลการศึกษาค้นคว้า ก. กาหนดตาแหน่งที่อยู่ของเว็บเพ็จ
27. การศึกษาค้นคว้าแบบใดอาจไม่ ข. กาหนดลักษณะการสื่อสาร
จาเป็นต้องตั้งสมมุติฐานก่อน ค. กาหนดภาษาการแสดงผลข้อมูล
ก. เชิงปริมาณ ง. เชื่อมต่อเครื่องที่ใช้งาน เครื่องแม่ข่าย
ข. เชิงสถิติ และเครื่องที่มีสารสนเทศ
4

34. ข้อใดเป็นเครื่องช่วยค้น ที่รวบรวมเว็บไซต์ 39. ผู้ศึกษาค้นคว้าจะนิยามศัพท์ด้วยตนเอง


ไว้บริการแก่ผู้ใช้ ต้องมีคุณลักษณะตามข้อใด
ก. http://www.chk.ac.th ก. มีทักษะในการใช้ภาษาไทยเพื่อการ
ข. http://www.ditigal.altavista สื่อสาร
ค. http://www.google.com ข. มีความรอบรู้ในเรื่องที่ศึกษาค้นคว้า
ง. http://www.lycos.com อย่างชัดเจน
35. เมื่อต้องการค้นเรื่องในภาพต้องพิมพ์ ค. มีความรอบรู้ในเรื่องนั้นอย่างลึกซึ้ง ใช้
ข้อความใดจึงจะค้นได้ตรง และเร็วที่สุด ภาษาครอบคลุม แจ่มชัด รัดกุม
ก. http://www ง. มีความสามารถในการศึกษาค้นคว้า
ข. http://www.chaoprayanews 40. ข้อใดเป็นนิยามแบบทั่วไป
ค. http://www.chaoprayanews.com/ ก. ภาวะผู้นา หมายถึง ความสามารถใน
2009/02/19/ การนาของหัวหน้าสถานีอนามัย
ง. http://www.chaoprayanews.com/ ข. การพยากรณ์อากาศ หมายถึง การ
2009/02/19/เรื่องของปรัชญาเศรษฐกิจ/ บอกลักษณะอากาศในเวลาข้างหน้า
36. นิยาม หมายถึงอะไร โดยอาศัย ข้อมูล และเหตุผลทาง
ก. การกาหนด หรือการจากัดความหมายที่ วิทยาศาสตร์
แน่นอน ค. ทัศนคติ หมายถึง ความรู้สึกของ
ข. ศัพท์เฉพาะ บุคลากรสาธารณสุข
ค. ศัพท์ปกติ ง. ผลการเรียน หมายถึง ความสามารถ
ง. ความหมายของคาที่กาหนดตาม ในการเรียนหลังจบการศึกษา ที่วัด
พจนานุกรม โดย แบบทดสอบ และกิจกรรมที่ครู
37. ข้อใดกล่าวถึงประโยชน์ของการ นิยาม ประจาวิชาสร้างขึ้น
ศัพท์เฉพาะ ได้ถูกต้องที่สุด
ก. ช่วยให้นิยามศัพท์ได้ถูกต้องตามแบบ
พจนานุกรม
ข. ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายของศัพท์
ได้ตรงกับผู้ศึกษาค้นคว้ากาหนด
ค. ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายของศัพท์
ได้ตรงกับที่สารานุกรมกาหนด
ง. ช่วยให้ผลการศึกษาค้นคว้าถูกต้อง
ชัดเจนตามจุดมุ่งหมาย
38. ข้อใดเป็นการนิยามแบบทั่วไป
ก. การนิยามตามที่ผู้ศึกษาค้นคว้าต้องการวัดผล
ข. การนิยามศัพท์ตามที่ระบุไว้ใน
พจนานุกรม สารานุกรม
ค. การนิยามตามที่ผู้ศึกษาค้นคว้าต้องการ
ตรวจสอบ
ง. การสังเกตตามที่ผู้ศึกษาค้นคว้าต้องการ
5

ใบความรู้
เรื่อง การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง “Independent Study : IS”

นับเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพวิธีหนึ่งที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในการพัฒนาผู้เรียน เพราะเป็นการเปิด
โลกกว้างให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระในเรื่องหรือ “การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent
Study : IS)”ซึ่งจัดเป็นสาระการเรียนรู้ 3 สาระ ประกอบด้วย
IS 1- การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) เป็น
สาระที่มุ่งให้ผู้เรียนกาหนดประเด็นปัญหา ตั้งสมมุติฐาน ค้นคว้า แสวงหาความรู้และฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์และสร้างองค์ความรู้
IS 2- การสื่อสารและการนาเสนอ (Communication and Presentation)เป็นสาระที่มุ่งให้
ผู้เรียนนาความรู้ที่ได้รับ มาพัฒนาวิธีการการถ่ายทอด/สื่อสารความหมาย/แนวคิด ข้อมูลและองค์ความรู้ ด้วย
วิธีการนาเสนอที่เหมาะสม หลากหลายรูปแบบ และมีประสิทธิภาพ
IS 3- การนาองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม (Social Service Activity)เป็นสาระที่มุ่งให้ผู้เรียน นา/
ประยุ กต์องค์ความรู้ ไปสู่การปฏิบัติ หรือนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสั งคม เกิดบริการสาธารณะ ( Public
Service) โรงเรียนต้องนาสาระการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง(Independent Study : IS )ไปสู่
การเรียนการสอน ในลักษณะของหน่วยการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม หรือกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามแนวทางที่
กาหนด โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับบริบทและพัฒนาการวัยของผู้เรียนซึ่งอาจแตกต่างกันในระดับประถม
มัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย
การศึกษาอิสระ หรือ การค้นคว้าอิสระ (อังกฤษ: independent study หรือ directed study) เป็น
การศึกษารูปแบบหนึ่งที่ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้า วิจัย อย่างอิสระในหัวข้อที่ตกลงกัน นอกเหนือจากการเรียนใน
ชั้นเรียนตามหลักสูตรปกติของสถานศึกษา
หัวข้อที่ศึกษาขึ้นอยู่กับการตกลงกันระหว่างผู้เรียนและอาจารย์ภายใต้กรอบที่สถานศึกษากาหนด ซึ่ง
มักกาหนดสาขาวิชาที่ให้ศึกษา ระยะเวลา ความยากง่าย ปริมาณเนื้องานที่ต้องศึกษาและวิธีการประเมินผล
เอาไว้ โดยปกติก่อนเริ่มทาการศึกษาต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ประจาวิชาศึกษาอิสระรับรองหัวข้อ
นั้นก่อน ซึ่งอาจการรับรองดังกล่าวแตกต่างกันไปตามบริบท เช่น
 รับรองว่าตนมีความรู้ ความเชี่ยวชาญที่จะให้คาปรึกษาในหัวข้อนั้น
 รับรองว่าผู้เรียนมีความสามารถเพียงพอที่จะศึกษาหัวข้อดังกล่าวได้ด้วยตนเอง
 รับรองว่าหัวข้อนั้นมีความสาคัญเหมาะสมกับวิชาการศึกษาอิสระในระดับที่ผู้เรียนศึกษาอยู่
เมื่อได้หัวข้อ ผู้เรียนทาการศึกษาในเรื่องที่ได้รับอนุมัติให้ศึกษาด้วยตนเอง ภายใต้การกากับดูแลของที่
ปรึกษา ระดับของการกากับดูแลอาจมากน้อยต่างกั นตามข้อกาหนดของวิชาการศึกษาอิสระในระดับที่ศึกษา
อยู่ โดยทั่วไปในระดับมัธยมศึกษามักต้องการคาแนะนาอย่างใกล้ชิดจากที่ปรึกษา ในขณะที่ผู้เรียนระดับ
บัณฑิตศึกษาอาจได้รับคาปรึกษาที่ค่อนข้างจากัด เมื่อเสร็จสิ้นการศึกษามักมีการประเมินผลโดยให้ผู้เรียนทา
รายงานสรุปผลการศึกษาและ/หรือ นาเสนอปากเปล่า ผลการเรียนของการศึกษาอิสระอาจเป็นคะแนนระดับ
ต่างๆ หรือ ให้แต่เพียงผ่านหรือไม่ผ่านก็ได้
การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองมีความมุ่งหมายเกี่ยวกับการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน เพื่อให้ผู้เรียน
ได้ ศึ ก ษาหาความรู้ ด้ ว ยตนเอง เกี่ย วกั บ ประเด็ น ที่ อยู่ ใ นความต้ อ งการและความสนใจ อย่ า งเป็ น ระบบ
ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการและวิธีการของการศึกษาด้วยตนเอง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน
การเรียนรู้ตลอดชีวิตได้
6
ใบความรู้ที่ 1
เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหาหรือตั้งคาถาม
การใช้คาถามเป็นเทคนิคสาคัญในการเสาะแสวงหาความรู้ที่มีประสิทธิภาพ เป็นกลวิธีการสอนที่
ก่อให้เกิดการเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะการคิด การตีความ การไตร่ตรอง การถ่ายทอดความคิด สามารถนาไปสู่
การเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี
การถามเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนสร้างความรู้ ความเข้าใจ และพัฒนา
ความคิดใหม่ ๆ กระบวนการถามจะช่วยขยายทักษะการคิด ทาความเข้าใจให้กระจ่าง ได้ข้อมูลป้อนกลับทั้ง
ด้านการเรียนการสอน ก่อให้เกิดการทบทวน การเชื่อมโยงระหว่างความคิดต่าง ๆ ส่งเสริมความอยากรู้
อยากเห็นและเกิดความท้าทาย
การสังเกต (Observation) วิธีการทางวิทยาศาสตร์มักจะเริ่มจากการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ ที่อยู่
รอบๆ ตัวเรา เมื่อได้ข้อสังเกตบางอย่างที่เราสนใจจะทาให้ได้สิ่งที่ตามมาคือ ปัญหา (Problem) เช่น การ
สังเกต ต้นหญ้าใต้ต้นไม้ใหญ่ หรือต้นหญ้าที่อยู่ใต้หลังคามักจะไม่งอกงาม ส่วนต้นหญ้าในบริเวณใกล้เคียงกันที่
ได้รับแสงเจริญงอกงามดี
การตั้งปัญหา
"แสงแดดมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเจริญงอกงามของต้นหญ้าหรือไม่"
"แบคทีเรียในจานเพาะเชื่อเจริญช้าไม่งอกงามถ้ามีราสีเขียวอยู่ในจานเพาะเชื้อนั้น"
"การตั้งปัญหานั้นสาคัญกว่าการแก้ปัญหา" เพราะ การตั้งปัญหาที่ดีและชัดเจนจะทาให้ผู้ตั้งปัญหา
เกิดความเข้าใจและมองเห็นลู่ทางของการค้นหาคาตอบเพื่อแก้ปัญหาที่ตั้งขึ้น ดังนั้นจึงต้องหมั่นฝึกการสังเกต
สิ่งที่สังเกตนั้นเป็นอะไร? เกิดขึ้นเมื่อไร? เกิดขึ้นที่ไหน? เกิดขึ้นได้อย่างไร? ทาไมจึงเป็นเช่นนั้น?
ระดับของการตั้งคาถาม
การตั้งคาถามมี 2 ระดับ คือ คาถามระดับพื้นฐาน และคาถามระดับสูง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1) คาถามระดับพื้นฐาน เป็นการถามความรู้ ความจา เป็นคาถามที่ใช้ความคิดทั่วไป หรือความคิด
ระดับต่า ใช้พื้นฐานความรู้เดิมหรือสิ่งที่ประจักษ์ในการตอบ เนื่องจากเป็นคาถามที่ฝึกให้เกิดความคล่องตัวใน
การตอบ คาถามในระดับนี้เป็นการประเมินความพร้อมของผู้เรียนก่อนเรียน วินิจฉัยจุดอ่อน – จุดแข็งและ
สรุปเนื้อหาที่เรียนไปแล้ว คาถามระดับพื้นฐานได้แก่
1.1) คาถามให้สังเกต เป็นคาถามที่ให้ผู้เรียนคิดตอบจากการสังเกต เป็นคาถามที่ต้องการ
ให้ผู้เรียนใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าในการสืบค้นหาคาตอบ คือ ใช้ตาดู มือสัมผัส จมูกดมกลิ่น ลิ้นชิมรส และ
หูฟังเสียง ตัวอย่างคาถาม เช่น
- เมื่อนักเรียนฟังเพลงนี้แล้วรู้สึกอย่างไร
- ภาพนี้มีลักษณะอย่างไร
- สารเคมีใน 2 บีกเกอร์ ต่างกันอย่างไร
- พื้นผิวของวัตถุเป็นอย่างไร
1.2) ค าถามทบทวนความจ า เป็ น คาถามที่ ใ ช้ ทบทวนความรู้ เ ดิม ของผู้ เ รีย น เพื่ อ ใช้
เชื่อมโยงไปสู่ความรู้ใหม่ก่อนเริ่มบทเรียน ตัวอย่างคาถาม เช่น
- วันวิสาขบูชาตรงกับวันใด
- ดาวเคราะห์ดวงใดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
- ใครเป็นผู้แต่งเรื่องอิเหนา
- เมื่อเกิดอาการแพ้ยาควรโทรศัพท์ไปที่เบอร์ใด
7

