Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 25

เอกสารประกอบการเรียน

วิชา คณิตศาสตรสรางสรรค

สรางสรรค 1
ชื่อ-สกุล…………………………………………………………………………………………………..
เลขที…
่ ……………..ชั้น ม.2/………….

โดย

อาจารย ชูฉกาจ ชูเลิศ

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
โครงการสอน
รายวิชา คณิตศาสตรสรางสรรค 1
กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
วิชา คณิตศาสตรสรางสรรค 1
สัปดาห กิจกรรม
1 แนะนํารายวิชา ขอตกลงในการเขาชั้นเรียน ทบทวนเนื้อหาการหาพื้นที่รูปเรขาคณิตสองมิติ
2 ปริซึม : นิยาม สวนประกอบตาง ๆ ของปริซึม และปริซึมลักษณะตาง ๆ
3 การสราง ปริซึมโดยใชโปรแกรม GSP (ใชหองคอม)
4 การหาพื้นที่ผิวปริซึม โดยใชโปรแกรม Geogebra (ใชหองคอม)
5 ทบทวนเนื้อหาการหาพื้นที่ผิวปริซึม และทําโจทยเสริมประสบการณเพิ่มเติม
6 การหาปริมาตรของปริซึม โดยใชโปรแกรม Geogebra (ใชหองคอม
7 ทบทวนเนื้อหาการหาปริมาตรของปริซึม และทําโจทยเสริมประสบการณเพิ่มเติม
8 ทดสอบการหาพื้นที่ผิว และปริมาตรของปริซึม
9 ทดสอบยอย
10 สอบกลางภาค
11 ทรงกระบอก : นิยาม สวนประกอบตาง ๆ ของทรงกระบอก และทรงกระบอกลักษณะตาง ๆ
12 การสราง ทรงกระบอกโดยใชโปรแกรม GSP (ใชหองคอม)
13 การหาพื้นที่ผิวทรงกระบอก โดยใชโปรแกรม Geogebra (ใชหองคอม)
14 ทบทวนเนื้อหาการหาพื้นที่ผิวทรงกระบอก และทําโจทยเสริมประสบการณเพิ่มเติม
15 การหาปริมาตรของทรงกระบอก โดยใชโปรแกรม Geogebra (ใชหองคอม
16 ทบทวนเนื้อหาการหาปริมาตรของทรงกระบอก และทําโจทยเสริมประสบการณเพิ่มเติม
17 ทดสอบการหาพื้นที่ผิว และปริมาตรของทรงกระบอก
18 สอบปลายภาค
สารบัญ
เรื่อง หนา
ปริซึม (Prism) 1
ปริมาตรปริซึม 5
การสรางปริซึม 8
ทรงกระบอก (cylinder) 9
พื้นที่ผิวของทรงกระบอก 9
ปริมาตรของทรงกระบอก 9
ทรงกระบอกกลวง 9
1

ปริซึม (Prism)

รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานทั้งสองเปนรูปหลายเหลี่ยมเทากันทุกประการ ฐานทั้งสองอยูบนระนาบที่
ขนานกันและดานขางแตละดานเปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน เรียกวา ปริซึม (Prims)

พื้นที่ผิวของปริซึม

a a a a a a a

a a b
b
a a a

a a a a a
b
a a

พื้นที่ผิวของปริซึมฐานหาเหลี่ยม = (2 × พื้นที่ฐาน) + (พื้นที่ผิวขาง)

พื้นที่ผิวของปริซึมฐานหาเหลี่ยม =

พื้นที่ผิวของปริซึมฐานหาเหลี่ยม =

พื้นที่ผิวของปริซึมฐานหาเหลี่ยม =
ซึ่ง 5𝑎 คือ ความยาวรอบฐาน และ 𝑏 คือ ความสูง
ดังนั้น

พื้นที่ผิวของปริซึม =
2

ตัวอยางที่ 1 โรงงานแหงหนึ่งผลิตช็อคโกแลตแทงเปนสี่เหลี่ยมคางหมู จํานวน 10,000 แทง ตองการวัด


2 cm
กระดาษเพื่อหอแทงช็อคโกแลตจะตองใชกระดาษสําหรับหอทั้งหมดเทาใด
8 cm 4 cm

2 cm

1 cm

Example 2 Find total surface area of the following prism.


