Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 35

ขอสอบภาคทฤษฎี

การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันอาทิตยที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
ขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 1
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 1/12

ขอที่ 1 ทอกลิ้ง [11 คะแนน]


ขอ 1.1, 1.2, และ 1.3 ไมมีความเกี่ยวเนื่องกัน
ทอทรงกระบอกกลวงบางมวล 𝑚𝑚′ รัศมี 𝑅𝑅 มีโมเมนตความเฉื่อยรอบแกนกลางเท ากับ 𝐼𝐼 = 𝑚𝑚′𝑅𝑅2
กําลังกลิ้งโดยไมไถลลงบนพื้นเอียงทํามุม 𝜃𝜃 กับแนวระดับ กําหนดใหคาความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงเปน 𝑔𝑔
ตอนที่ 1.1 การกลิ้งของทรงกระบอกกลวง [2.8 คะแนน]

a) จงหาความเรงเชิงเสนของทอทรงกระบอกเมื่อแนวการกลิ้งขนานกับพื้นเอียง (รูป A ดานบน) [0.5 คะแนน]

b) สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางผิวทรงกระบอกและพื้นเอียงตองมากกวาเทาใด ทรงกระบอกในรูป A
จึงจะกลิ้งลงโดยไมไถล [0.5 คะแนน]

c) ทอทรงกระบอกกลวงในขอ a กลิ้งลงพื้นเอียงมุม 𝜃𝜃 กับแนวระดับ โดยแนวการกลิ้งทํามุม 𝜙𝜙 กับแนวเอียง


สูงสุด (รูป B ดานบน) จงหาความเรงเชิงเสนของทอทรงกระบอก [1.2 คะแนน]

d) สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางผิวทรงกระบอกและพื้นเอียงตองมากกวาเทาใด ทรงกระบอกในรูป B
จึงจะกลิ้งลงโดยไมไถล [0.6 คะแนน]
ขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 1
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 2/12

ตอนที่ 1.2 การกลิ้งของทรงกระบอกกลวงที่มีครึ่งทรงกระบอกดานใน [3.0 คะแนน]


ทอทรงกระบอกกลวงบางมวล 𝑚𝑚′ รัศมี 𝑅𝑅 โดยภายในทอมีครึ่งทรงกระบอกตันมวล 𝑚𝑚 สอดอยู ดังรูป โดยผิวทอ
ดานในนั้นลื่นจนแรงเสียดทานระหวางทอกับครึ่งทรงกระบอกมีคานอยมาก
นําระบบทอและครึ่งทรงกระบอกไปวางบนพื้นเอียงมุม 𝜃𝜃 แลวปลอยใหกลิ้งโดยไมไถลลงมาดังรูป

e) เมื่อเวลาผานไประยะหนึ่ง จงหาความเรงเชิงเสน 𝑎𝑎 ที่ทอกลิ้งลงมา และจงหามุม 𝛽𝛽 ที่ผิวของครึ่ง


ทรงกระบอกเอียงทํามุมกับแนวระดับ กําหนดใหแรงเสียดทานมีคานอยมาก เพียงพอแคที่จะทําใหการกวัด
แกวงในตอนเริ่มปลอยหายไป และสมมติวาครึ่งทรงกระบอกมีรัศมีนอยกวาทอเล็กนอยทําใหครึ่ง
ทรงกระบอกสัมผัสกับทอเพียงจุดเดียว [3.0 คะแนน]

ตอนที่ 1.3 การกลิ้งของทอทรงกระบอกกลวงเชื่อมครึ่งทรงกระบอกดานใน [5.2 คะแนน]


ในตอนนี้ทอทรงกระบอกกลวงและครึ่งทรงกระบอกตันถูกเชื่อมเขาดวยกันกลายเปนวัตถุชิ้นเดียว
จากนั้นนําระบบทอและครึ่งทรงกระบอกที่ถูกเชื่อม ไปปลอยบนพื้นเอียงมุม 𝜃𝜃 โดยใหตอนเริ่มตนผิวเรียบของ
ครึ่งทรงกระบอกตันขนานกับแนวระดับดังรูป กําหนดใหพื้นเอียงมีคาสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานมากพอจนระบบ
ทอและครึ่งทรงกระบอกกลิ้งโดยไมไถล
กําหนดใหจุด cm ของครึ่งทรงกระบอกอยูหางจากจุดศูนยกลางของทอเปนระยะ 𝑘𝑘𝑅𝑅 โดยที่ 𝑘𝑘 เปนคาคงที่หนึ่ง
กําหนดใหแผนครึ่งวงกลมตัน มวล 𝑀𝑀 รัศมี 𝑅𝑅 มีโมเมนตความเฉื่อยรอบแกนตั้งฉากผานจุดศูนยกลาง
1
𝐼𝐼 = 𝑀𝑀𝑅𝑅2
2
ขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 1
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 3/12

f) ระยะของจุด cm ของระบบทอและครึ่งทรงกระบอกจากจุดศูนยกลางของทอสามารถเขียนไดอยูในรูป
𝑘𝑘′𝑅𝑅 จงหา 𝑘𝑘′ ในรูปของ 𝑘𝑘, 𝑚𝑚, 𝑚𝑚′ [0.3 คะแนน]

g) พื้นเอียงจะตองทํามุมกับแนวระดับอยางนอยเทาใด ที่จะทําใหระบบทอและครึ่งทรงกระบอกที่เริ่มจากหยุด
นิ่งและวางตัวดังรูปดานบนสามารถกลิ้งลงพื้นเอียงไดตลอด (ตอบในรูปของตัวแปรอื่นที่โจทยกําหนดและ
𝑥𝑥
𝜃𝜃0 โดยที่ 𝑥𝑥 = 𝜃𝜃0 เปนคําตอบของสมการ 𝑥𝑥 = tan 2 ) [1.5 คะแนน]
𝑑𝑑𝑑𝑑 𝑑𝑑𝑑𝑑
𝑣𝑣 −𝑢𝑢
สมการที่อาจจะเป็ นประโยชน์ 𝑑𝑑𝑑𝑑𝑑𝑑 �𝑢𝑢𝑣𝑣� = 𝑑𝑑𝑑𝑑
𝑣𝑣 2
𝑑𝑑
𝑑𝑑𝑑𝑑
𝑑𝑑𝑑𝑑
,
sin 𝑥𝑥 = cos 𝑥𝑥 ,
𝑑𝑑
𝑑𝑑𝑑𝑑
cos 𝑥𝑥 = − sin 𝑥𝑥 ,
𝑥𝑥 𝑥𝑥 𝑥𝑥
sin 𝑥𝑥 = 2 sin � � cos � �, cos 𝑥𝑥 = 1 −
2 2
2 sin2 �2�

นําระบบทอและครึ่งทรงกระบอกมากลิ้งโดยไมไถลบนพื้นราบ โดยตอนเริ่มตนครึ่งทรงกระบอกอยูดานลางและ
ระบบมีอัตราเร็วเชิงมุม 𝜔𝜔0 ดังรูป C

h) จงหาคาพลังงานจลนของระบบตอนเริ่มตนในรูป C [1.0 คะแนน]

i) เมื่อระบบกลิ้งจนมีลักษณะดังรูป D คาอัตราเร็วเชิงมุม 𝜔𝜔 เปนเทาใด [1.2 คะแนน]

j) จงหาแรงแนวตั้งฉาก (normal force) ที่พื้นทํากับระบบทอและครึ่งทรงกระบอกในรูป D


(ตอบในรูปของ 𝜔𝜔, 𝑘𝑘′ และตัวแปรอื่นที่โจทยกําหนด) [1.2 คะแนน]
************************* จบขอ 1 *************************
ขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 2
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 4/12

ขอที่ 2 Thermionic Vacuum Tubes [7 คะแนน]

หลอดสุญญากาศไดโอด (vacuum diode) เปนหลอดสุญญากาศเทอรมิออนิก (thermionic vacuum


tubes) ประเภทหนึ่ง ใชสําหรับควบคุมกระแสไฟฟาในวงจร เราจะจําลองการทํางานของอุปกรณชนิดนี้โดยใชตัว
เก็บประจุคูขนานบรรจุในภาชนะสุญญากาศและมีวงจรใหความรอน แผนคูขนานแผนหนึ่งเปนขั้วแคโทด (ขั้วลบ)
และอีกแผนหนึ่งเปนขั ้วแอโนด (ขั้วบวก) เมื่อมีการให ความร อนกั บขั ้วแคโทด จนมันมีอุณหภูมิสูงมากพอ
(ประมาณ 800 – 2,500 K ขึ้นอยูกับวัสดุที่ใช) จะทําใหอิเล็กตรอนหลุดออกมาได (thermionic emission) และ
เคลื่อนที่ไปยังแอโนด

𝑉𝑉𝑑𝑑

𝑒𝑒

วงจร
𝑥𝑥
ใหความรอน
𝑥𝑥 = 0 𝑥𝑥 = 𝑑𝑑

แผนคูขนานเปนแผนสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดใหญ ยาวดานละ 𝑎𝑎 และหางกัน 𝑑𝑑 ≪ 𝑎𝑎 ทั้งหมดอยูภายใน


หลอดสุญญากาศ ใหแกน 𝑥𝑥 ตั้งฉากกับระนาบของแผนคูขนานขนาดใหญนี้
ใหแผนดานขั้วลบอยูที่ตําแหนง 𝑥𝑥 = 0 และใหศักยไฟฟาเปนศูนย
ใหแผนดานขั้วบวกอยูที่ตําแหนง 𝑥𝑥 = 𝑑𝑑 และตออยูกับศักยไฟฟา 𝑉𝑉𝑑𝑑
กําหนดใหอิเล็กตรอนมีมวล 𝑚𝑚 ประจุ −𝑒𝑒

a) ในกรณีที่มีอิเล็กตรอนเพียง 1 ตัวเคลื่อนที่ระหวางแผน โดยอิเล็กตรอนตัวนี้หลุดออกมาจากขั้วแคโทดดวย