1.3) คาถามที่ให้บอกความหมายหรือคาจากัดความ เป็นการถามความเข้าใจ โดยการให้


บอกความหมายของข้อมูลต่าง ๆ ตัวอย่างคาถาม เช่น
- คาว่าสิทธิมนุษยชนหมายความว่าอย่างไร
- ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาคืออะไร
- สถิติ (Statistics) หมายความว่าอย่างไร
- บอกความหมายของ Passive Voice
1.4) ค าถามบ่ ง ชี้ ห รื อ ระบุ เป็ นค าถามที่ ให้ ผู้ เ รี ย นบ่ง ชี้ ห รื อ ระบุค าตอบจากค าถามให้
ถูกต้อง ตัวอย่างคาถาม เช่น
- ประโยคที่ปรากฏบนกระดานประโยคใดบ้างที่เป็น Past Simple Tense
- คาใดต่อไปนี้เป็นคาควบกล้าไม่แท้
- ระบุชื่อสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง
- ประเทศใดบ้างที่เป็นสมาชิก APEC
2) คาถามระดับสูง เป็นการถามให้คิดค้น หมายถึง คาตอบที่ผู้เรียนตอบต้องใช้ความคิดซับซ้อน
เป็นการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถใช้ส มองซีกซ้ายและซีกขวาในการคิดหา
คาตอบ โดยอาจใช้ความรู้หรือประสบการณ์เดิมมาเป็นพื้นฐานในการคิดและตอบคาถาม ตัวอย่างคาถาม
ระดับสูงได้แก่
2.1) คาถามให้อธิบาย เป็นการถามโดยให้ผู้เรียนตีความหมาย ขยายความ โดยการให้
อธิบายแนวคิดของข้อมูลต่าง ๆ ตัวอย่างคาถาม เช่น
- เพราะเหตุใดใบไม้จึงมีสีเขียว
- นักเรียนควรมีบทบาทหน้าที่ในโรงเรียนอย่างไร
- ชาวพุทธที่ดีควรปฏิบัติตนอย่างไร
- นักเรียนจะปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะทาให้ร่างกายแข็งแรง
2.2) คาถามให้เปรียบเทียบ เป็นการตั้งคาถามให้ผู้เรียนสามารถจาแนกความเหมือน –
ความแตกต่างของข้อมูลได้ ตัวอย่างคาถาม เช่น
- พืชใบเลี้ยงคู่ต่างจากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอย่างไร
- จงเปรียบเทียบวิถีชีวิตของคนไทยในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย
- DNA กับ RNA แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
- สังคมเมืองกับสังคมชนบทเหมือนและต่างกันอย่างไร
2.3) คาถามให้วิเคราะห์ เป็นคาถามให้ผู้เรียนวิเคราะห์ แยกแยะปัญหา จัดหมวดหมู่
วิจารณ์แนวคิด หรือบอกความสัมพันธ์และเหตุผล ตัวอย่างคาถาม เช่น
- อะไรเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดภาวะโลกร้อน
- วัฒนธรรมแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
- สาเหตุใดที่ทาให้นางวันทองถูกประหารชีวิต
- การติดยาเสพติดของเยาวชนเกิดจากสาเหตุใด
2.4) คาถามให้ยกตัวอย่า ง เป็นการถามให้ ผู้เรียนใช้ความสามารถในการคิด นามา
ยกตัวอย่าง ตัวอย่างคาถาม เช่น
- ร่างกายขับของเสียออกจากส่วนใดบ้าง
- ยกตัวอย่างการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์
8

- หินอัคนีสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไรบ้าง
- อาหารคาวหวานในพระราชนิพนธ์กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานได้แก่อะไรบ้าง
2.5) คาถามให้สรุป เป็นการใช้คาถามเมื่อจบบทเรียน เพื่อให้ทราบว่าผู้เรียนได้รับความรู้
หรือมีความก้าวหน้าในการเรียนมากน้อยเพียงใด และเป็นการช่วยเน้นย้าความรู้ที่ได้เรียนไปแล้ว ทาให้
สามารถจดจาเนื้อหาได้ดียิ่งขึ้น ตัวอย่างคาถาม เช่น
- จงสรุปเหตุผลที่ทาให้พระเจ้าตากสินทรงย้ายเมืองหลวง
- เมื่อนักเรียนอ่านบทความเรื่องนี้แล้วนักเรียนได้ข้อคิดอะไรบ้าง
- จงสรุปแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรน้าเพื่อให้เกิดคุณค่าสูงสุด
- จงสรุปขั้นตอนการทาผ้าบาติค
2.6) คาถามเพื่อให้ประเมินและเลือกทางเลือก เป็นการใช้คาถามที่ให้ผู้เรียนเปรียบเทียบ
หรือใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่หลากหลาย ตัวอย่างคาถามเช่น
- การว่ายน้ากับการวิ่งเหยาะ อย่างไหนเป็นการออกกาลังกายที่ดีกว่ากัน เพราะเหตุใด
- ระหว่างน้าอัดลมกับนมอย่างไหนมีประโยชน์ต่อร่างกายมากกว่ากัน เพราะเหตุใด
- ดินร่วนดินทรายและดินเหนียวดินชนิดใดเหมาะแก่การปลูกมะม่วงมากกว่ากันเพราะเหตุใด
- ไก่ทอดกับสลัดไก่ นักเรียนจะเลือกรับประทานอาหารชนิดใด เพราะเหตุใด
2.7) คาถามให้ประยุกต์ เป็นการถามให้ผู้เรียนใช้พื้นฐานความรู้เดิมที่มีอยู่มาประยุกต์ใช้ใน
สถานการณ์ใหม่หรือในชีวิตประจาวัน ตัวอย่างคาถามเช่น
- นักเรียนมีวิธีการประหยัดพลังงานอย่างไรบ้าง
- เมื่อนักเรียนเห็นเพื่อนในห้องขาแพลง นักเรียนจะทาการปฐมพยาบาลอย่างไร
- นักเรียนนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต
ประจาวันอย่างไรบ้าง
- นักเรียนจะทาการส่งข้อความผ่านทางอีเมลล์ได้อย่างไร
2.8) คาถามให้สร้างหรือคิดค้นสิ่งใหม่ ๆ หรือผลิตผลใหม่ ๆ เป็นลักษณะการถามให้
ผู้เรียนคิดสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ ที่ไม่ซ้ากับผู้อื่นหรือที่มีอยู่แล้ว ตัวอย่างคาถามเช่น
- กระดาษหนังสือพิมพ์ที่ไม่ใช้แล้ว สามารถนาไปประดิษฐ์ของเล่นอะไรได้บ้าง
- กล่องหรือลังไม้เก่า ๆ สามารถดัดแปลงกลับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างไร
- เสื้อผ้าที่ไม่ใช้แล้ว นักเรียนจะนาไปดัดแปลงเป็นสิ่งใดเพื่อให้เกิดประโยชน์
- นักเรียนจะนากระดาษที่ใช้เพียงหน้าเดียวมาประดิษฐ์เป็นสิ่งใดบ้าง
การตั้งคาถามระดับสูงจะทาให้ผู้เรียนเกิดทักษะการคิดระดับสูง และเป็นคนมีเหตุผล ผู้เรียนไม่
เพียงแต่จดจาความรู้ ข้อเท็จจริงได้อย่างเดียวแต่สามารถนาความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหา วิเคราะห์ และ
ประเมินสิ่งที่ถามได้ นอกจากนี้ยังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจสาระสาคัญของเรื่องราวที่เรียนได้อย่างถูกต้องและ
กระตุ้นให้ผู้เรียนค้นหาข้อมูลมาตอบคาถามด้วยตนเอง การตอบคาถามระดับสูง ผู้สอนต้องให้เวลาผู้เรียนใน
การคิดหาคาตอบเป็นเวลามากกว่าการตอบคาถามระดับพื้นฐาน เพราะผู้เรียนต้องใช้เวลาในการคิดวิเคราะห์
อย่างลึกซึ้งและมีวิจารณญาณในการตอบคาถาม ความผิดพลาดอย่างหนึ่งของการตั้งคาถามคือ การถามแล้ว
ต้องการคาตอบในทันทีโดยไม่ให้เวลาผู้เรียนในการคิดหาคาตอบ
9

ใบงานที่ 1
เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหาหรือตั้งคาถาม

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามลงในช่องว่างให้ได้ใจความถูกต้องสมบูรณ์
1. เทคนิคสาคัญในการเสาะแสวงหาความรู้ที่มีประสิทธิภาพ เป็นกลวิธีการสอนที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้
ที่พัฒนาทักษะการคิด การตีความ การไตร่ตรอง การถ่ายทอดความคิด คือ………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….
2. กระบวนการเรียนรู้โดยการถาม ช่วยให้ผู้เรียนเป็นอย่างไร………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………
………………………………………………………………………………..……………………………………………………
การสังเกต (Observation) เป็นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เมื่อได้ข้อสังเกตบางอย่างที่เราสนใจจะทาให้
ได้สิ่งที่ตามมาคือ ………………………………………………………………………………………..……………………
3. ที่กล่าวว่า "การตั้งปัญหานั้นสาคัญกว่าการแก้ปัญหา" เพราะเหตุใด
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………
4. ระดับของการตั้งคาถามมี กี่ ระดับ อะไรบ้าง…………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………
เป็นการถามความรู้ ความจา คาถามที่ใช้ความคิดทั่วไป หรือความคิดระดับต่า ใช้พื้นฐานความรู้
เดิมหรือสิ่งที่ประจักษ์ในการตอบ เป็นการประเมินความพร้อมของผู้ เรียนก่อนเรียน วินิจฉัยจุดอ่อน
– จุดแข็งและสรุปเนื้อหาที่เรียนไปแล้ว เรียกว่า……………………………………………………………………………
5. คาถามระดับพื้นฐานได้แก่…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………
คาถามระดับสูง เป็นการถามให้คิดค้น หมายถึง ………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………
6. ตัวอย่างคาถามระดับสูงได้แก่…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………
7. ทาให้ ผู้ เรี ยนเกิดทักษะการคิดระดับสู ง และเป็นคนมีเหตุผ ล ผู้ เรียนไม่เพียงแต่จดจาความรู้
ข้อเท็จจริงได้อย่างเดียวแต่สามารถนาความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหา วิเคราะห์ และประเมินสิ่ง ที่ถาม
ได้ เป็นคาถามระดับใด………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………

ชื่อ………………………...…………………………ชั้น………….เลขที…
่ ………..
10

ใบงานที่ 2
เรื่อง การฝึกตั้งคาถาม

คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกตั้งคาถามตามลักษณะคาถามที่กาหนดให้พร้อมเขียนตอบลงในช่องว่าง

ระดับการตั้งคาถาม ลักษณะคาถาม คาถาม


ขั้นพื้นฐาน 1.ให้สังเกต

2.ทบทวนความจา

3.บอกให้ความหมายหรือคา
จากัดความ
4.บ่งชี้หรือระบุ

ขั้นสูง 1.ให้อธิบาย

2.ให้เปรียบเทียบ

3.ให้วิเคราะห์

4.ให้ยกตัวอย่าง

5.ให้สรุป

6.ให้ประเมินและเลือก
ทางเลือก
7.ให้ประยุกต์

8.ให้สร้างหรือคิดค้นสิ่ง
ใหม่ๆหรือผลิตผลใหม่ๆ

ชื่อ………………………...…………………………ชั้น………….เลขที…
่ ………..
11

ใบงานที่ 3
เรื่อง การวิเคราะห์ / ตั้งคาถาม / ระบุปัญหาของตนเอง

1. ปัญหาของตนเองคืออะไร
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................

2. ปัญหาของตนเองนั้นมีสาเหตุ มาจากอะไรบ้าง
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................

3. ควรมีวิธีการแก้ไขปัญหาของตนเองได้อย่างไรบ้าง
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................

ชื่อ………………………...…………………………ชั้น………….เลขที…
่ ………..
12

ใบงานที่ 4
เรื่อง การวิเคราะห์ / ตั้งคาถาม / ระบุปัญหาของชุมชน

1. ปัญหาของชุมชนคืออะไร
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................

2. ปัญหาชุมชนนั้นมีสาเหตุ มาจากอะไรบ้าง
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................

3. ควรมีวิธีการแก้ไขปัญหาของชุมชนได้อย่างไรบ้าง
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................

ชื่อ………………………...…………………………ชั้น………….เลขที…
่ ………..
13

ใบงานที่ 5
เรื่อง การวิเคราะห์ / ตั้งคาถาม / ระบุปัญหาของประเทศ

1. ปัญหาของประเทศชาติคืออะไร
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................

2. ปัญหาของประเทศชาตินั้นมีสาเหตุ มาจากอะไรบ้าง
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................

3. ควรมีวิธีการแก้ไขปัญหาของประเทศชาติได้อย่างไรบ้าง
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................
………………………………………………………………………………………………………….…......................................