9 cm
12 cm
15 cm

14 cm
3
แบบฝกหัด

1. จงหาพื้นที่ผิวของปริซึมตอไปนี้ 3 ซม.

4 ซม.
6 ซม.
4 ซม.

2. ปริซึมนี้มีพื้นที่ผิวเปน 250 ตารางเซนติเมตร จงหาพื้นที่ผิวขาง

4 ซม.

4 ซม.
4

Find the surface area of the following solids.


1)
40 cm
4 cm

6 cm

13 ซม.
11 ซม.

2)
21 ซม.

14 ซม.
5

ปริมาตรปริซึม

A
เมื่อลองนําปริซึมในรูป ก แบงครึ่งโดยผานเสนทแยงมุม พื้นที่ฐานเปน ที่มีความสูงเทาเดิม
2

A
h
= ×h
จะได ปริมาตรปริซึมสามเหลี่ยม 2 ลูกบาศกเซนติเมตร

ดังนั้น

ปริมาตรปริซึม = …………………………………………………………………………………..

สิ่งที่ควรทราบ

พื้นที่สี่รูปสี่เหลี่ยมจุตรัส = ดาน × ดาน

พื้นที่สี่รูปสี่เหลี่ยมผืนผา = ความกวาง × ความยาว


1
พื้นที่สี่รูปสี่เหลี่ยมคางหมู = × ผลบวกดานคูขนาน × สูง
2

พื้นที่สี่รูปสี่เหลี่ยมดานขนาน = ฐาน × สูง


1
พื้นที่สี่รูปสาม = × ฐาน × สูง
2

√3
พื้นที่สี่รูปสามเหลี่ยมดานเทา = × (ดาน)2
4
3√3
พื้นที่สี่รปหกเหลี่ยมดานเทา = × (ดาน)2
6

ตัวอยางที่ 1 จงหาปริมาตรของปริซึมสี่เหลี่ยมคางหมู

5 ซม. 7 ซม.
7 ซม.

10 ซม.

ตัวอยางที่ 2 จงหาปริมาตรของปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีฐานเปนรูปสีเหลี่ยมผืนผา ความยาวดานกวาง 3


เซนติเมตร
ความยาวดานยาว 4 เซนติเมตรและปริซึมแทงนี้มีความยาว 8 เซนติเมตร

4 8

3
7

ตัวอยางที่ 3
ภาชนะใบหนึ่งเปนปริซึมที่มีหนาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมูดังรูป จงหาความกวางของภาชนะนี้มี
ปริมาตร 6 ลูก 2 ม.

1.2 ม.

1 ม.

ตัวอยางที่ 4 Find volume of the following prism.