อัตราเร็วตนเทากับ 𝑣𝑣0 อิเล็กตรอนตัวนี้จะมีอัตราเร็ว 𝑣𝑣𝑥𝑥 เทาใด ที่ตําแหนง 𝑥𝑥 [1.0 คะแนน]
ขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 2
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 5/12
การใหความรอนจะทําใหอิเล็กตรอนหลุดออกมาเปนจํานวนมากสะสมอยูระหวางแผนคูขนาน โดยประจุ
ที่ตําแหนง 𝑥𝑥 มีความหนาแนนประจุ 𝜌𝜌𝑥𝑥 และกําลังเคลื่อนที่ดวยความเร็ว 𝑣𝑣𝑥𝑥 ไปยังขั้วแอโนด ใหประมาณวา
ความเร็วของประจุมีทิศขนานกับแกน 𝑥𝑥 เทานั้น

b) จงแสดงวา ที่ระนาบตรงตําแหนง 𝑥𝑥 มีกระแสไหล 𝐼𝐼 = 𝜌𝜌𝑥𝑥 𝑣𝑣𝑥𝑥 𝑎𝑎2 [0.6 คะแนน]

เมื่อใหความรอนไประยะเวลาหนึ่งระบบจะเขาสูสภาวะคงตัว (steady state) ที่สภาวะนั้นปริมาณ


ทั้งหมดที่พิจารณาจะมีคาคงตัวไมขึ้นกับเวลา และอิเล็กตรอนหลุดออกจากขั้วแคโทดดวยความเร็วตนประมาณ
ศูนย
กําหนดให 𝐸𝐸�⃗ = 𝐸𝐸𝑥𝑥 𝚤𝚤̂ และ 𝑉𝑉𝑥𝑥 เปนสนามไฟฟาและศักยไฟฟาที่ตําแหนง 𝑥𝑥 ใด ๆ ระหวางแผน จาก
สมการแมกซเวลล เราพบวา
𝑑𝑑𝐸𝐸𝑥𝑥 𝜌𝜌𝑥𝑥
=
𝑑𝑑𝑑𝑑 𝜖𝜖0
เมื่อ 𝜖𝜖0 เปนสภาพยอมของสุญญากาศ

𝑑𝑑 2 𝑉𝑉𝑥𝑥 𝛼𝛼
c) จงแสดงวา 𝑑𝑑𝑥𝑥 2
=
�𝑉𝑉𝑥𝑥
แลวหาคา 𝛼𝛼 ในรูปของ 𝐼𝐼, 𝑎𝑎, 𝑚𝑚, 𝑒𝑒 และ 𝜖𝜖0 [1.4 คะแนน]

𝑛𝑛+1 𝑑𝑑𝑦𝑦 𝑛𝑛
กําหนดให ∫ 𝑥𝑥 𝑛𝑛 𝑑𝑑𝑑𝑑 = 𝑥𝑥𝑛𝑛+1 + 𝐶𝐶 และ เมื่อ 𝑦𝑦 เปนฟงกชันของ 𝑥𝑥 แลว 𝑑𝑑𝑑𝑑
𝑑𝑑𝑑𝑑
= 𝑛𝑛𝑥𝑥 𝑛𝑛−1 𝑑𝑑𝑑𝑑

กําหนดให 𝑉𝑉𝑥𝑥 = 𝑘𝑘𝑥𝑥 𝑛𝑛 เปนคําตอบของสมการในขอ c)

d) จงหาคา 𝑘𝑘 ในรูปของ 𝐼𝐼, 𝑎𝑎, 𝑚𝑚, 𝑒𝑒 และ 𝜖𝜖0 และหาคา 𝑛𝑛 เปนตัวเลข [0.6 คะแนน]

e) หากมีการกลับขั้วความตางศักยเปน −𝑉𝑉𝑑𝑑 จงหาคากระแส 𝐼𝐼 ที่ไหล แลวใหวาดกราฟระหวาง 𝐼𝐼 และ 𝑉𝑉𝑑𝑑


อยางคราว ๆ ลงในกระดาษสรุปคําตอบ แสดงคาที่สําคัญบนแตละแกน ในชวงความตางศักย
−𝜓𝜓0 ≤ 𝑉𝑉𝑑𝑑 ≤ +𝜓𝜓0 เมื่อ 𝜓𝜓0 เปนปริมาณบวกคาหนึ่ง
[1.4 คะแนน]
ขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 2
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 6/12

f) จงหาประจุทั้งหมดที่อยูระหวางแผนคูขนาน ในรูปของ 𝜖𝜖0, 𝑎𝑎, 𝑉𝑉𝑑𝑑 และ 𝑑𝑑 [0.8 คะแนน]

g) จงหาความหนาแนนประจุตอพื้นที่ผิวที่แผนลบ (𝜎𝜎 − ) และแผนบวก (𝜎𝜎 + ) ในรูปของ 𝜖𝜖0, 𝑉𝑉𝑑𝑑 และ 𝑑𝑑


[1.2 คะแนน]

************************* จบขอ 2 *************************


ขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 3
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 7/12

ขอที่ 3 [12 คะแนน]

3.1 กลไกการหายใจของมนุษย [6 คะแนน]


การหายใจ (breathing) เปนกลไกหนึ่งที่รางกายใชในการแลกเปลี่ยนกาซและถายเทความรอนออกจาก
รางกาย โดยกลไกการหายใจนั้นถูกควบคุมดวยกลามเนื้อกะบังลม รูปที่ 1 แสดงแบบจําลองอยางงายที่สาธิต
กระบวนการหายใจ รูปที่ 1 (ก) แสดงสภาวะ ณ ขณะที่กะบังลมคลายตัว (หรือจุดที่เราหายใจออกจนสุด) ความ
ดั น บรรยากาศภายในช อ งโพรงอกและความดัน บรรยากาศภายในปอดจะมี ค าเท า กั น ซึ ่ งเท า กั บ ความดั น
บรรยากาศ 𝑝𝑝0 เนื่องจากผลตางความดันมีคาเปนศูนย เนื้อเยื่อปอดจึงไมเกิดการขยายตัว เราสามารถประมาณได
วาปริมาตรของปอดมีคาเปนศูนย เมื่อกลามเนื้อกะบังลมเกิดการหดตัว ปริมาตรภายในชองโพรงอกจะมี คา
เพิ่มขึ้นสงผลใหความดันภายในชองโพรงอกมีคาตํ่ากวาความดันภายในปอดอยู 𝑝𝑝𝐷𝐷 ผลตางความดันภายในปอด
และในชองโพรงอก 𝑝𝑝𝐷𝐷 ทําใหเกิดแรงลัพธที่ดันเนื้อเยื่อปอดทําใหเกิดการขยายตัว ดังที่แสดงในรูป 1 (ข)

(ก) (ข)
รูปที่ 1 ภาพแสดงกระบวนการหายใจ
ขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 3
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 8/12

3.1.1 ศึกษาตัวแปรของกราฟความดันและปริมาตร

รูปที่ 2 แผนภาพแสดงกราฟผลตางระหวางความดันภายในกับความดันบรรยากาศภายนอก (𝑝𝑝D) กับ


ปริมาตรปอด (𝑉𝑉)

จากการทดลองพบวาความสัมพันธระหวางผลตางความดัน (𝑝𝑝D) และปริมาตรปอด (𝑉𝑉) นั้นเปนไปตามสมการ


1 𝛼𝛼
𝑝𝑝𝐷𝐷 = ln � �
𝑘𝑘 𝛼𝛼 − 𝑉𝑉
เมื่อคา 𝛼𝛼 และ 𝑘𝑘 เปนคาคงตัวซึ่งมีคาดังที่แสดงในตารางที่ 1

ขณะหายใจเขา ขณะหายใจออก
𝛼𝛼 (L) 𝛼𝛼𝐼𝐼 𝛼𝛼𝑂𝑂

𝑘𝑘 (Pa−1 ) 0.964 × 10−3 1.644 × 10−3

ตารางที่ 1 ตารางแสดงคา 𝛼𝛼 และ 𝑘𝑘 ในขณะที่หายใจเขาและหายใจออก

กําหนดให ณ ขณะที่หายใจเขาจนสุดปอดจะมีปริมาตร 3.31 L

a) จากขอมูลที่ใหมา จงหาคา 𝛼𝛼𝐼𝐼 และ 𝛼𝛼𝑂𝑂 [0.7 คะแนน]


ขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 3
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 9/12

3.1.2 การคํานวณพลังงานและงานที่เกี่ยวของกับกระบวนการหายใจ
b) กําหนดให งานที่ทําใหเนื้อเยื่อปอดขยายตัว d𝑤𝑤 เทากับ 𝛾𝛾d𝑆𝑆
พิจารณาการขยายตัวของเนื้อเยื่อปอดรูปทรงกลมจากรัศมี 𝑅𝑅 เปน 𝑅𝑅 + d𝑅𝑅 และตั้งสมมติฐานวาเนื้อเยื่อ
ปอดนั้นขยายตัวอยางชา ๆ ทําใหอยูในสมดุลทุก ๆ ชั่วขณะ
จงแสดงวา 𝛾𝛾d𝑆𝑆 = 𝑝𝑝𝐷𝐷 d𝑉𝑉
เมื่อกําหนดให 𝛾𝛾 คือคาความตึงผิวของเนื้อเยื่อปอด
d𝑆𝑆 คือพื้นที่เนื้อเยื่อปอดที่เพิ่มขึ้นนอย ๆ เมื่อปอดขยายตัว
d𝑉𝑉 คือปริมาตรของปอดที่เพิ่มขึ้นนอย ๆ เมื่อปอดขยายตัว และ
d𝑅𝑅 คือรัศมีที่เปลี่ยนแปลงไปนอย ๆ เมื่อปอดขยายตัว [1.3 คะแนน]