ชื่อ………………………...…………………………ชั้น………….เลขที…
่ ………..
14

ใบงานที่ 6
เรื่อง การตั้งคาถาม / การระบุประเด็นปัญหา

คาชี้แจง ให้นักเรียนช่วยกันคิดระดมพลังสมองตั้งคาถาม/ข้อสงสัยและระบุประเด็นปัญหาที่กลุ่มตนเองสนใจ

ที่ คาถาม/ข้อสงสัย ประเด็นปัญหา


1 …………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………
2
…………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………
3
…………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………
4
…………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………
5
…………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………
6
…………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………
7
…………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………
8
…………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………
9
…………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………
10
…………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………

ชื่อ………………………...…………………………ชั้น………….เลขที…
่ ………..
15

ใบความรู้ที่ 2
เรื่อง การตั้งสมมติฐาน

1. สมมติฐาน หมายถึง ความเชื่อของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือ ของกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งหรืออาจกล่าวได้


ว่า สมมติฐานเป็นสิ่งที่บุคคลหรือกลุ่มบุคคลคาดว่าจะเกิดขึ้นโดยที่ความเชื่อหรือสิ่งที่คาดนั้นจะเป็นจริงหรือไม่
ก็ได้ เช่น
- เจ้าของร้านค้าปลีกคาดว่าจะมีกาไรสุทธิจากการขายสินค้าต่อปีไม่ต่ากว่า 500,000 บาท
- หัวหน้าพรรคการเมือง A …..คาดว่าการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในคราวหน้า
พรรคอื่นๆ จะได้ที่นั่งในสภาต่ากว่า 50% ของทั้งหมด
- คาดว่ารายได้เฉลี่ยต่อเดือนของประชากรในจังหวัดพิษณุโลกเท่ากับ 15,000 บาท
2. ความแตกต่างของสมมติฐานกับการพยากรณ์
การตั้งสมมติฐาน คือ การทานายผลล่วงหน้าโดยไม่มีหรือไม่ทราบ ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องระหว่าง
ข้อมูล
การพยากรณ์ คือ การทานายผลล่วงหน้าโดยการมีหรือทราบความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ในการทานายล่วงหน้า
3. หลักการตั้งสมมุติฐาน
1) สมมติฐานต้องเป็นข้อความที่บอกความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรต้น กับ ตัวแปรตาม
2) ในสถานการณ์หนึ่ง ๆ อาจตั้งหนึ่งสมมติฐานหรือหลายสมมติฐานก็ไ ด้ สมมติฐานที่ตั้งขึ้น
อาจจะถูกหรือผิดก็ได้ ดังนั้นจาเป็นต้องมีการทดลองเพื่อตรวจสอบว่า สมมติฐานที่ตั้งขึ้นนั้นเป็นที่ยอมรับ
หรือไม่ซึ่งจะทราบภายหลังจากการทดลองหาคาตอบแล้วตัวอย่างการตั้งสมมติฐาน
อะไรมีผลต่อความเร็วรถ (ความเร็วรถขึ้นอยู่กับปัจจัยอะไรบ้าง)
สมมติ ว่ า นั ก เรี ย นเลื อ กขนาดของยางรถยนต์ เป็ น ตั ว แปรที่ ต้ อ งการทดสอบ ก็ อ าจ
ตั้งสมมติฐานได้ว่าเมื่อขนาดของยางรถยนต์ใหญ่ขึ้น ความเร็วของรถยนต์จะลดลง
(ตัวแปรต้น : ขนาดของยางรถยนต์) (ตัวแปรตาม : ความเร็วของรถยนต์)
4. การตั้งสมมติฐานที่ดี ควรมีลักษณะดังนี้
1) เป็นสมมติฐานที่เข้าใจง่าย มักนิยมใช้วลี “ถ้า…ดังนั้น”
2) เป็นสมมติฐานที่แนะลู่ทางที่จะตรวจสอบได้
3) เป็นสมมติฐานที่ตรวจได้โดยการทดลอง
4) เป็นสมมติฐานที่สอดคล้องและอยู่ในขอบเขตข้อเท็จจริงที่ได้จากการสังเกตและสัมพันธ์กับ
ปัญหาที่ตั้งไว้
สมมติฐานที่เคยยอมรับอาจล้มเลิกได้ถ้ามีข้อมูลจากการทดลองใหม่ๆ มาลบล้าง แต่ก็มีบางสมมติฐาน
ที่ไม่มีข้อมูลจากการทดลองมาคัดค้านทาให้สมมติฐานเหล่านั้นเป็นที่
ยอมรับว่าถูกต้อง เช่น สมมติฐานของเมนเดลเกี่ยวกับหน่วยกรรมพันธุ์ ซึ่งเปลี่ยนกฎการแยกตัวของยีน หรือ
สมมติฐานของอโวกาโดรซึ่งเปลี่ยนเป็นกฎของอโวกาโดร
16

ตัวอย่างการตั้งสมมติฐาน

ข้อสงสัย/ข้อสังเกต/ปัญหา “ทาไมหญ้าบริเวณใต้ต้นไม้จึงไม่งอกงามเท่าหญ้าที่อยู่กลางแจ้ง”
ประเด็นปัญหา “แสงแดดมี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งกั บ การเจริ ญ งอกงามของต้ น หญ้ า
หรือไม่”
สมมติฐาน “ถ้า แสงแดดมีส่ ว นเกี่ยวข้อ งกับ การเจริญงอกงามของต้น หญ้ า
ดังนั้น
ต้นหญ้าบริเวณที่ไม่ได้รับแสงแดดจะไม่งอกงามหรือตายไป”
หรือ “ถ้า แสงแดดมีส่ ว นเกี่ยวข้อ งกับ การเจริญงอกงามของต้น หญ้ า
ดังนั้น
ต้นหญ้าบริเวณที่ได้รับแสงแดดจะเจริญงอกงาม”

ข้อสงสัย/ข้อสังเกต/ปัญหา “ความเร็วรถขึ้นอยู่กับปัจจัยอะไรบ้าง”
ประเด็นปัญหา “ขนาดของยางรถยนต์มีผลต่อความเร็วของรถยนต์หรือไม่”
สมมติฐาน “เมื่อขนาดของยางรถยนต์ใหญ่ขึ้น ความเร็วของรถยนต์จะลดลง”
ข้อสงสัย/ข้อสังเกต/ปัญหา “นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/…..ชอบอ่านหนังสือประเภทใด”
ประเด็นปัญหา “ศึกษาพฤติกรรมการเลือกอ่านหนังสือของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ...”
สมมติฐาน “ถ้านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ……. มีนิสัยชอบเพ้อฝัน ดังนั้นนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่…..ชอบอ่านหนังสือนวนิยาย”

(การวิจัยเชิงสารวจไม่ต้องตั้งสมมติฐานก็ได้)
17

ใบงานที่ 7
เรื่อง การตั้งสมมติฐาน

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามลงในช่องว่างให้ได้ใจความถูกต้องสมบูรณ์

1. สมมติฐาน
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................
2. การตั้งสมมติฐาน คือ
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................
3. การพยากรณ์ คือ
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................
4. บอกหลักในการตั้งสมมติฐาน
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................
5. บอกลักษณะการตั้งสมมติฐานที่ดี
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................

ชื่อ………………………...…………………………ชั้น………….เลขที…
่ ………..
18

ใบงานที่ 8
เรื่อง การฝึกตั้งสมมติฐาน

คาชี้แจง ให้นักเรียนตั้งสมมติฐานตามประเด็นปัญหาที่กาหนดให้ ดังนี้

ที่ ประเด็นปัญหา สมมติฐาน


ตัว วิธีการเลี้ยงดูของผู้ปกครองมีผลต่อ วิธีการเลี้ยงดูของผู้ปกครองมีผลต่อพฤติกรรมการ
อย่าง พฤติกรรมการก้าวร้าวของเด็ก ก้าวร้าวของเด็ก
การสารวจพฤติกรรมการใช้ผงชูรสในการ
1 ……………………………………………………………………………
ประกอบอาหารของแม่ค้าโรงเรียน….
……………………………………………………………………………
2 การสารวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ของ
……………………………………………………………………………
นักเรียน
……………………………………………………………………………
3 ผลกระทบที่เกิดจากการที่ไม่ได้อยู่อาศัยกับ
……………………………………………………………………………
บิดา-มารดาของนักเรียน
……………………………………………………………………………
4 การสกัดสีจากวัสดุธรรมชาติเพื่อนามาใช้
……………………………………………………………………………
แทนสีน้า
……………………………………………………………………………
5 การศึกษาสมุนไพรที่มีผลต่อการดับกลิ่นเท้า
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
6 สารวจพฤติกรรมเกี่ยวกับการบริโภค
……………………………………………………………………………
เครื่องดื่มของนักเรียน
……………………………………………………………………………
7 ผลกระทบที่เกิดจากสภาวะน้ามันแพง
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
8 การสารวจการเล่นเกมออนไลน์ของนักเรียน
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
9 การสารวจการประหยัดพลังงานไฟฟ้าของ
……………………………………………………………………………
นักเรียน
……………………………………………………………………………
10 การศึกษาผลการจัดทาบัญชีครัวเรือนของ
……………………………………………………………………………
ครอบครัว
……………………………………………………………………………