9 cm
12 cm
15 cm

14 cm
8

การสรางปริซึม
1. เครื่องมือจุด  เลื่อนขนาน 0 องศา 5 cm.
2. กําหนดชื่อจุด A และ B ตามลําดับ
3. สรางสวนของเสนตรง AB
4. สรางจุดอิสระบนสวนของเสนตรง AB ไดจุด C
5. สรางสวนของเสนตรง AC
6. เลือกสวนของเสนตรง AC ไปที่เมนูวัด คําสั่ง ความยาว
7. เลือกความยาวองสวนของเสนตรง mAC คลิกขวาเลือกสมบัติ คําสั่งปาย พิมพคําวา “ขนาดฐาน”
8. เครื่องมือจุด  เลื่อนขนาน 0 องศา 10 cm.
9. กําหนดชื่อจุด D และ E ตามลําดับ
10. สรางสวนของเสนตรง DE
11. สรางจุดอิสระบนสวนของเสนตรง DE ไดจุด F
12. สรางสวนของเสนตรง DF
13. เลือกสวนของเสนตรง DF ไปที่เมนูวัด คําสั่ง ความยาว
14. เลือกความยาวของสวนของเสนตรง mDF คลิกขวาเลือกสมบัติ คําสั่งปาย พิมพคําวา “ความสูง”
15. เลือกจุด C เมนูแกไข คําสั่งปุมแสดงการทํางาน การเคลื่อนไหวทิศทาง ไปขางหนา
อัตราเร็ว ปานกลาง ปาย ลดขนาดฐาน
16. เลือกจุด C เมนูแกไข คําสั่งปุมแสดงการทํางาน การเคลื่อนไหวทิศทาง ถอยหลัง อัตราเร็ว
ปานกลาง ปาย เพิ่มขนาดฐาน
17. เลือกจุด F เมนูแกไข คําสั่งปุมแสดงการทํางาน การเคลื่อนไหวทิศทาง ไปขางหนา
อัตราเร็ว ปานกลาง ปาย เพิ่มความสูง
18. เลือกจุด F เมนูแกไข คําสั่งปุมแสดงการทํางาน การเคลื่อนไหวทิศทาง ถอยหลัง อัตราเร็ว
ปานกลาง ปาย ลดความสูง
19. สรางจุดอิสระ ชื่อจุด G
20. เลือก G และขนาดฐาน เมนูสรางวงกลมที่สรางจากจุดศูนยกลางและรัศมี
21. สรางจุดอิสระบนวงกลม G ไดจุด H
22. ระบุจุดศูนยกลาง G เลือกจุด H เมนูการแปลง  คําสั่ง หมุน 72 องศา ทั้งหมด 5 จุด ไดจุด I,J,K
และ L ตามลําดับ
23. สรางสวนของเสนตรง HI,IJ,JK และ KL ตามลําดับ
9

24. เลือกจุด G,H,I,J,K และ สวนของเสนตรง HI,IJ,JK,KL และ LH ตามลําดับ เมนูการแปลง  คําสั่ง
เลื่อนขนาน บุทางที่ระบุ (ความสูง) มุม 45 องศา ไดจุด M,N,O,P,Q,R และ สวนของเสนตรง
NO,OP,PQ,QR,RN ตามลําดับ
25. เลือกจุด H,I,J,K และ L ไปที่เมนูสราง  บริเวณภายใน รูปหาเหลี่ยม
26. เลือกจุด N,O,P,Q และ R ไปที่เมนูสราง  บริเวณภายใน รูปหาเหลี่ยม
27. เลือกจุด H ไปที่เมนู แกไข  คําสั่ง ปุมแสดงการทํางาน  การเคลื่อนไหว  ทิศทาง ทวนเข็ม
นาฬิกา/ตามเข็มนาฬิกา  อัตราเร็ว ปานกลาง  ปาย ปริซึม
28. เลือกวงกลม G เมนูแสดงผล  ซอนวงกลม G
10

ทรงกระบอก (cylinder)

ทรงกระบอกเปนรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีหนาตัดและฐานเปนรูปวงกลมที่เทากันทุกประการ
และอยูในระนาบที่ขนานกันเมื่อตัดรูปเรขาคณิตสามมิตินี้ดวยระนาบที่ขนานกับฐานแลวจะไดรอยตัด
เปนวงกลมที่เทากันทกประการกับฐานเสมอ

พิจารณารูปตอไปนี้ซึ่งเปนรูปของทรงกระบอกและสวนตาง ๆ ของทรงกระบอก

ทรงกระบอกตรง มีฐานเปนรูปวงกลมที่เทากันและขนานกัน ฐานแตละขางตั้งฉากกับแกนของทรงกระบอก


ทรงกระบอกเอียง มีฐานเปนรูปวงกลมที่เทากันและขนานกัน แตฐานไมตั้งฉากกับแกนของทรงกระบอก

พื้นที่ผิวของทรงกระบอก

พื้นที่ผิวของทรงกระบอกประกอบดวยพื้นที่ฐานทั้งสองของทรงกระบอกซึ่งเปนรูปวงกลมกับพื้นที่ผิว
ขาง
11