ผลลัพธที่ไดจากคําถามขอ (b) นั้นเปนจริงแมวารูปรางของปอดเปนรูปทรงอื่น ๆ ที่ไมใชทรงกลม ดังนั้น


งานที่ทําใหเนื้อเยื่อปอดขยายตัวนั้นขึ้นกับผลตางระหวางความดันภายในปอดและชองโพรงอก (𝑝𝑝𝐷𝐷 ) ในการ
หายใจ พลังงานจากกระบวนการเผาผลาญสารอาหารหรือเมตาบอลิซึมถูกใชในการหดตัวของกลามเนื้อกะบังลม
โดยเมื่อกลามเนื้อกะบังลมหดตัวจะสงผลใหเนื้อเยื่อปอดขยายตัวซึ่งตรงกับกระบวนการหายใจเขา

c) จงคํานวณหางานที่ใชในการขยายตัวของเนื้อเยื่อปอดในชวงที่หายใจเขา [1.3 คะแนน]


𝑑𝑑
คําแนะนํา : นักเรียนอาจจะตองใชสมการ ∫ 𝑥𝑥e𝑥𝑥 d𝑥𝑥 = 𝑥𝑥e𝑥𝑥 − e𝑥𝑥 + 𝐶𝐶 และ 𝑑𝑑𝑑𝑑 (𝑒𝑒 𝑥𝑥 ) = e𝑥𝑥

หากกําหนดใหใน 1 นาที คนเราหายใจเขายาวและหายใจออกยาวไดประมาณ 10 ครั้ง และคนปกติ


สามารถเผาผลาญสารอาหารเพื่อทําใหเกิดพลังงานไดประมาณ 1600 kcal ใน 1 วัน เราเรียกคานี้วา อัตราการ
เผาผลาญพื้นฐานหรือ basal metabolism rate

d) สมมติใหงานที่ใชในการขยายตัวของเนื้อเยื่อปอดมีคาประมาณ 30% ของพลังงานที่กลามเนื้อกะบังลมใช


ในการหดตัว จงคํานวณหางานที่กลามเนื้อกะบังลมทําในขณะที่หดตัวเพื่อทําใหเนื้อเยื่อปอดขยายตัวใน 1
วัน ใหตอบในหนวยกิโลแคลอรีตอวัน กําหนดให 1 แคลอรี (cal) เทากับ 4.2 จูล [0.5 คะแนน]

e) พลังงานที่กลามเนื้อกะบังลมทําในการหดตัวเพื่อทําใหเนื้อเยื่อปอดขยายตัวใชพลังงานคิดเปนกี่เปอรเซ็นต
ของคาอัตราการเผาผลาญพื้นฐาน [0.2 คะแนน]
ขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 3
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 10/12

3.1.3 การแลกเปลี่ยนความรอนระหวางรางกายที่เปนแหลงความรอนและอากาศภายในปอด
ในขณะที่ความดันในชองโพรงอกลดลง อากาศจากภายนอกรางกายจะไหลเขาสูปอดซึ่งอากาศสวนนี้จะ
ไดรับความรอนจากรางกายทําใหมีความดันสูงกวาความดันในชองโพรงอก กระบวนการนี้ทําใหรางกายสามารถ
ระบายความรอนใหกับอากาศ

f) จงคํานวณหาพลังงานภายในของอากาศภายในปอดที่เพิ่มขึ้นเพื่อรักษาระดับความดันไมใหลดลงตาม
ความดันในชองโพรงอก [1.0 คะแนน]

g) จงคํานวณหาปริมาณความรอนที่อากาศในปอดไดรับจากรางกาย [0.4 คะแนน]

h) จงหาวาความรอนที่ถายเทจากรางกายใหกับอากาศคิดเปนอัตราสวนเทาไรเมื่อเทียบกับงานที่ทําใหกับ
เนื้อเยื่อปอดในการหายใจครบ 1 รอบ [0.6 คะแนน]
ขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 3
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 11/12

3.2 การแทรกสอดของแสงโดยใชไบเลนส [6 คะแนน]


เรามีวิธีการตาง ๆ ในการแบงหนาคลื่นของแสงที่มาจากแหลงกําเนิดแสงอันหนึ่ง แลวทําใหหนาคลื่นที่
แบงนั้นมาซอนทับกันและเกิดการแทรกสอด ตัวอยางหนึ่งคือการใชไบเลนส (bilens) หรือระบบเลนสคู โจทยขอ
นี้เกี่ยวของกับไบเลนสที่เกิดจากเลนสนูนบางอันหนึ่งที่มีบริเวณสวนกลางถูกตัดออกไป และจากนั้นนําเลนสสว น
ที่เหลือมาประกบกัน เมื่อวางแหลงกําเนิดแสงไวดานหนาไบเลนส ณ ตําแหนงที่เหมาะสม จะทําใหเกิดการแทรก
สอดของแสงบริเวณดานหลังของไบเลนสได
ในรูปที่ 3 เลนสนูนบางอันหนึ่งสูง 𝐷𝐷 มีความยาวโฟกัส 𝑓𝑓 บริเวณสวนกลางของเลนสสูง 𝑎𝑎 (𝑎𝑎 < 𝑓𝑓) ถูก
ตัดออกไป และจากนั้นนําเลนสสวนที่เหลืออยูมาประกบกันใหกลายเปนไบเลนส

รูปที่ 3 การสรางไบเลนสโดยตัดสวนกลางของเลนสนูนออกไป
ในรูปที่ 4 แหลงกําเนิ ดแสง 𝑆𝑆 อันหนึ่งที ่มีลั กษณะเป นจุด วางอยูหน าไบเลนส บนแกนมุ ขสํา คั ญ ที่
ระยะหาง 𝑢𝑢 จากไบเลนส เริ่มตนกําหนดให 𝑢𝑢 < 𝑓𝑓 รูปแสดงรังสีของแสงตกกระทบที่สวนบนและสวนลางของไบ
เลนส เมื่อแสงหักเหผานสวนบนและสวนลางของไบเลนสทําใหเกิดภาพ 2 ภาพ 𝑆𝑆1 และ 𝑆𝑆2 ในโจทยขอนี้ เราจะ
สนใจเฉพาะรังสีของแสงบนระนาบที่มี 𝑆𝑆1 และ 𝑆𝑆2

รูปที่ 4 รังสีตกกระทบที่สวนบนและสวนลางของไบเลนส

a) จากรูปที่ 4 จงวาดแผนภาพแสดงทางเดินของแสงเพื่อแสดงตําแหนงของภาพ 𝑆𝑆1 และ 𝑆𝑆2 [1.0 คะแนน]


ขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 3
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 12/12

b) จงหาขนาดของระยะภาพ |𝑣𝑣| วัดจากไบเลนส (ตอบในรูปของ 𝑢𝑢 และ 𝑓𝑓) [1.0 คะแนน]

c) จงหาระยะหาง 𝑑𝑑 ระหวางภาพ 𝑆𝑆1 และ 𝑆𝑆2 (ตอบในรูปของ 𝑢𝑢, 𝑓𝑓 และ 𝑎𝑎) [1.0 คะแนน]

ตอมาเราจะจัดวางแหลงกําเนิดแสงที่ระยะ 𝑢𝑢 = 𝑓𝑓 และวางฉากไวที่ระยะหาง 𝐿𝐿 ดานหลังไบเลนสตามที่แสดง


ในรูปที่ 5 ภาพ 𝑆𝑆1 และ 𝑆𝑆2 ทําหนาที่เปนแหลงกําเนิดแสง แสงจาก 𝑆𝑆1 และ 𝑆𝑆2 จะมาแทรกสอดกันดานหลังไบ
เลนส เกิดริ้วการแทรกสอดบนฉาก กําหนดใหแสงจากแหลงกําเนิดมีความยาวคลื่น 𝜆𝜆 เราจะสนใจเฉพาะรังสีของ
แสงบนระนาบที่มี 𝑆𝑆1 และ 𝑆𝑆2 และระนาบนี้ตั้งฉากกับฉาก

รูปที่ 5 การจัดวางฉาก

d) เมื่อคอย ๆ เลื่อนฉากออกหางจากไบเลนส พบวาที่ระยะหาง 𝐿𝐿 = 𝐿𝐿max ริ้วการแทรกสอดบนฉากจะหายไป


จงหาระยะ 𝐿𝐿max (ตอบในรูปของ 𝑓𝑓, 𝑎𝑎 และ 𝐷𝐷) [1.0 คะแนน]
คําแนะนํา |𝑣𝑣| → ∞ แต |𝑣𝑣|/𝑑𝑑 มีคาจํากัด

e) ที่ระยะ 𝐿𝐿 < 𝐿𝐿max จงหาระยะหางระหวางริ้วการแทรกสอดบนฉาก (ตอบในรูปของ 𝑓𝑓, 𝑎𝑎 และ 𝜆𝜆)


[1.0 คะแนน]
คําแนะนํา สามารถใชสูตรการแทรกสอดของแหลงกําเนิดแสง 2 แหลง

f) เมื่อวางฉากไวที่ระยะที่เหมาะสม พบวาจะเกิดจํานวนริ้วการแทรกสอดมากที่สุด จงหาจํานวนริ้วที่มากที่สุดนี้


(ตอบในรูปของ 𝑓𝑓, 𝑎𝑎, 𝐷𝐷 และ 𝜆𝜆) [1.0 คะแนน]

************************* จบขอ 3 *************************


เฉลยขอสอบภาคทฤษฎี

การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันอาทิตยที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
เฉลยขอสอบภาคทฤษฎีขอ 1
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 1/9