ชื่อ………………………...…………………………ชั้น………….เลขที…
่ ………..
19

ใบความรู้ที่ 3
เรื่อง ประเด็นปัญหาและสมมติฐาน

การตั้งประเด็นปัญหา
การวิจัย เป็นการหาคาตอบที่อยากรู้ ที่สงสัย ที่เป็นปัญหาข้องใจ แต่คาตอบนั้นต้องเชื่อถือได้ ไม่ใช่
การคาดเดา หรือคิดสรุปไปเองโดยใช้ความรู้สึก วิธีการหาคาตอบจึงต้องเป็นกระบวนการ ขั้นตอนอย่างเป็น
ระบบ ตัวอย่าง เช่น
- ถ้าต้องการทราบว่านัก เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/…..โรงเรียนลือคาหาญวารินชาราบ ชอบ
อ่านหนังสือประเภทใด
จะคาดเดาเองหรือไปสอบถามนักเรียนเพียงหนึ่งคน สองคน แล้วมาสรุปว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
2/…..โรงเรียนลือคาหาญวารินชาราบ ชอบอ่านหนังสือประเภทนั้น ประเภทนี้ไม่ได้
แต่ต้องทาแบบสอบถามให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/…..โรงเรียนลือคาหาญวารินชาราบ เป็น
ผู้ตอบแล้วนามาสรุปคาตอบข้อค้นพบที่ได้ เป็นต้น
ผลที่ได้จากการทาวิจัย นอกจากจะได้คาตอบที่ต้องการแล้ว ผู้วิจัยเองก็ได้ประโยชน์จาก
การทาวิจัย คือ การเป็นคนช่างคิด ช่างสังเกต ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ และเขียนเรียบเรียง อย่างเป็นระบบ
นอกจากนั้นการวิจัยจะเกิดประโยชน์ในภาพรวม ดังนี้
1. การวิจัยทาให้เกิดความรู้ทางวิชาการใหม่ๆ
2. การวิจัยทาให้เกิดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ แนวคิดใหม่ๆ
3. การวิจัยช่วยตอบคาถามที่อยากรู้ ให้เข้าใจปัญหา และช่วยในการแก้ปัญหา
4. การวิจัยช่วยในการวางแผนและตัดสินใจ
5. การวิจัยช่วยให้ทราบผลและข้อบกพร่องจากการดาเนินงาน
การค้นหาความรู้ ความจริง และตรวจสอบความถูกต้อง ความรู้ ความจริงของ ชาร์ล ดาร์วิน
( Charles Darwin ) ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) เป็นวิธีการหาความรู้
ความจริงที่น่ าเชื่อถือที่สุ ดการวิจัยได้นาเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์นี้ขึ้นมาประยุกต์เป็นกระบวนการวิจัย
ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้
1. ขั้นปัญหา (Problem) เป็นขั้นตอนที่เราสังเกตพบปัญหาความต้องการความรู้ความจริงหนึ่งว่ามี
เหตุการณ์หรือสภาพการณ์เป็นอย่างไร มีเหตุหรือปัจจัยอะไรที่ทาให้เกิดเหตุการณ์หรือสภาพเหตุการณ์นั้น
2. วิธีตั้งสมมติฐาน (Hypothesis) ในขั้นตอนนี้เราจะต้องศึกษาทบทวนความรู้เดิมมาประกอบการ
พิจารณาว่าคาตอบของปัญหาในขั้นที่ 1 นั้นจะเป็นอย่างไร ซึ่งเรียกว่า การตั้งสมมติฐ าน ซึ่งจะเป็นแนวในการ
ตรวจสอบว่า สมมติฐานที่ตั้งขึ้นจะเป็นจริงหรือไม่
3. ขั้นรวบรวมข้อมูล (Gathering Data) ในขั้นนี้เราจะทาการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง มาอย่าง
เพียงพอและตรงกับสิ่งที่ต้องการศึกษา
4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis) ในขั้นนี้จะเป็นการนาข้อมูลที่รวบรวมมาทาการวิเคราะห์เพื่อมาหา
ลักษณะร่วมหรือสอดคล้องกันของข้อมูลเหล่านั้น และพิจารณาว่าข้อมูลเหล่านี้มีกี่ลักษณะและแตกต่างอย่างไร
เป็นต้น
5. ขั้นสรุป (Conclusion) ในขั้นตอนนี้นาผลการวิเคราะห์มาแปลผลและตีความผลการวิจัยที่พบ อัน
เป็นการสรุปผลการวิจัย
20

กระบวนการและขั้นตอนการทาวิจัยอย่างง่าย
1. ขั้นปัญหา (Problem) เป็นขั้นตอนที่เราสังเกตพบปัญหาความต้องการความรู้ความจริงหนึ่งว่ามี
เหตุการณ์หรือสภาพการณ์เป็นอย่างไร มีเหตุหรือปัจจัยอะไรที่ทาให้เกิดเหตุการณ์หรือสภาพเหตุการณ์นั้น
การตั้งประเด็นปัญหานั้นสาคัญกว่าปัญหา เพราะการตั้งประเด็นปัญหาที่ดีและชัดเจนจะทาให้ผู้ตั้งปัญหาเกิด
ความเข้าใจและมองเห็นลู่ทางของการค้นหาคาตอบเพื่อแก้ปัญหาที่ตั้งขึ้น
การสังเกตและการตั้งปัญหา (Observation problem)
การสังเกต (Observation) วิธีทางการวิทยาศาสตร์มักจะเริ่มจากการสังเกตปรากฎการณ์ต่างๆที
อยู่รอบตัวเรา เมื่อได้ข้อสังเกตบางอย่างที่เราสนใจจะทาให้ได้สิ่งที่ตามมาคือ ปัญหา (Problem) เช่น การ
สังเกต ต้นหญ้าใต้ต้นไม้ใหญ่ หรือต้นหญ้าที่อยู่ใต้หลังคามักจะไม่งอกงาม ส่วนต้นหญ้าบริเวณใกล้เคียงที่ได้รับ
แสงแดดเจริญงอกงามได้ดี
การตั้งปัญหา “แสงแดดมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเจริญงอกงามของต้อนหญ้าหรือไม่”
ดังนั้นการตั้งประเด็นปัญหาต้องหมั่นฝึกการสังเกตสิ่งที่สังเกตนั้น เป็นอะไร เกิดขึ้นเมื่อใด เกิดขึ้น
ที่
ไหน เกิดขึ้นได้อย่างไร ทาไมถึงเป็นเช่นนั้น
ขั้นตอนแรกของการวิจัย มักจะเริ่มต้นจากผู้วิจัยอยากรู้อะไร มีปัญหาข้อสงสัยอะไร เป็นขั้นตอน
การกาหนดคาถามวิจัย/ปัญหาวิจัย
ตัวอย่างคาถามการวิจัย/ปัญหาการวิจัย (การตั้งประเด็นปัญหา)
- นักร้องในดวงใจวัยรุ่นคือใคร นักการเมืองในดวงใจวัยรุ่นคือใคร
- วัยรุ่นใช้เวลาว่างทาอะไร
- การศึกษาผลการจัดบัญชีครัวเรือนของ…
- วิธีการเลี้ยงดูของผู้ปกครองที่ลดพฤติกรรมของบุตร
- วิธีการลดสภาวะโลกร้อนของนักเรียนในโรงเรียน..
- การสารวจความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียน..ในการใช้ห้องไอซีที-
- การใช้กระแสไฟฟ้าจากแบตเตอรี่กับแม่แรงเพื่อกับล้อรถยนต์
- การผลิตเซลล์พลังงานไฟฟ้าด้วยวิธีการหมักกล้วยหยวก
- การสารวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ของนักเรียนในโรงเรียน..
- การสารวจพฤติกรรมการให้ของขวัญของนักเรียนในโรงเรียน..
- การสารวจการเลือกอ่านหนังสือนอกเวลาของนักเรียน..
- การสารวจการประหยัดพลังงานไฟฟ้าของนักเรียน
- การสารวจพฤติกรรมการเข้าวัดของนักเรียน..
- ผลกระทบที่เกิดจากสภาวะน้ามันแพงของผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียน..
- ผลกระทบที่เกิดจากการไม่ได้อาศัยกับบิดามารดาของนักเรียน..
- สารวจความนิยมและเหตุผลของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่1 ของโรงเรียน..ต่อการเลือกเรียนใน
สถาบันกวดวิชา
- ความคิดเห็นของนักเรียนชั้น…ปีการศึกษา..ที่มีโปรแกรมเรียนอังกฤษแบบเข้ม
- ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารเสริมด้านความงามของ..
- สารวจพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มของนักเรียน
- ศึกษาสาเหตุของความเครียดและวิธีคลายเครียดของ..
21

- การศึกษาการใช้โปรแกรม Facbook ของนักเรียน..