จากรูปกําหนด ใหรัศมีของฐานยาว r หนวย และ มีความสูง h หนวย


จะได ความยาวของเสนรอบฐาน เทากับ ความยาวเสนรอบวงกลมมีคาเทากับ 2π r หนวย
ซึ่ง เปนความยาวของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา และ ความกวางของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา เทากับ ความสูง h
หนวย
จาก พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก เทากับ
สําหรับพื้นที่ฐานทั้งสองหรืออาจเรียกวา พื้นที่หนาตัดหัวทายซึ่งเปนรูปวงกลมจะมีพื้นที่ เทากับ
เนื่องจาก พื้นที่ผิวทั้งหมดของทรงกระบอก เทากับ พื้นที่ฐานรูปวงกลม 2 รูป รวมกับ พื้นที่ผิวขาง
ดังนั้น พื้นที่ผิวทั้งหมดของทรงกระบอก เทากับ

พื้นที่ผิวทั้งหมดของทรงกระบอก เทากับ

เมื่อ r เปนความยาวของรัศมีของฐานทรงกระบอก
h ป ส

ตัวอยางที่ 1 จงหาพื้นที่ผิวของทรงกระบอกที่มีเสนผานศูนยกลางของฐานยาว 7 เซมติเมตร และ


สูง 10 เซนติเมตร (กําหนดให π ≈ 22 )
7

10 ซม.

7 ซม.
12
ตัวอยางที่ 2 ทรงกระบอกอันหนึ่งมีพื้นทีผิวขาง 880 ตารางเซนติเมตร ถาทรงกระบอกนี้สูง 14
เซนติเมตรแลวจะมีรัศมีหนาตัดยาวกี่เซนติเมตร (กําหนดให π ≈ 22 )
7

Find the total surface area of the following cylinder. (Take π ≈ 3.14 )
ตัวอยางที่ 3
5 cm.

10 cm.

Solution
5
The radius of base = = 2.5 cm
2

Total surface area of a closed cylinder = 2π r 2 + 2π rh


2 ( 3.14 )( 2.5 ) + 2 ( 3.14 )( 2.5 )(10 )
2

≈ 39.25 + 157

≈ 196.25

So, that total surface area of a closed cylinder ≈ 196.25


13
แบบฝกหัด ที่ 1

1. ใหนักเรียนหาพื้นที่ผิวของทรงกระบอกที่กําหนดใหตอไปนี้ลงในสมุดพรอมแสดงวิธีทํา
1) 2) 3)
14 ซม.

4 ซม. 8 ซม. 12 ซม.


4 ซม.
7 ซม.

2. Find the total surface area of the following cylinders. (Take π ≈ 3.14 )
a) b) c)

35 cm.
34 cm.
7 cm.
15 cm.

18 cm.
20 cm.

ตัวอยางที่ 4 ถังใสขยะทรงกระบอกสูง 6 ฟุตและเสนผานศูนยกลางภายนอกของถุงยาว 7 ฟุต ถา


ตองการทาสีรอบถังภายนอกโดยไมรวมกนถังและฝาถังโดยคิดคาสีตารางฟุตละ 30 บาท จะตองเสียเงินอยาง
นอยที่สุดเทาไร (กําหนดให π ≈ 22 )
7
14

ตัวอยางที่ 5 จงหาพื้นที่ผิวของรูปเรขาคณิตสามมิติ ซึ่งมีฐานเปนหนึ่งในสี่ของวงกลมที่มีรัศมีเปน


หนึ่งในสี่ของรูปวงกลมที่มีรัศมี 3.5 เซนติเมตรและมีความยาว 8 เซนติเมตร ดังรูป (กําหนดให π ≈ 22 )
7

8 ซม.
3.5 ซม.
15

ตัวอยางที่ 6 The curved surface area of a cylindrical flower vase is 4,712 cm2. If its
height is 50 cm.
(a) Calculate its radius. (Take π ≈ 3.14 )

(b) Total surface area of the vase (Take π ≈ 3.14 )