ขอที่ 1 ทอกลิ้ง [11 คะแนน]


a.) SOLUTION

จาก Σ𝐹𝐹 = 𝑚𝑚′𝑎𝑎 จะไดวา


𝑁𝑁 = 𝑚𝑚′𝑔𝑔 cos 𝜃𝜃 และ 𝑚𝑚′𝑔𝑔 sin 𝜃𝜃 − 𝑓𝑓 = 𝑚𝑚′𝑎𝑎
จาก Σ𝜏𝜏 = 𝐼𝐼 𝛼𝛼 รอบจุด CM จะไดวา
𝑓𝑓𝑓𝑓 = 𝐼𝐼𝐼𝐼
จากกลิ้งโดยไมไถล จะไดวา 𝛼𝛼 = 𝑎𝑎/𝑅𝑅 ดังนั้น 𝑓𝑓 = 𝑎𝑎𝑎𝑎/𝑅𝑅2 แทนคาแรงเสียดทานลงในสมการแรกจะไดวา
𝑔𝑔 sin 𝜃𝜃 𝑔𝑔 sin 𝜃𝜃
𝑎𝑎 = =
𝐼𝐼 2
1+
𝑚𝑚′𝑅𝑅 2
b.) SOLUTION
จาก 1.1.a คาแรงเสียดทานจะมีคา 𝑓𝑓 = 12 𝑚𝑚′𝑔𝑔 sin 𝜃𝜃 ซึ่งเปนแรงเสียดทานสถิตเนื่องจากเปนการกลิ้งโดยไม
ไถลทําใหที่จุดสัมผัสระหวางพื้นเอียงกับทอไมมีการเคลื่อนที่สัมพัทธกัน ดังนั้นสําหรับแรงเสียดทานสถิต
𝑓𝑓 ≤ 𝜇𝜇𝜇𝜇
1 ′
𝑚𝑚 𝑔𝑔 sin 𝜃𝜃 ≤ 𝜇𝜇𝑚𝑚′ 𝑔𝑔 cos 𝜃𝜃
2
1
tan 𝜃𝜃 ≤ 𝜇𝜇
2
เฉลยขอสอบภาคทฤษฎีขอ 1
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 2/9

c.) SOLUTION

สําหรับการกลิ้งเฉียงนั้น ความเรงและแรงเสียดทานที่ทําใหทอกลิ้งจะมีทิศเปลี่ยนไปจากขอ 1.1.a เปนตามรูป


ดานบน โดยที่แรงเสียดทาน 𝑓𝑓1 และ 𝑓𝑓2 อยูในระนาบพื้นเอียง แรง 𝑁𝑁 ตั้งฉากกับระนาบพื้นเอียง
ให แกน x และ y อยูในระนาบพื้นเอียงดังรูป
พิจารณาแรงในแนวความเรงจะไดวา 𝑚𝑚′𝑔𝑔 sin 𝜃𝜃 cos 𝜙𝜙 − 𝑓𝑓1 = 𝑚𝑚′𝑎𝑎
จาก Σ𝜏𝜏 = 𝐼𝐼 𝛼𝛼 รอบจุด CM จะไดวา 𝑓𝑓1 𝑅𝑅 = 𝐼𝐼𝐼𝐼
จากเงื่อนไขกลิ้งโดยไมไถล จะไดวา 𝛼𝛼 = 𝑎𝑎/𝑅𝑅 ดังนั้น 𝑓𝑓1 = 𝑎𝑎𝑎𝑎/𝑅𝑅2 แทนคาแรงเสียดทานลงในสมการแรกจะได
𝑔𝑔 sin 𝜃𝜃 cos 𝜙𝜙 𝑔𝑔 sin 𝜃𝜃 cos 𝜙𝜙
𝑎𝑎 = =
𝐼𝐼 2
1+
𝑚𝑚′𝑅𝑅 2
เฉลยขอสอบภาคทฤษฎีขอ 1
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 3/9

d.) SOLUTION

′ 2 ′
จาก Σ𝜏𝜏 = 𝐼𝐼 𝛼𝛼 รอบจุด CM จะไดวา 𝑓𝑓1 𝑅𝑅 = 𝐼𝐼𝐼𝐼 = 𝐼𝐼𝐼𝐼𝑅𝑅 → 𝑓𝑓1 = 𝑅𝑅𝐼𝐼𝐼𝐼2 = 𝑚𝑚 𝑅𝑅 (𝑔𝑔 2𝑅𝑅
sin 𝜃𝜃 cos 𝜙𝜙)
2
𝑚𝑚 𝑔𝑔
= 2 sin 𝜃𝜃 cos 𝜙𝜙
เนื่องจาก วัตถุไมมีการเคลื่อนที่ในแนวแกน y จะไดวา 𝑓𝑓2 = 𝑚𝑚′𝑔𝑔 sin 𝜃𝜃 sin 𝜙𝜙
ดังนั้นแรงเสียดทานรวมที่กระทําตอทอคือ
𝑚𝑚′ 𝑔𝑔 𝑚𝑚′ 𝑔𝑔
𝑓𝑓 = (𝑓𝑓12 + 𝑓𝑓22 )1/2 = sin 𝜃𝜃 (cos 2 2 1/2
𝜙𝜙 + 4 sin 𝜙𝜙) = sin 𝜃𝜃 (1 + 3 sin2 𝜙𝜙)1/2
2 2
ดังนั้นสําหรับแรงเสียดทานสถิต
𝑓𝑓 ≤ 𝜇𝜇𝜇𝜇
𝑚𝑚′ 𝑔𝑔
sin 𝜃𝜃 (1 + 3 sin2 𝜙𝜙)1/2 ≤ 𝜇𝜇(𝑚𝑚′ 𝑔𝑔 cos 𝜃𝜃)
2
1
(tan 𝜃𝜃) (1 + 3 sin2 𝜙𝜙)1/2 ≤ 𝜇𝜇
2

e.) SOLUTION
วิธีที่ 1 ใชกฏของนิวตัน

free body diagrams ของทรงกระบอกกลวงและครึ ่งทรงกระบอกเปน ดั งรูปดานบน โดยที่ 𝑁𝑁 คือแรง


ปฏิ กิ ร ิ ย าที่ พื ้ นเอี ยงทํ า กับ ทรงกระบอกกลวง และ 𝑁𝑁�⃗1 คือแรงปฏิกิร ิยาที่ทรงกระบอกกลวงทํากับครึ่ง
ทรงกระบอก สําหรับทิศของ 𝑁𝑁�⃗1 นั้นตองชี้ผานจุดศูนยกลางเพราะเปนแรงในแนวตั้งฉากกับผิวสัมผัสระหวาง
วัตถุทั้งสอง นอกจากนั้นแรง 𝑁𝑁�⃗1 จะตองชี้ผานจุด cm ของครึ่งทรงกระบอกดวยเพราะวาครึ่งทรงกระบอกไม
เฉลยขอสอบภาคทฤษฎีขอ 1
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 4/9

มี การหมุ น ทํ าใหทอร ครวมรอบจุ ด cm ∑𝜏𝜏 = 𝜏𝜏𝑁𝑁1 + 𝜏𝜏𝑚𝑚𝑚𝑚 = 0 เนื่องจาก 𝜏𝜏𝑚𝑚𝑚𝑚 = 0 จะทําใหไ ด ว า


�⃗1 ชี ้ไปยั งจุด cm (เวลาคิด ทอร คตองคิด รอบจุ ด cm เท านั้น
𝜏𝜏𝑁𝑁1 = 0 ซึ ่งเป น ได แค กรณีเ ดีย วคือแรง 𝑁𝑁
เพราะวาครึ่งทรงกระบอกมีความเรง)
จาก free body diagram ของทรงกระบอกกลวง จะไดสมการตอไปนี้ (|𝑁𝑁�⃗1| = 𝑁𝑁1)
𝑚𝑚′ 𝑔𝑔 sin 𝜃𝜃 + 𝑁𝑁1 sin(𝜃𝜃 − 𝛽𝛽) − 𝑓𝑓 = 𝑚𝑚′ 𝑎𝑎
𝑁𝑁 − 𝑁𝑁1 cos(𝜃𝜃 − 𝛽𝛽) = 𝑚𝑚′ 𝑔𝑔 cos 𝜃𝜃
𝑎𝑎
𝑓𝑓𝑓𝑓 = 𝐼𝐼𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟 𝛼𝛼 = 𝑚𝑚′ 𝑅𝑅 2 � �
𝑅𝑅

จาก free body diagram ของครึ่งทรงกระบอก จะไดสมการตอไปนี้


𝑚𝑚𝑚𝑚 sin 𝜃𝜃 − 𝑁𝑁1 sin(𝜃𝜃 − 𝛽𝛽) = 𝑚𝑚𝑚𝑚
𝑁𝑁1 cos(𝜃𝜃 − 𝛽𝛽) = 𝑚𝑚𝑚𝑚 cos 𝜃𝜃
แก 5 สมการดานบนเพื่อหาคา 𝑎𝑎 และ 𝛽𝛽 จะได
𝑚𝑚′ + 𝑚𝑚
𝑎𝑎 = � 𝐼𝐼 � 𝑔𝑔 sin 𝜃𝜃
𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟 ′
� ′ 2 + 1� 𝑚𝑚 + 𝑚𝑚
𝑚𝑚 𝑅𝑅
𝑚𝑚′ + 𝑚𝑚
= � ′ � 𝑔𝑔 sin 𝜃𝜃
2𝑚𝑚 + 𝑚𝑚
และ
𝑚𝑚′
𝛽𝛽 = 𝜃𝜃 − tan−1 �� ′ � tan 𝜃𝜃�
2𝑚𝑚 + 𝑚𝑚