- การศึกษาและสารวจปัญหาด้านตัวนักเรียนและด้านสภาพแวดล้อม
- สารวจพฤติกรรมการเล่นเกมออนไลน์ของนักเรียน..
- ความพึงพอใจต่อสิ่งอานวยความสะดวกของนักเรียน..
- พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งของนักเรียน
- วัฒนธรรมต่างชาติมีอิทธิพลต่อนักเรียน
- การสารวจการมีมารยาทในการใช้ห้องสมุดของนักเรียน
- การสารวจพฤติกรรมการทาความสะอาดของนักเรียนระดับชั้น….
- การผลิตน้ายาขัดรองเท้าจากเปลือกส้ม
- การผลิตแชมพูสุนัขจากใบน้อยหน่า
- การศึกษาสมุนไพรที่มีผลต่อการดับกลิ่นเท้า
- การสารวจพฤติกรรมการใช้ผงชูรสในการประกอบอาหารของแม่ค้าโรงเรียน…..
- การเปรียบเทียบวิธีการบาบัดน้าเสียระหว่างการกรองด้วยผักตบชวา กับ การบาบัดด้วย EM ที่
มี
ประสิทธิภาพมากที่สุด
- การศึกษาประสิทธิภาพของสมุนไพรในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราในถั่วลิสง
- การศึกษาการชาร์จแบตเตอรรี่เครื่อง MP 3 ด้วยมะนาว
- การเปรียบเทียบการปลูกผักแบบไฮโดรโปนิกส์ที่ใช้ปุ๋ยสารละลายธาตุอาหารกับปุ๋ยชีวภาพ
- การฟังดนตรีคลาสสิค ป๊อป และร็อคที่มีต่อความสามารถในการจดจา
- การสกัดสีจากวัสดุธรรมชาติเพื่อนามาใช้แทนสีน้า
- การศึกษาจิตสานึกในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของนักเรียนโรงเรียน…
- การสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดแข่งขันกีฬาสีภายในโรงเรียน….
- การสารวจความรู้และความคิดเห็นเกี่ยวกับเทคโนโลยีระบบ 3 G ของนักเรียน….
- การศึกษาความสดของดอกไม้ เมื่อปักไว้ในสารละลายต่างชนิดกัน
- การศึกษาการใช้เวลาว่างของนักเรียน…
- การศึกษาปัญหาการติดเกมของนักเรียน….

ฯลฯ
22
ใบงานที่ 9
เรื่อง ประเด็นปัญหากับการตั้งสมมติฐาน

คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเนื้อหาจากใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ประเด็นปัญหาและสมมติฐาน


แล้วให้ระดมความคิดเห็นจากสมาชิกในกลุ่ม ตั้งประเด็นปัญหาที่สนใจมาสัก 10 ประเด็น (อาจเลือกประเด็น
จากในใบความรู้หรือเลือกประเด็นอื่นตามที่สนใจได้)
1. ประเด็นปัญหาจากการระดมความคิดเห็นของสมาชิกในกลุ่ม ที่สนใจ 10 ประเด็น มีดังนี้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ให้แต่ละกลุ่มอภิปรายเพื่อคัดเลือกประเด็น 3 ประเด็น จากประเด็นในข้อที่ 1 โดยบอกเหตุผล
ประกอบ
ประเด็นที่ 1……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เหตุผล……………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ประเด็นที่ 2……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เหตุผล……………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ประเด็นที่ 3……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เหตุผล……………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
23

3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มตั้งสมมติฐานตามประเด็นปัญหาที่ตั้งไว้ 3 ประเด็น
ประเด็นปัญหาที่ 1…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สมมติฐาน………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ประเด็นปัญหาที่ 2…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สมมติฐาน………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ประเด็นปัญหาที่ 3…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สมมติฐาน………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายเพื่อคัดเลือกประเด็นเพื่อทาการศึกษาค้นคว้าให้เหลือเพียง 1 ประเด็น พร้อม
อธิบายและให้เหตุผลประกอบ
ประเด็นปัญหาที่เลือก………………………………………………………………………………….………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สมมติฐาน………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เหตุผลที่เลือกประเด็นนี้……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ชื่อกลุ่ม……………………………………..
ชื่อ-สกุล.................................................................... ชั้น ม.2/.......... เลขที่ ...............
ชื่อ-สกุล.................................................................... ชั้น ม.2/.......... เลขที่ ...............
ชื่อ-สกุล.................................................................... ชั้น ม.2/.......... เลขที่ ...............
ชื่อ-สกุล.................................................................... ชั้น ม.2/.......... เลขที่ ...............
24

ใบความรู้ที่ 4
เรื่อง การออกแบบ วางแผน รวบรวมข้อมูล

การตรวจสอบสมมติฐาน จะต้องยึดข้อกาหนดสมมติฐานไว้เป็นเหลักเสมอ (เนื่องจากสมมติฐานที่ดี


ได้แนะลู่ทางการตรวจสอบและออกแบบการตรวจสอบไว้แล้ว) โดยการตรวจสอบสมมติฐานนี้ได้จากการสังเกต
และการรวบรวมข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์ธรรมชาติ
การทดลอง เป็นกระบวนการปฏิบัติ หรือหาคาตอบหรือตรวจสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้โดยการทดลอง
เพื่อทาการค้นคว้าหาข้อมูลและตรวจสอบดูว่าสมมติฐานข้อใดเป็นคาตอบที่ถูกต้องที่สุด ประกอบด้วยกิจกรรม
3 กระบวนการ คือ
3.1 การออกแบบการทดลอง คือการวางแผนการทดลองก่อนที่จะลงมือปฏิบัติจริงโดยให้สอดคล้อง
กับสมมติฐานที่ตั้งไว้เสมอ และควบคุมปัจจัยหรือตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการทดลอง แบ่งได้เป็น 3 ชนิด คือ
3.1.1 ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น (Independent Variable or Manipulated Variable)
คือปัจจัยที่เป็นสาเหตุทาให้เกิดผลการทดลองหรือตัวแปรที่ต้องศึกษาทาการตรวจสอบดูว่าเป็นสาเหตุที่ก่อให้
เกิดผลเช่นกัน
3.1.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ ผลที่เกิดจากการทดลอง ซึ่งต้องใช้วิธีการ
สังเกตหรือวัดผลด้วยวิธีการต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลไว้ และจะเปลี่ยนแปลงไปตามตัวแปรอิสระ
3.1.3 ตัวแปรที่ต้องควบคุม (Control Variable) คือปัจจัยอื่นๆ ที่นอกเหนือจากตัวแปรต้นที่
มีผลต่อการทดลอง และต้องควบคุมให้เหมือนกันทุกชุดการทดลอง เพื่อป้องกันไม่ให้ผลการทดลองเกิดความ
คลาดเคลื่อนในการตรวจสอบสมมติฐาน นอกจากจะควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อการทดลองจะต้องแบ่งชุดการ
ทดลองออกเป็น 2 ชุด ดังนี้
ชุดทดลอง หมายถึง ชุดที่เราใช้ศึกษาผลของตัวแปรอิสระ
ชุดควบคุม หมายถึง ชุดของการทดลองที่ใช้เป็นมาตาฐานอ้างอิง เพื่อเปรียบเทียบ
ข้อมูลที่ได้จากการทดลอง ซึ่งชุดควบคุมนี้จะมีตัวแปรต่างๆ เหมือนชุดทดลองแต่จะแตกต่างจากชุดทดลอง
เพียง 1 ตัวแปรเท่านั้น คือตัวแปรที่เราจะตรวจสอบหรือตัวแปรอิสระ
3.2 การปฏิบัติการทดลอง ในกิจกรรมนี้จะลงมือปฏิบัติการทดลองจริงโดยจะดาเนินการไปตาม
ขั้นตอนที่ได้ออกแบบไว้ และควรจะทดลองซ้าๆ หลายๆ ครั้งเพื่อให้แน่ใจว่าได้ผลเช่นนั้นจริง
3.3 การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกที่ได้จากการทดลองซึ่งข้อมูลที่ได้นี้สามารถ
รวบรวมไว้ใช้สาหรับยืนยันว่าสมมติฐานที่ตั้งไว้ถูกต้องหรือไม่
25

ในบางครั้งข้อมูลอาจได้มาจากการสร้างข้อเท็จจริง เอกสาร จากการสังเกตปรากฏการณ์ หรือจาก


การซักถามผู้รอบรู้ แล้วนาข้อมูลที่ได้มานั้นไปแปรผลและลงข้อสรุปในต่อไป ดั้งนั้น การรวบรวมข้อมูลเป็น
สิ่งจาเป็นในวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่าง
เมื่อคาดคะเนคาตอบว่า "แสงแดดทาให้ต้นหญ้าเจริญงอกงาม ดังนั้นต้นหญ้าที่ถูกแสงแดด
จะเจริญงอกงาม ส่วนต้นหญ้าที่ไม่ถูกแสงแดดจะไม่เจริญงอกงามหรือเฉาตายไป" ดังนั้นในขั้นนี้จะเป็นขั้นที่จะ
ตรวจสอบว่า คาตอบที่เราคาดคะเนไว้นี้จะถูกต้องหรือไม่ โดยอาจออกแบบการทดลองได้ดังนี้
นาต้นหญ้า (หรือพืชชนิดอื่นก็ได้เช่นถั่วเขียวที่ต้องเหมือนกันทั้ง 2 กลุ่มชุดการทดลอง) ปลูก
ในทีมีแสงแดด ส่ วนอีกหนึ่งกลุ่ มปลู กใช้สั งกะสีมาครอบไว้ไม่ให้ได้รับแสงแดด (จัดชุดการทดลองและชุด
ควบคุมให้เหมือนกันทุกประการยกเว้นการได้รับแสงแดด กับไม่ได้รับแสงแดด) ทาการควบคุมทั้งปริมาณน้า
ที่รดทั้ง 2 กลุ่มนี้เท่าๆ กัน ประมาณ 2สัปดาห์ ทาการสังเกตและบันทึกผล
* ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ แสงแดด
* ตัวแปรตาม คือ ต้นหญ้าเจริญงอกงาม (หรือการเจริญเติบโตของต้นหญ้า)
* ตัวแปรที่ต้องควบคุม คือ ปริมาณน้า, ชนิดของดิน, ปริมาณของดิน, ชนิดของกระถางที่ใช้
ปลูก, ชนิดของต้นหญ้า
นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยความสูงของต้นหญ้า หรือการนาจานวนใบของต้นหญ้า ซึ่งเรา
พบว่าต้นหญ้าที่ได้รับแสงแดดจะเจริญเติบโตงอกงามดีส่วนต้นหญ้าที่ไม่ได้รับแสงแดดจะมีสีเหลืองหรือสีขาว
ซีด และไม่งอกงาม จากนั้นก็สรุปผลการทดลอง
ออกแบบการทดลอง