ปริมาตรของทรงกระบอก

นักเรียนทราบมาแลววา ปริมาตรของปริซึม เทากับ พื้นที่ฐาน × ความสูง


การหาปริมาตรของทรงกระบอกหาไดเชนเดียวกับการหาปริมาตรของปริซึม
ดังนั้น ปริมาตรของทรงกระบอก เทากับ พื้นที่ฐาน × ความสูง
หรือ ปริมาตรของทรงกระบอก = พื้นที่วงกลม × ความสูง

= π r2 × h

ดังนั้น

เมื่อ r เปนความยาวของรัศมีของฐานทรงกระบอก
h เปนความสูงของทรงกระบอก
16
ตัวอยางที่ 7 จงหาปริมาตรของทรงประบอกที่มีความยาวเสนผานศูนยกลาง 4 เซนติเมตรและ
ยาว 9 เซนติเมตร (กําหนดให π ≈ 3.14 )

9 ซม.
4 ซม.

ตัวอยางที่ 8 จงหาความสูงของทรงกระบอกของทรงกระบอกที่มีความยาวของเสนผานศูนยกลาง
8 เซนติเมตร และ ปริมาตรเทากับ 120 ลูกบาศกเซนติเมตร (กําหนดให π ≈ 22 )
7
8 ซม.

h
17

ตัวอยางที่ 9 Find the volume of a cylindrical canister with radius 7 cm and height
12 cm.

(Take π ≈ 22 )
7

12 ซม.
7 ซม.
18

แบบฝกหัด ที่ 2

1. จากรูปจงหาวาทรงกระบอกมีปริมาตรเทาไร (กําหนดให π ≈ 22 )
9 7

14

2. ทรงกระบอกอันหนึ่งมีรัศมี 5 เซนติเมตร สูง 7 เซนติเมตร พื้นที่ฐานของทรงกระบอกนี้มีคาเทาไร


(กําหนดให π ≈ 22 )
7
3. ถังน้ําทรงกระบออกใบหนึ่งมีรัศมี 7 เมตร สูง 20 เมตร ถาใสน้ําแข็งเต็มถังแลวจะมีปริมาตรประมาณ
เทาใด
(กําหนดให π ≈ 22 )
7
4. Find the volume of the following cylinders. (Take π ≈ 3.14 )
a) b) c)

35 cm. 34 cm.
15 cm.
7 cm.

18 cm.
20 cm.
19

ตัวอยางที่ 10 จงหาปริมาตรของพลาสติกของทอประปาที่มีความยาวเสนผานศูนยกลางภายนอก
2 เซนติเมตร ทอหนา 2 มิลลิเมตรและยาว 75 เซนติเมตร (กําหนดให π ≈ 3.14 )

2 ซม.

75 ซม.

ตัวอยางที่ 11
แทงเหล็กตัน A กับแผนเหล็กตัน B ดังรูป จงตอบคําถามในแตละขอ
ตอไปนี้ (กําหนดให π ≈ 3.14 )
r = 1 ซม.
1) หาปริมาตรของแทงเหล็ก A และ แผนเหล็ก B
วิธีทํา
5 ซม.
ปริมาตรแทงเหล็ก A = π r 2h


( 3.14 )(1) ( 5)
2

A
20

5 ซม.
1 ซม.

ตัวอยางที่ 12 A drum filled with oil has a radius of 0.7 m. and a thickness of 1.3 m.
Calculate the volume of the oil drum. (Take π ≈ 3.14 )
21
22

ทรงกระบอกกลวง

พื้นที่ผิวของทรงกระบอกกลวงประกอบดวย
1. พื้นที่ผิวดานนอก เมื่อ
2π rh r คือ รัศมีวงใน
2. พื้นที่ผิวดานใน R คือ รัศมีวงนอก

2π Rh
h คือ สวนสูง

3. พื้นที่หนาตัดหรือพื้นที่ฐาน

π R2 − π r 2 หรือ (R 2
− r 2 )π

ตัวอยางที่ 1 ทอกลวงทอหนึ่งมีพื้นที่ผิวดานใน 280π ตารางหนวย และพื้นที่ผิวดานนอก 490π ตารางหนวย ถารัศมีของ


ทั้งสองวงตางกัน 3 หนวย แลวจงหาพื้นที่ฐานของทรงกระบอกกลวงนี้

You might also like