วิธีที่ 2 ใชอนุรักษพลังงานหาความเรง
สมมติวาเริ่มตนจากหยุดนิ่ง พลังงานตอนเริ่มตนจะมีเพียงพลังงานศักย โดยกําหนดใหเปน 0 ตอนเริ่มตน
เมื่อระบบกลิ้งลงมาจะมีพลังงานจลนของทอ (c) และครึ่งทรงกระบอก (s) เปน
1 1 1 𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐 2 1 ′ 2
𝐸𝐸𝑐𝑐 = 2
𝐼𝐼𝑐𝑐,𝑐𝑐𝑐𝑐 𝜔𝜔2 + 𝑚𝑚′ 𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐 = (𝑚𝑚′ 𝑅𝑅 2 ) � 2
� + 𝑚𝑚 𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐 = 𝑚𝑚′ 𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐
2 2 2 𝑅𝑅 2
1 2
𝐸𝐸𝑠𝑠 = 2 𝑚𝑚𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐 (ครึ่งทรงกระบอกมีแต translation ไมมี rotation)

จากอนุรักษพลังงานจะไดวา
1
2
0 = 𝑚𝑚′ 𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐 2
+ 𝑚𝑚𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐 − (𝑚𝑚′ + 𝑚𝑚)𝑔𝑔𝑔𝑔 sin 𝜃𝜃
2
เฉลยขอสอบภาคทฤษฎีขอ 1
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 5/9

2
𝑚𝑚′ + 𝑚𝑚
𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐 = 2 �� � 𝑔𝑔 sin 𝜃𝜃� 𝑙𝑙
2𝑚𝑚′ + 𝑚𝑚
เนื่องจากระบบมีความเรงคงที่จะไดวา 𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐
2
= 2𝑎𝑎𝑎𝑎 ดังนั้น
𝑚𝑚′ + 𝑚𝑚
𝑎𝑎 = � ′ � 𝑔𝑔 sin 𝜃𝜃
2𝑚𝑚 + 𝑚𝑚

f.) SOLUTION

จุด CM ของทอทรงกระบอกกลวงนั้นอยูที่ตําแหนง 𝑦𝑦𝑚𝑚′ = 0 สวนจุด CM ของครึ่งทรงกระบอกอยูที่


ตําแหนง 𝑦𝑦𝑐𝑐𝑐𝑐 = 𝑘𝑘𝑘𝑘 ดังนั้นจุด CM ของระบบทอและครึ่งทรงกระบอกคือ
𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚
𝑅𝑅𝑐𝑐𝑐𝑐 = ≡ 𝑘𝑘′𝑅𝑅
𝑚𝑚 + 𝑚𝑚′
ดังนั้น
𝑚𝑚
𝑘𝑘 ′ = 𝑘𝑘
𝑚𝑚 + 𝑚𝑚′

g.) SOLUTION

อันดับแรก พิจารณาความสูงของจุด CM ของระบบทอและครึ่งทรงกระบอกหลังจากกลิ้งไปเปนมุม 𝛽𝛽 โดย


กําหนดใหจุด 𝑂𝑂 เปนตําแหนง 𝑦𝑦 = 0 จะไดวาตอนเริ่มตนความสูงของจุด CM ในแนวแกน 𝑦𝑦 คือ
𝑦𝑦𝑐𝑐𝑐𝑐 (𝛽𝛽 = 0) = 𝑅𝑅 cos 𝜃𝜃 − 𝑘𝑘′𝑅𝑅

และเมื่อกลิ้งไปเปนมุม 𝛽𝛽 ตําแหนง 𝑦𝑦𝑐𝑐𝑐𝑐 (𝛽𝛽) มีคาเปน


เฉลยขอสอบภาคทฤษฎีขอ 1
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 6/9

𝑦𝑦𝑐𝑐𝑐𝑐 (𝛽𝛽) = 𝑅𝑅 cos 𝜃𝜃 − 𝑘𝑘 ′ 𝑅𝑅 cos 𝛽𝛽 − 𝑅𝑅𝑅𝑅 sin 𝜃𝜃


จากกฎทรงพลังงานจะไดวา
1 2
1
𝑀𝑀𝑀𝑀𝑦𝑦𝑐𝑐𝑐𝑐 (0) = 𝑀𝑀𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐 + 𝐼𝐼𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠 𝜔𝜔2 + 𝑀𝑀𝑀𝑀𝑦𝑦𝑐𝑐𝑐𝑐 (𝛽𝛽)
2 2
เนื่องจากเปนการกลิ้งโดยไมไถล จุด A มีความเร็วเปน 0 จะไดความสัมพันธ
𝑣𝑣⃗𝑐𝑐𝑐𝑐 + 𝜔𝜔
�⃗ × 𝑟𝑟⃗ = 0
𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐 = 𝑓𝑓(𝜃𝜃, 𝛽𝛽)𝜔𝜔
โดยที่ 𝑟𝑟⃗ คือการกระจัดจากจุด CM ไปยังจุด A และ 𝑓𝑓(𝜃𝜃, 𝛽𝛽) เปนสเกลารฟงกชัน นําคาไปแทนสมการ
ดานบนจะได
1 2
1 1
𝑀𝑀𝑀𝑀𝑦𝑦𝑐𝑐𝑐𝑐 (0) − 𝑀𝑀𝑀𝑀𝑦𝑦𝑐𝑐𝑐𝑐 (𝛽𝛽) = 𝑀𝑀𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐 + 𝐼𝐼𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠 𝜔𝜔2 = �𝑀𝑀𝑓𝑓 2 + 𝐼𝐼𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠 �𝜔𝜔2 ≥ 0
2 2 2
ดังนั้นระบบจะกลิ้งลงพื้นเอียงไดก็ตอเมื่อ
𝑦𝑦𝑐𝑐𝑐𝑐 (0) − 𝑦𝑦𝑐𝑐𝑐𝑐 (𝛽𝛽) = 𝑅𝑅𝑅𝑅 sin 𝜃𝜃 − 𝑘𝑘 ′ 𝑅𝑅(1 − cos 𝛽𝛽) ≥ 0
(1 − cos 𝛽𝛽)
sin 𝜃𝜃 ≥ 𝑘𝑘 ′
𝛽𝛽
เราตองการใหคา sin 𝜃𝜃 มีคามากกวาคาทางฝงขวามือสําหรับทุกๆ 𝛽𝛽
ดังนั้นตองหาคา 𝛽𝛽 ที่ใหคาสูงสุดของ 𝑔𝑔(𝛽𝛽) = (1 − cos 𝛽𝛽)/𝛽𝛽 ซึ่งหาไดจาก 𝑔𝑔′(𝛽𝛽) = 0 จะไดวา
𝛽𝛽 sin 𝛽𝛽 − (1 − cos 𝛽𝛽)
𝑔𝑔′ (𝛽𝛽) = = 0
𝛽𝛽 2
𝛽𝛽
(1 − cos 𝛽𝛽) 2 sin2 2 𝛽𝛽
𝛽𝛽 = = = tan
sin 𝛽𝛽 𝛽𝛽 𝛽𝛽 2
2 sin 2 cos 2
ดังนั้นคา 𝛽𝛽 = 𝜃𝜃0 จากที่กําหนดใหในโจทย (numerical solution คือ 𝜃𝜃0 = 2.33 rad = 133.5 องศา)
ดังนั้นจะไดวา
𝜃𝜃
(1 − cos 𝜃𝜃0 ) 2 sin2 20 𝜃𝜃0 𝜃𝜃0
′ ′
sin 𝜃𝜃 ≥ 𝑘𝑘 = 𝑘𝑘 = 𝑘𝑘 ′ (2 sin cos ) = 𝑘𝑘 ′ sin 𝜃𝜃0
𝜃𝜃0 𝜃𝜃 2 2
2 tan 20
มุมที่นอยที่สุดของพื้นเอียงที่จะทําใหระบบทอกลิ้งลงพื้นเอียงไดคือ
(1 − cos 𝜃𝜃0 )
𝜃𝜃𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 = sin−1 �𝑘𝑘 ′ � = sin−1 (𝑘𝑘 ′ sin 𝜃𝜃0 )
𝜃𝜃0
(หรือแทนคาจะได 𝜃𝜃𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 = sin (𝑘𝑘 sin 133.5 ) = sin−1(𝑘𝑘 ′ sin 46.5° ) )
−1 ′ °
เฉลยขอสอบภาคทฤษฎีขอ 1
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 7/9

h.) SOLUTION

วิธีที่ 1 คิดเปนวัตถุชิ้นเดียว
พลังงานจลนของระบบคือ
1 1
𝐸𝐸𝑘𝑘 = 2
(𝑚𝑚 + 𝑚𝑚′ )𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐 + 𝐼𝐼𝑐𝑐𝑐𝑐 𝜔𝜔02
2 2
จากการกลิ้งโดยไมไถล ความเร็วที่จุดสัมผัสมีคาเปน 0 จะไดวา
𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐 = 𝜔𝜔0 (𝑅𝑅 − 𝑘𝑘 ′ 𝑅𝑅)
= (1 − 𝑘𝑘 ′ )𝜔𝜔0 𝑅𝑅
คาโมเมนตความเฉื่อยของระบบรอบจุด cm หาไดจากทฤษฎีแกนขนานระหวางจุดศูนยกลาง o และจุด cm
𝐼𝐼𝑐𝑐𝑐𝑐 = 𝐼𝐼𝑜𝑜 − (𝑚𝑚 + 𝑚𝑚′ )(𝑘𝑘 ′ 𝑅𝑅)2
1
= 𝑚𝑚′ 𝑅𝑅 2 + 𝑚𝑚𝑅𝑅 2 − (𝑚𝑚 + 𝑚𝑚′ )𝑘𝑘 ′2 𝑅𝑅 2
2
แทนคาปริมาณตางๆลงใน 𝐸𝐸𝑘𝑘 จะไดวา
3
𝐸𝐸𝑘𝑘 = �(1 − 𝑘𝑘 ′ )𝑚𝑚′ + � − 𝑘𝑘 ′ � 𝑚𝑚� 𝑅𝑅 2 𝜔𝜔02
4
3
= �𝑚𝑚 + � − 𝑘𝑘� 𝑚𝑚� 𝑅𝑅 2 𝜔𝜔02