ที่มา http://e-learning.snru.ac.th/els/scilife/unit1/t2-33.htm
สืบค้นเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2556
26

ใบงานที่ 10
เรื่อง การออกแบบ วางแผน รวบรวมข้อมูล

คาชี้แจง ให้นักเรียนออกแบบ วางแผน และรวบรวมข้อมูล

1. การตรวจสอบสมมติฐานต้องยึด……………………………………………………………..เป็นหลักในการตรวจสอบเสมอ
โดยการตรวจสอบสมมติฐานนี้ได้จาก ……………………………………………………………………………………………………
2. บอกคาจากัดความของการทดลอง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. การทดลองประกอบด้วยกิจกรรม 3 กระบวนการ คือ
3.1………………………………………………………………………………………………………………………………………….
3.2…………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.3…………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. การออกแบบการทดลอง คือ………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. การออกแบบการทดลอง แบ่งได้เป็น 3 ชนิด คือ
5.1………………………………………………………………………………………………………………………………………….
5.2…………………………………………………………………………………………………………………………………………
5.3…………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น (Independent Variable or Manipulated Variable) คือ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
8. ตัวแปรที่ต้องควบคุม (Control Variable) คือ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
9. ชุดทดลอง คือ…………………………………………………………………………………………………………………………………..
ชุดควบคุม คือ………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
10. การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง ………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ชื่อ………………………...…………………………ชั้น………….เลขที…
่ ………..
27
ใบความรู้ที่ 5
เรื่อง การเก็บรวบรวมข้อมูล

ขั้นตอนสาคัญในการทาวิจัย หลังจากได้ปัญหา วัตถุประสงค์และสมมติฐานในการวิจัยแล้ว ขั้นตอนที่


สาคัญตามมา คือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล
คือการที่ผู้วิจัยพยายามรวบรวมหลักฐานต่างๆ นามาพิจารณา วิเคราะห์วิจารณ์ แล้วสรุปผลมาเป็นคาตอบ
ปัญหาการวิจัยว่าเป็นไปตามที่ได้ตั้งสมมติฐานไว้หรือไม่ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล มีวิธีการหลายอย่าง เช่น
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยตรงจากผู้ให้ข้อมูล รวบรวมข้อมูลที่มีอยู่เดิ มแล้ว หรือใช้ผู้สังเกตการณ์เก็บรวบรวม
ข้อมูล หรือใช้วิธีการหลาย ๆ วิธีรวมกัน
ขั้นตอนสาคัญของการรวบรวมข้อมูล
การรวบรวมข้อมูลทางพฤติกรรมศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นการรวบรวมข้อมูลภาคสนาม แบ่งได้เป็น 6
ขั้นตอน ตามที่บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ ( 2540 ) แบ่งไว้ ดังนี้
1. กาหนดตัวแปรที่ต้องการศึกษา ที่สาคัญ คือ ต้องทราบว่าอะไร คือตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ตัว
แปรควบคุม การวัดตัวแปรแต่ละตัววัดอย่างไร มีระดับการวัดของตัวแปรคืออะไร ตัวแปรและตัวมีความหมาย
อย่างไร ต้องนิยามความหมายเชิงปฏิบัติการให้ชัดเจนให้สามารถวัดได้
2. กาหนดข้อมูลหรือตัวชี้วัด จากตัวแปรที่ศึกษาจะต้องระบุข้อมูลและลักษณะของข้อมูลที่ต้องการว่า
มีลักษณะอย่างไร ที่ตรงกับสภาพความเป็นจริง ควรสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ หรือปัญหาและขอบเขตของ
การวิจัย
3. กาหนดแหล่งข้อมูล ต้องการข้อมูลหรือรวบรวมข้อมูลมาจากที่ไหนบ้างผู้ให้ข้อมูลเป็นใคร อยู่ที่ไหน
เป็นแหล่งข้อมูลปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ
4. เลือกวิธีรวบรวมข้อมูล ต้องวางแผนในวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างรอบคอบรวมทั้งคานึงถึง
ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม ซึ่งวิธีการเก็บข้อมูลจาเป็นต้ องเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บว่ามีอะไร ถ้ามี
แล้วก็สามารถนาไปปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะกับงานวิจัยที่ทา ถ้าไม่มีก็ต้องสร้างเครื่องมือขึ้นมาใหม่ ซึ่งต้อง
คานึงถึงหลักในการสร้างเครื่องมือที่ดี
5. นาเครื่องมือรวบรวมข้อมูลไปทดลองใช้ ในการใช้เครื่องมือรวบรวมข้อมูลไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือที่มี
อยู่แล้วหรือเครื่องมือที่สร้างขึ้นเอง ควรมีการทดลองใช้กับกลุ่มที่ใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างจานวนไม่มากก่อน
เพื่อดูข้อบกพร่องต่างๆที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้เครื่องมือและผู้วิจัยเองต้องนาเครื่องมือไปปรับปรุงแก้ไขหรือ
อาจจะต้องสร้างใหม่เพื่อให้เหมาะสมกับงานวิจัยที่ทา เพื่อให้เกิดคุณภาพของเครื่องมือวิจัย ที่สาคัญ คือจะต้อง
มีความตรงและความเที่ยงของเครื่องมือ
28

6. ออกรวบรวมข้อมูล ขั้นตอนนี้เป็นการออกภาคสนาม ต้องมีการวางแผนเป็นอย่างดีว่าจะเก็บข้อมูล


อย่างไร คนเดียว หรือหลายคน ต้องมีการอบรมผู้เก็บข้ อมูล ในกรณีที่ใช้ผู้เก็บหลายคน ที่สาคัญต้องมีการ
ประสานงานเพื่อให้แหล่งที่ต้องการเก็บข้อมูลยินยอม
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล มีหลายวิธีที่ใช้กันมากในทางพฤติกรรมศาสตร์ ได้แก่
• การสัมภาษณ์โดยตรง
ผู้วิจัยไปทาการสัมภาษณ์จากหน่วยทดลองโดยตรง วิธีนี้ใช้กันมากในการทาสามะโนและการสารวจ
จากตัวอย่าง วิธีนี้เหมาะสาหรับ งานวิจั ยที่มีข้อคาถามเป็นจานวนมาก ข้อคาถามมีความซับซ้อนมีคาศัพท์
เฉพาะและมีคาจากัดความที่ต้องการคาอธิบาย แต่เป็นวิธีที่เสียค่าใช้จ่ายสูง
• การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์
ในกรณีที่คาถามไม่มากและไม่ซับซ้อน ปริมาณคาถามมีไม่มากนัก การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์จะทาให้
ได้ข้อมูลเร็วขึ้น แต่มีข้อเสียคือ สัมภาษณ์ได้เฉพาะหน่วยตัวอย่างที่มีโทรศัพท์เท่านั้น บางกรณีผู้ตอบอาจจะไม่
เกรงใจ หรือไม่พอใจที่จะตอบ หรืออาจจะวางหูโทรศัพท์ก็ได้
• การตอบแบบสอบถาม
เป็นวิธีการรวบรวมข้อมูลโดยมอบแบบสอบถามพร้อมทั้งอธิบายวิธีบันทึกตลอดจนคาอธิบายศัพท์
ต่างๆ ให้แก่หน่วยตัวอย่างล่วงหน้า ผู้วิจัยจะกลับไปรับแบบสอบถามตามวัน เวลาที่นัดหมายไว้ ถ้าการบันทึก
แบบสอบถามไม่ถูกต้องหรือไม่เรียบร้อยก็จะได้มีการสอบถามหรือสัมภาษณ์เพิ่มเติมจนกระทั่งได้ข้ อมูลตามที่
ต้องการ
• การส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์
ผู้เก็บรวบรวมข้อมูลส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ วิธีนี้เหมาะสาหรับการเก็บข้อมูลที่ไม่มีความสาคัญ
มากนัก เป็นข้อมูลง่ายๆ ที่ไม่ซับซ้อน ไม่มีศัพท์หรือคาจากัดความที่ต้องการคาอธิบาย จานวนข้อคาถามมีไม่
มากนัก วิธีนี้มีขอ้ ดีคือ เสียค่าใช้จ่ายน้อยแต่มีข้อเสียคือ ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมาน้อยหรือผู้บันทึกอาจจะ
เข้าใจข้อคาถามไม่ถูกต้อง หรือบันทึกอย่างขาดความรับผิดชอบ ข้อจากัดคือ วิธีนี้ใช้สาหรับหน่วยตัวอย่างที่
อ่านออกเขียนได้เท่านั้น
• การนับและการวัด
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลบางอย่างต้องใช้วิธีนับ เช่น การสารวจจานวนรถที่ผ่านจุดที่ต้องการศึกษา
และในเวลาที่สนใจศึกษา จานวนลูกค้าที่เข้าแถวเพื่อชาระเงินในคาบเวลาหนึ่งๆ จานวนผู้ป่วยที่เข้ารับบริการ
ในโรงพยาบาลในคาบเวลาหนึ่ง การเก็บข้อมูลโดยให้กลุ่มตัวอย่างทาแบบสอบ แบบวัดเป็นต้น
• การสังเกต วิธีนี้ใช้ในโครงการวิจัยต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ และทางสังคมศาสตร์ เช่น การสังเกตตาแหน่ง
ของดวงดาวบนท้องฟ้า การสังเกตพฤติกรรมของคนในชุมชนที่มีต่อผู้ป่วยเอดส์ เป็นต้น ข้อมูลที่ได้จากการ
สังเกตอาจจะเป็นข้อมูลเชิงคุณลักษณะหรือปริมาณก็ได้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยต้องกาหนดขั้นตอนให้
รัดกุมตั้งแต่ การวางแผนการเก็บรวบรวมกาหนดวิธีการให้เหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่าง กาหนดวิธีบันทึกข้อมูล
ถ้ามีผู้ช่วยในการเก็บข้อมูลต้องอบรมวิธีการเก็บให้มีความรู้ ความเข้าใจและชานาญเท่าเทียมกัน จากนั้นจึงเก็บ
ข้อมูลตามที่วางแผนไว้ เมื่อได้ข้อมูลกลับมาต้องตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูลที่ได้รับก่อนนาไปวิเคราะห์
ข้อมูลต่อไป
29