4

วิธีที่ 2 คิดแยกระหวางทอและครึ่งทรงกระบอก
พลังงานจลนของทอ (c) ไดจาก
1 1
2
𝐸𝐸𝑘𝑘,𝑐𝑐 = 𝑚𝑚′ 𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐,𝑐𝑐 + 𝐼𝐼𝑐𝑐𝑐𝑐,𝑐𝑐 𝜔𝜔02
2 2
โดยที่ 𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐,𝑐𝑐 = 𝜔𝜔0 𝑅𝑅 และ 𝐼𝐼𝑐𝑐𝑐𝑐,𝑐𝑐 = 𝑚𝑚′𝑅𝑅 2 แทนคาจะได
𝐸𝐸𝑘𝑘,𝑐𝑐 = 𝑚𝑚′ 𝑅𝑅 2 𝜔𝜔02
สวนพลังงานจลนของครึ่งทรงกระบอก (s) ไดจาก
1 1
2
𝐸𝐸𝑘𝑘,𝑠𝑠 = 𝑚𝑚𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐,𝑠𝑠 + 𝐼𝐼𝑐𝑐𝑐𝑐,𝑠𝑠 𝜔𝜔02
2 2
1
โดยที่ 𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐,𝑠𝑠 = 𝜔𝜔0 (𝑅𝑅 − 𝑘𝑘𝑘𝑘) = 𝜔𝜔0 (1 − 𝑘𝑘)𝑅𝑅 และ 𝐼𝐼𝑐𝑐𝑐𝑐,𝑠𝑠 = 2 𝑚𝑚𝑅𝑅 2 − 𝑚𝑚𝑘𝑘 2 𝑅𝑅 2 จากทฤษฎีแกนขนาน
แทนคาจะได
เฉลยขอสอบภาคทฤษฎีขอ 1
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 8/9

3
𝐸𝐸𝑘𝑘,𝑠𝑠 = � − 𝑘𝑘� 𝑚𝑚𝑅𝑅 2 𝜔𝜔02
4
ดังนั้นพลังงานจลนของระบบคือ
𝐸𝐸𝑘𝑘 = 𝐸𝐸𝑘𝑘,𝑐𝑐 + 𝐸𝐸𝑘𝑘,𝑠𝑠
3
= �(1 − 𝑘𝑘 ′ )𝑚𝑚′ + � − 𝑘𝑘 ′ � 𝑚𝑚� 𝑅𝑅 2 𝜔𝜔02
4
3
= �𝑚𝑚′ + � − 𝑘𝑘� 𝑚𝑚� 𝑅𝑅 2 𝜔𝜔02
4

i.) SOLUTION

เนื่องจากเปนการกลิ้งโดยไมไถล ระบบจะอนุรักษพลังงาน จะไดวาพลังงานรวมตอนรูป C มีคาเทากับ


พลังงานตอนรูป D
สําหรับตอน C: 𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐 = 𝜔𝜔0(𝑅𝑅 − 𝑘𝑘 ′𝑅𝑅) = (1 − 𝑘𝑘 ′)𝜔𝜔0𝑅𝑅
พลังงานจลนตอน C คือ 𝐸𝐸𝑘𝑘,𝐶𝐶 = �(1 − 𝑘𝑘 ′ )𝑚𝑚′ + �34 − 𝑘𝑘 ′� 𝑚𝑚� 𝑅𝑅2𝜔𝜔02 = �𝑚𝑚′ + �34 − 𝑘𝑘� 𝑚𝑚� 𝑅𝑅2𝜔𝜔02
พลังงานศักยตอน C คือ 𝐸𝐸𝑝𝑝,𝐶𝐶 = (𝑚𝑚 + 𝑚𝑚′)𝑔𝑔(𝑅𝑅 − 𝑘𝑘 ′𝑅𝑅) = (𝑚𝑚 + 𝑚𝑚′)(1 − 𝑘𝑘 ′ )𝑔𝑔𝑔𝑔

สําหรับตอน D: 𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐 = 𝜔𝜔(𝑅𝑅 + 𝑘𝑘 ′ 𝑅𝑅) = (1 + 𝑘𝑘 ′ )𝜔𝜔𝜔𝜔


พลังงานจลนตอน D คือ 𝐸𝐸𝑘𝑘,𝐷𝐷 = �(1 + 𝑘𝑘 ′ )𝑚𝑚′ + �34 + 𝑘𝑘 ′ � 𝑚𝑚� 𝑅𝑅2𝜔𝜔2 = �𝑚𝑚′ + �34 + 𝑘𝑘� 𝑚𝑚� 𝑅𝑅 2 𝜔𝜔2
พลังงานศักยตอน D คือ 𝐸𝐸𝑝𝑝,𝐷𝐷 = (𝑚𝑚 + 𝑚𝑚′)𝑔𝑔(𝑅𝑅 + 𝑘𝑘 ′ 𝑅𝑅) = (𝑚𝑚 + 𝑚𝑚′)(1 + 𝑘𝑘 ′)𝑔𝑔𝑔𝑔

จากอนุรักษพลังงาน ไดวา 𝐸𝐸𝑘𝑘,𝐶𝐶 + 𝐸𝐸𝑝𝑝,𝐶𝐶 = 𝐸𝐸𝑘𝑘,𝐷𝐷 + 𝐸𝐸𝑝𝑝,𝐶𝐶


3
�(1 − 𝑘𝑘 ′ )𝑚𝑚′ + �4 − 𝑘𝑘 ′ � 𝑚𝑚� 𝑅𝑅 2 𝜔𝜔02 − (𝑚𝑚 + 𝑚𝑚′ )𝑔𝑔(2𝑘𝑘 ′ 𝑅𝑅)
𝜔𝜔2 =
3
�(1 + 𝑘𝑘 ′ )𝑚𝑚′ + �4 + 𝑘𝑘 ′ � 𝑚𝑚� 𝑅𝑅 2

3
�𝑚𝑚′ + �4 − 𝑘𝑘� 𝑚𝑚� 𝑅𝑅 2 𝜔𝜔02 − (𝑚𝑚 + 𝑚𝑚′ )𝑔𝑔(2𝑘𝑘 ′ 𝑅𝑅)
=
3
�𝑚𝑚′ + �4 + 𝑘𝑘� 𝑚𝑚� 𝑅𝑅 2
เฉลยขอสอบภาคทฤษฎีขอ 1
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 9/9

j.) SOLUTION

จากกฎของนิวตัน จะไดวา
𝑦𝑦
𝑁𝑁 − (𝑚𝑚 + 𝑚𝑚′ )𝑔𝑔 = (𝑚𝑚 + 𝑚𝑚′ ) 𝑎𝑎𝑐𝑐𝑐𝑐
โดยที่ความเรงของจุด cm ในแนวแกน y สามารถหาไดจาก
𝑦𝑦𝑐𝑐𝑐𝑐 = 𝑅𝑅 − 𝑘𝑘 ′ 𝑅𝑅 cos 𝜃𝜃
𝑦𝑦 𝑑𝑑𝑦𝑦𝑐𝑐𝑐𝑐
𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐 = = 𝑘𝑘 ′ 𝑅𝑅 sin 𝜃𝜃 𝜔𝜔
𝑑𝑑𝑑𝑑
𝑦𝑦
𝑦𝑦 𝑑𝑑𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐 𝑑𝑑𝑑𝑑
𝑎𝑎𝑐𝑐𝑐𝑐 = = 𝑘𝑘 ′ 𝑅𝑅 cos 𝜃𝜃 𝜔𝜔2 + 𝑘𝑘 ′ 𝑅𝑅 sin 𝜃𝜃
𝑑𝑑𝑑𝑑 𝑑𝑑𝑑𝑑
เมื่อ 𝜃𝜃 = 𝜋𝜋,
𝑦𝑦 𝑘𝑘 ′ 2
𝑣𝑣𝑐𝑐𝑐𝑐
𝑎𝑎𝑐𝑐𝑐𝑐 = −𝑘𝑘 ′ 𝑅𝑅𝜔𝜔2 = −
(1 + 𝑘𝑘 ′ )2 𝑅𝑅
ดังนั้น 𝑁𝑁 มีคาเปน
𝑁𝑁 = (𝑚𝑚 + 𝑚𝑚′ )(𝑔𝑔 − 𝑘𝑘 ′ 𝑅𝑅𝜔𝜔2 )

************************* จบเฉลยขอ 1 *************************


เฉลยขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 2
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 1/5