( ตัวอย่าง )
แบบสอบถามความพึงพอใจ / ไม่พึงพอใจต่อการให้บริการ
สานักงาน.....................................................................
เดือน.................................พ.ศ.2553

ข้อชี้แจง กรุณาทาเครื่องหมายในข้อที่ตรงกับความเป็นจริงและในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านมากที่สุด
ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม

1. เพศ  1) ชาย  2) หญิง

2. อายุ  1) ต่ากว่า 20 ปี  2) 21 - 40 ปี  4) 41 – 60 ปี  6) 60 ปีขึ้นไป

3. ระดับการศึกษาสูงสุด
 1) ประถมศึกษา  2) มัธยมศึกษาตอนต้น/ตอนปลาย/เทียบเท่า
 3) ปริญญาตรี  4) สูงกว่าปริญญาตรี

4. สถานภาพของผู้มารับบริการ
 1) เกษตรกร/องค์กรเกษตรกร  2) ผู้ประกอบการ
 3) ประชาชนผู้รับบริการ  4) องค์กรชุมชน/เครือข่ายองค์กรชุมชน
 5) อื่นๆ โปรดระบุ ……………………………………….

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจ / ไม่พงึ พอใจต่อการให้บริการ

ระดับความพึงพอใจ ระดับความไม่พึงพอใจ
ประเด็น/ด้าน พอใจมาก พอใจ พอใจ ไม่พอใจ ไม่พอใจมาก
น้อย
1. ด้านเวลา
1.1 การให้บริการเป็นไปตามระยะเวลาที่กาหนด
1.2 ความรวดเร็วในการให้บริการ
2. ด้านขั้นตอนการให้บริการ
2.1 การติดป้ายประกาศหรือแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับ
ขั้นตอนและระยะเวลาการให้บริการ
2.2 การจัดลาดับขั้นตอนการให้บริการตามที่ประกาศไว้
2.3 การให้บริการตามลาดับก่อนหลัง เช่นมาก่อนต้อง
ได้รับบริการก่อน
30

ระดับความพึงพอใจ ระดับความไม่พึงพอใจ
ประเด็น/ด้าน พอใจมาก พอใจ พอใจ ไม่พอใจ ไม่พอใจมาก
น้อย
3. ด้านบุคลากรที่ให้บริการ
3.1 ความเหมาะสมในการแต่งกายของผู้ให้บริการ
3.2 ความเต็มใจและความพร้อมในการให้บริการอย่าง
สุภาพ
3.3 ความรู้ความสามารถในการให้บริการ เช่น สามารถ
ตอบคาถาม ชี้แจงข้อสงสัยให้คาแนะนาได้ เป็นต้น
3.4 ความซื่อสัตย์สุจริตในการปฏิบัติหน้าที่เช่น ไม่ขอ
สิ่งตอบแทน, ไม่รับสินบน, ไม่หาผลประโยชน์
ในทางมิชอบ
3.5 การให้บริการเหมือนกันทุกรายโดยไม่เลือกปฏิบัติ
4. ด้านสิ่งอานวยความสะดวก
4.1 ความชัดเจนของป้าย สัญลักษณ์ ประชาสัมพันธ์
บอกจุดบริการ
4.2 จุด /ช่อง การให้บริการมีความเหมาะสมและเข้าถึง
ได้ สะดวก
4.3 ความเพียงพอของสิ่งอานวยความสะดวก เช่น ที่นั่ง
รอรับบริการ น้าดื่ม หนังสือพิมพ์ ฯลฯ
4.4 ความสะอาดของสถานที่ให้บริการ
5. ท่านมีความพึงพอใจ / ไม่พึงพอใจต่อการให้บริการ
ในภาพรวม อยู่ในระดับใด

ตอนที่ 3 ปัญหา / ข้อเสนอแนะ


ปัญหา 1. ............................................................................................................................. ....
2. ......................................................................................................................... ........
ข้อเสนอแนะ 1. .. ....................................................................................................................... ..........
2. .. .................................................................................................................................

ขอขอบคุณในความร่วมมือที่ท่านได้เสียสละเวลาให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่ทางราชการในครั้งนี้
31

(ตัวอย่าง)
แบบแบบสัมภาษณ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น

รูปภาพ

1. ชื่อ……………………………………..…….สกุล………..…………………..อายุ……………….ปี
2. อาชีพ………………………………………..สถานที่ประกอบอาชีพ……………………………….
3. ที่อยู่……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………โทรศัพท์ใ………………………...
4. ภูมิปัญญาด้าน………………………………………………………………………………………..
5. ข้อคิดเห็นจากการสัมภาษณ์
………………………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………...

(ลงชื่อ) ผู้ให้ข้อมูล
( )
………./…………../………

(ลงชื่อ) ผู้สัมภาษณ์
( )
………./…………../………
32
ใบงานที่ 11
เรื่อง การเก็บรวบรวมข้อมูล

คาชี้แจง ให้นักเรียนบอกขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลดังนี้

1. ขั้นตอนสาคัญในการทาวิจัย หลังจากได้ปัญหา วัตถุประสงค์และสมมติฐานในการวิจัยแล้ว ขั้นตอน


ที่สาคัญตามมา คือ………………………………………………………………………………………………………………………………
2. การเก็บรวบรวมข้อมูล คือ…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
3. ขั้นตอนสาคัญของการรวบรวมข้อมูล มี……………ขั้นตอน อะไรบ้าง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. กาหนดตัวแปรที่ต้องการศึกษา ที่สาคัญ คือ ………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล มีหลายวิธีที่ใช้กันมากในทางพฤติกรรมศาสตร์ ได้แก่
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ชื่อ………………………...…………………………ชั้น………….เลขที่…………..
33

ใบงานที่ 12
เรื่อง ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ

คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มคัดเลือกประเด็นปัญหาจาก 3 ประเด็นของกลุ่มตนสนใจเลือกไว้ ให้เหลือ 1


ประเด็น ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ

บันทึกการวางแผนการทางาน (ID Plan)


สมาชิก
ชื่อ-สกุล.................................................................... ชั้น ม.2/.......... เลขที่ ...............
ชื่อ-สกุล.................................................................... ชั้น ม.2/.......... เลขที่ ...............
ชื่อ-สกุล.................................................................... ชั้น ม.2/.......... เลขที่ ...............
ชื่อ-สกุล.................................................................... ชั้น ม.2/.......... เลขที่ ...............

ครูที่ปรึกษาการทางาน

ชื่อ-สกุล.................................................................... กลุ่มสาระการเรียนรู้ ……………………………………


ชื่อ-สกุล.................................................................... กลุ่มสาระการเรียนรู้ ……………………………………

ครูผู้สอน
..................................................................................................................

ประเด็นปัญหา
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
สมมติฐาน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การเก็บรวบรวมข้อมูล
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
เครื่องมือเก็บข้อมูล
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
(ให้แนบแบบฟอร์มที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ ฯไว้ตอนท้ายใบงานนี้ด้วย)
แหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับประเด็นปัญหา
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

You might also like