ขอที่ 2 Thermionic Vacuum Tubes [7 คะแนน]


a.) SOLUTION
เนื่องจากเปนอิเล็กตรอนเพียงตัวเดียวที่เคลื่อนที่ เราจึงยังคงประมาณไดวาสนามระหวางแผนคูขนานมีความ
สมํ่าเสมอ ดังนั้นที่ตําแหนง 𝑥𝑥 จึงมีความตางศักย 𝑉𝑉(𝑥𝑥) = (𝑥𝑥⁄𝑑𝑑 )𝑉𝑉𝑑𝑑
อิเล็กตรอนมีความเร็วตามสมการการอนุรักษพลังงาน 12 𝑚𝑚𝑣𝑣𝑥𝑥2 − 𝑒𝑒𝑒𝑒(𝑥𝑥) = 12 𝑚𝑚𝑣𝑣02
หรือ
2𝑒𝑒𝑒𝑒𝑉𝑉𝑑𝑑
𝑣𝑣𝑥𝑥 = � + 𝑣𝑣02
𝑚𝑚𝑚𝑚

b.) SOLUTION

𝑣𝑣𝑥𝑥

𝑣𝑣𝑥𝑥 Δ𝑡𝑡

อิ เ ล็ ก ตรอนที ่ ต ํ า แหน ง 𝑥𝑥 จะเคลื ่ อ นที ่ ไ ด ร ะยะทาง 𝑣𝑣𝑥𝑥 Δ𝑡𝑡 ในระยะเวลา Δ𝑡𝑡 จึ ง มี ป ระจุ เ คลื ่ อ นที ่ ผ  า น
พื้นที่หนาตัด 𝑎𝑎2 เทากับ Δ𝑄𝑄 = 𝜌𝜌𝑥𝑥 (𝑣𝑣𝑥𝑥 Δ𝑡𝑡)𝑎𝑎2 (ความหนาแนน คูณ ปริมาตร) ดังนั้นกระแส
Δ𝑄𝑄
𝐼𝐼 = = 𝜌𝜌𝑥𝑥 𝑣𝑣𝑥𝑥 𝑎𝑎2
Δ𝑡𝑡
เฉลยขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 2
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 2/5
c.) SOLUTION
ความสัมพันธของสนามไฟฟาและศักยไฟฟา 𝐸𝐸𝑥𝑥 = − 𝑑𝑑𝑉𝑉𝑥𝑥
𝑑𝑑𝑑𝑑
𝑑𝑑𝐸𝐸𝑥𝑥 𝜌𝜌𝑥𝑥 𝑑𝑑 2 𝑉𝑉𝑥𝑥 𝜌𝜌𝑥𝑥
จาก 𝑑𝑑𝑑𝑑
=
𝜖𝜖0
ดังนั้น 𝑑𝑑𝑥𝑥 2
=−
𝜖𝜖0

เรามีตัวแปรที่ไมทราบคาทั้งหมด 3 ตัวคือ 𝑉𝑉𝑥𝑥 , 𝜌𝜌𝑥𝑥 และ 𝑣𝑣𝑥𝑥 จึงตองใช 3 สมการ


จากขอกอนหนา 𝐼𝐼 = 𝜌𝜌𝑥𝑥 𝑣𝑣𝑥𝑥 𝑎𝑎2 (1)
𝑑𝑑 2 𝑉𝑉𝑥𝑥 = − 𝜌𝜌𝑥𝑥
โจทยกําหนดให 𝜖𝜖0
(2)
𝑑𝑑𝑥𝑥 2
1
การอนุรักษพลังงาน 𝑒𝑒𝑒𝑒𝑥𝑥 = 𝑚𝑚𝑣𝑣𝑥𝑥2 (3)
2

แทนคา 𝜌𝜌𝑥𝑥 จากสมการ (1) เขาไปในสมการ (2) ซึ่งอิเล็กตรอนเปนประจุลบ จึงตองสลับเครื่องหมายดาน


ขวามือของสมการเปนคาบวก
𝑑𝑑 2 𝑉𝑉𝑥𝑥 𝐼𝐼
= (4)
𝑑𝑑𝑥𝑥 2 𝜖𝜖0 𝑣𝑣𝑥𝑥 𝑎𝑎2

แทนคา 𝑣𝑣𝑥𝑥 จากสมการ (3) เขาไปในสมการ (4) จะไดวา

𝑑𝑑 2 𝑉𝑉𝑥𝑥 𝐼𝐼 𝑚𝑚
2
= 2 �
𝑑𝑑𝑥𝑥 𝜖𝜖0 𝑎𝑎 2𝑒𝑒𝑉𝑉𝑥𝑥
ดังนั้น
𝐼𝐼 𝑚𝑚
𝛼𝛼 = 2

𝜖𝜖0 𝑎𝑎 2𝑒𝑒

d.) SOLUTION
𝑑𝑑 2 𝑉𝑉𝑥𝑥 𝐼𝐼 𝑚𝑚
แทนคา 𝑉𝑉𝑥𝑥 = 𝑘𝑘𝑥𝑥 𝑛𝑛 ใน 𝑑𝑑𝑥𝑥 2
=
𝜖𝜖0 𝑎𝑎2
�2𝑒𝑒𝑉𝑉
𝑥𝑥

จะได
𝑛𝑛
𝑛𝑛−2
𝐼𝐼 𝑚𝑚 𝑥𝑥−2
𝑘𝑘𝑘𝑘(𝑛𝑛 − 1)𝑥𝑥 = �
𝜖𝜖0 𝑎𝑎2 2𝑒𝑒 √𝑘𝑘

ซึ่งจะเทากันทุกคาของ 𝑥𝑥 เมื่อ 𝑛𝑛 − 2 = − 𝑛𝑛2 หรือ 𝑛𝑛 = 43


1/3
81 𝑚𝑚𝑚𝑚 2
และไดคา 𝑘𝑘 = �32 𝜖𝜖2𝑎𝑎4 𝑒𝑒�
0
เฉลยขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 2
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 3/5

หรือ
แกสมการโดยการอินทิเกรตตรง ๆ แลวใชเงื่อนไขขอบเขตที่เหมาะสม

e.) SOLUTION
เมื่อกลับขั้วความตางศักย จะไมมีกระแสไหล เนื่องจากขั้วที่รอนเปนขั้วแอโนด อิเล็กตรอนที่หลุดออกมา จะ
โดนดูดกลับไป

จาก 𝑉𝑉𝑥𝑥 = (81𝑚𝑚𝐼𝐼2 ⁄32𝜖𝜖02𝑎𝑎4 𝑒𝑒)1/3𝑥𝑥 4/3 จะไดวา 𝑉𝑉𝑑𝑑 = (81𝑚𝑚𝐼𝐼2 ⁄32𝜖𝜖20 𝑎𝑎4 𝑒𝑒)1/3 𝑑𝑑4/3 หรือ 𝐼𝐼 ∝ (𝑉𝑉𝑑𝑑 )3/2

3
4𝜖𝜖0 𝑎𝑎2 2𝑒𝑒
ที่ตําแหนง 𝑉𝑉𝑑𝑑 = +𝜓𝜓0 จะได 𝐼𝐼 = 9𝑑𝑑2
� 𝜓𝜓0
𝑚𝑚
2

𝐼𝐼

4𝜖𝜖0 𝑎𝑎2 2𝑒𝑒 32


� 𝜓𝜓
9𝑑𝑑 2 𝑚𝑚 0

𝑉𝑉𝑑𝑑
−𝜓𝜓0 +𝜓𝜓0

f.) SOLUTION
จาก 𝜌𝜌𝑥𝑥 = −𝜖𝜖0 𝑑𝑑2𝑉𝑉𝑥𝑥 ⁄𝑑𝑑𝑥𝑥 2 = −𝜖𝜖0𝑘𝑘𝑘𝑘(𝑛𝑛 − 1)𝑥𝑥 𝑛𝑛−2 ประจุอิเล็กตรอนทั้งหมดระหวางแผนคือ
𝑥𝑥=𝑑𝑑
4
𝑄𝑄 = � 𝜌𝜌𝑥𝑥 𝑎𝑎2 𝑑𝑑𝑑𝑑 = −𝜖𝜖0 𝑘𝑘𝑎𝑎2 𝑛𝑛𝑑𝑑𝑛𝑛−1 = − 𝜖𝜖0 𝑎𝑎2 𝑘𝑘𝑑𝑑1/3
3
𝑥𝑥=0

4
ที่แอโนด 𝑉𝑉𝑑𝑑 = 𝑘𝑘𝑑𝑑 3 นําผลนี้ไปแทนคา 𝑘𝑘 จะได
4 𝜖𝜖0 𝑎𝑎2 𝑉𝑉𝑑𝑑
𝑄𝑄 = −
3 𝑑𝑑
เฉลยขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 2
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 4/5
g.) SOLUTION
สนามไฟฟาที่ระหวางแผนคูขนานเทากับ 𝐸𝐸𝑥𝑥 = − 𝑑𝑑𝑉𝑉𝑥𝑥 ⁄𝑑𝑑𝑑𝑑 = −𝑘𝑘𝑘𝑘𝑥𝑥 𝑛𝑛−1

ที่แผนขั้วลบ เมื่อแทนคา 𝑥𝑥 = 0 จะได 𝐸𝐸0− = 0


ที่แผนขั้วบวก เมื่อแทนคา 𝑥𝑥 = 𝑑𝑑 จะได 𝐸𝐸𝑑𝑑+ = −𝑘𝑘𝑘𝑘𝑑𝑑𝑛𝑛−1 = − 43 𝑉𝑉𝑑𝑑𝑑𝑑 ทิศไปทางซายมือ

แบบที่ 1 ใชผิวของเกาส

𝜎𝜎 − 𝜎𝜎 +

4 𝑉𝑉𝑑𝑑
𝐸𝐸 − = 0 𝐸𝐸 + = −
3 𝑑𝑑

ที่บริเวณแคโทด (วาดแบบแผนโลหะหนา ๆ) เราสรางผิวของเกาสโดยปลายดานหนึ่งอยูในเนื้อโลหะของ


แคโทด อีกดานหนึ่งอยูที่ผิวขวาของแคโทดพอดี ซึ่งมี 𝐸𝐸0− = 0 บริเวณนั้น เนื่องจากสนามภายในเนื้อโลหะ
ตองเปนศูนย ดังนั้น 𝜎𝜎 − = 0

ที่บริเวณแอโนด (วาดแบบแผนโลหะหนา ๆ) เราสรางผิวของเกาสโดยปลายดานหนึ่งอยูในเนื้อโลหะของ


แอโนด อีกดานหนึ่งอยูที่ผิวขวาของแอโนดพอดี ซึ่งมี 𝐸𝐸𝑑𝑑+ = − 43 𝑉𝑉𝑑𝑑𝑑𝑑 บริเวณนั้น เนื่องจากสนามภายในเนื้อ
โลหะตองเปนศูนย ดังนั้น 𝜎𝜎 + = 𝜖𝜖0𝐸𝐸𝑑𝑑+ = − 43 𝜖𝜖0𝑑𝑑𝑉𝑉𝑑𝑑
เฉลยขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 2
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 5/5
แบบที่ 2 การรวมสนามจากประจุแบบแผน
𝜎𝜎 − 𝜎𝜎 +

อิเล็กตรอนระหวางแผน
𝐸𝐸 − (เต็มพื้นที่) 𝐸𝐸 +

𝟒𝟒 𝝐𝝐𝟎𝟎 𝒂𝒂𝟐𝟐 𝑽𝑽𝒅𝒅


ประจุรวม = 𝑸𝑸 = − 𝟑𝟑 𝒅𝒅

เขียนสมการสนามรวมที่บริเวณขั้วแคโทดและขั้วแอโนด และประจุรวมแลวแกสมการ
𝜎𝜎− 𝑄𝑄 𝜎𝜎+
ติดกับแผนแคโทด 𝐸𝐸0− = 2𝜖𝜖 0
− 2𝜖𝜖 𝑎𝑎2 − 2𝜖𝜖 = 0
0 0
𝜎𝜎− 𝜎𝜎 +
ติดกับแผนแอโนด 𝐸𝐸𝑑𝑑 = 2𝜖𝜖0 + 2𝜖𝜖0𝑎𝑎2 − 2𝜖𝜖0 = − 43 𝑉𝑉𝑑𝑑𝑑𝑑
+ 𝑄𝑄

ประจุรวม 𝑎𝑎2 𝜎𝜎 − + 𝑄𝑄 + 𝑎𝑎2 𝜎𝜎 + = 0

4 𝜖𝜖0 𝑉𝑉𝑑𝑑
แลวแกสมการได 𝜎𝜎 − = 0 และ 𝜎𝜎 + = 3 𝑑𝑑

************************* จบเฉลยขอ 2 *************************


เฉลยขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 3
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 1/7

ขอที่ 3 [12 คะแนน]


เฉลยขอที่ 3.1 [6 คะแนน]

a) เลือกจุดคูอันดับบนกราฟในชวงหายใจเขาและหายใจออกมาอยางละ 1 จุดแลวทําการแทนคาในสมการ
𝑉𝑉
𝛼𝛼 =
1 − 𝑒𝑒 −𝑘𝑘𝑝𝑝𝐷𝐷
จะไดคา
ขณะหายใจเขา ขณะหายใจออก
𝛼𝛼 (L) 𝛼𝛼𝐼𝐼 = 3.57 𝛼𝛼𝑂𝑂 = 3.35

b) พิจารณาเนื้อเยื่อปอดทรงกลมรัศมี 𝑅𝑅 ที่อยูในสมดุล (รูปครึ่งทรงกลม) ที่มคี วามดันภายในเนื้อเยื่อปอดเทากับ


𝑝𝑝0 และความดันภายนอกเทากับ 𝑝𝑝0 − 𝑝𝑝𝐷𝐷
𝑝𝑝0 (𝜋𝜋𝑅𝑅 2 ) = (𝑝𝑝0 − 𝑝𝑝𝐷𝐷 )(𝜋𝜋𝑅𝑅 2 ) + 2𝛾𝛾𝛾𝛾𝛾𝛾

2𝛾𝛾
𝑝𝑝𝐷𝐷 =
𝑟𝑟
งานที่ทําในการขยายเนื้อเยื่อปอด 𝑤𝑤 มีคาเทากับ
𝑑𝑑𝑑𝑑 = 𝛾𝛾𝛾𝛾𝛾𝛾
𝑝𝑝𝐷𝐷 𝑟𝑟
= 𝑑𝑑𝑑𝑑
2
แทนคา 𝑑𝑑𝑑𝑑 ดวย 𝑑𝑑𝑆𝑆 = 8𝜋𝜋𝜋𝜋𝜋𝜋𝜋𝜋 งานที่แกสทําจะมีคาเทากับ
เฉลยขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 3
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 2/7

𝑝𝑝𝐷𝐷 𝑟𝑟
𝑑𝑑𝑑𝑑 = 8𝜋𝜋𝜋𝜋𝜋𝜋𝜋𝜋
2
= 𝑝𝑝𝐷𝐷 (4𝜋𝜋𝑟𝑟 2 𝑑𝑑𝑑𝑑)

= 𝑝𝑝𝐷𝐷 𝑑𝑑𝑑𝑑

เมื่อ 𝑑𝑑𝑑𝑑 = 4𝜋𝜋𝑟𝑟 2 𝑑𝑑𝑑𝑑


หมายเหตุ หากใช 2 × 𝛾𝛾 × 2𝜋𝜋𝜋𝜋 คา 𝑑𝑑𝑆𝑆 = 2 × 8𝜋𝜋𝜋𝜋𝜋𝜋𝜋𝜋

c) ทําการยายขางเพื่อจัดรูปสมการ 𝑝𝑝𝐷𝐷 = 𝑘𝑘1 ln �α−𝑉𝑉 α


� ใหอยูในรูป 𝑉𝑉 = α(1 − 𝑒𝑒 −𝑘𝑘𝑃𝑃𝐷𝐷 ) แลวทําการหา 𝑑𝑑𝑑𝑑 จะ
ได 𝑑𝑑𝑑𝑑 = α𝑘𝑘𝑒𝑒 −𝑘𝑘𝑝𝑝𝐷𝐷 𝑑𝑑𝑝𝑝𝐷𝐷 แทนคาใน 𝑤𝑤 = ∫𝑝𝑝𝐷𝐷𝑑𝑑𝑑𝑑
𝑝𝑝𝑓𝑓

𝑤𝑤 = � 𝑝𝑝𝐷𝐷 α𝑘𝑘𝑒𝑒 −𝑘𝑘𝑝𝑝𝐷𝐷 𝑑𝑑𝑝𝑝𝐷𝐷


0
𝑝𝑝𝑓𝑓
α
= � (−𝑘𝑘𝑝𝑝𝐷𝐷 )𝑒𝑒 (−𝑘𝑘𝑝𝑝𝐷𝐷 ) 𝑑𝑑(−𝑘𝑘𝑝𝑝𝐷𝐷 )
𝑘𝑘
0
α
= �1 − 𝑒𝑒 −𝑘𝑘𝑝𝑝𝑓𝑓 − 𝑘𝑘𝑝𝑝𝑓𝑓 𝑒𝑒 −𝑘𝑘𝑝𝑝𝑓𝑓 �
𝑘𝑘
𝑉𝑉𝑓𝑓
= − α𝑝𝑝𝑓𝑓 + 𝑉𝑉𝑓𝑓 𝑝𝑝𝑓𝑓
𝑘𝑘
หลังจากนั้นหาคาของ 𝑝𝑝𝑓𝑓 โดยแทนคา 𝑉𝑉𝑓𝑓 = 3.31 L ในสมการ 𝑝𝑝𝐷𝐷 = 𝑘𝑘1𝐼𝐼 ln �α𝐼𝐼α−𝑉𝑉𝐼𝐼 𝑓𝑓� จะได 𝑝𝑝𝐷𝐷 = 2700 Pa
แทนคา 𝑘𝑘𝐼𝐼 = 0.964 × 10−3 Pa−1 และ α𝐼𝐼 = 3.58 × 10−3 m−3 จะไดงานที่ทําบนเนื้อเยื่อปอดเทากับ 𝑤𝑤𝐼𝐼 =
2.7 J

d) ทําการแปลงหนวย
2.7 × 10 × 24 × 60
งานที่เนื้อเยื่อปอดไดรับ =
4.2 × 1000

= 9.26 kcal per day

ดังนั้นงานที่กลามเนื้อกะบังลมทําในการหดตัวเทากับ
9.26
งานที่กลามเนื้อกะบังลมทํา =
0.3

= 30.9 kcal per day


เฉลยขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 3
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 3/7

30.9
e) งานที่กล า มเนื้ อกะบั งลมกระทํา คิ ดเปน 1600 × 100 = 1.9% ≈ 2% ข อสั งเกต ร า งกายใช พลั ง งานจาก

กระบวนการเมตาบอลิซึมกับการควบคุมกลามเนื้อกะบังลมนอยมาก!

f) เมื่อกลามเนื้อกะบังลมหดตัวความดันในชองโพรงอกจะมีคาลดลง อากาศภายนอกจะไหลเขาสูปอด ในชวงนี้


อากาศที่ไหลเขาปอดไดรับความรอนจากรางกายทําใหพลังงานภายในของอากาศเพิ่มขึ้นและอากาศเกิดการ
ขยายตัวทํางาน พลังงานภายในของอากาศภายในปอดจะเพิ่มขึ้นเพื่อรักษาระดับความดันไมใหลดลงตามความ
ดันในชองอก
5 5
พลังงานภายในของอากาศในปอดที่เพิ่มขึ้น = 𝑝𝑝0 𝑉𝑉𝑓𝑓 − (𝑝𝑝0 − 𝑝𝑝𝐷𝐷 )𝑉𝑉𝑓𝑓
2 2
5
= 𝑝𝑝𝐷𝐷 𝑉𝑉𝑓𝑓
2
5
= × 2668 × 3.31 × 10−3 = 22.1 J
2

g) ใชกฎขอที่ 1 ของเทอรโมไดนามิกส 𝑄𝑄 = Δ𝑈𝑈 + 𝑊𝑊


แทนคา Δ𝑈𝑈 = 22.1 J และ 𝑤𝑤𝐼𝐼 = 2.7 J จะได 𝑄𝑄 = 24.8 J

h) จากสมการ 𝑤𝑤 = 𝑉𝑉𝑘𝑘𝑓𝑓 − 𝐴𝐴𝑝𝑝𝑓𝑓 + 𝑉𝑉𝑓𝑓 𝑝𝑝𝑓𝑓 เราจะสามารถหางานในชวงหายใจออกไดเทากับ 𝑤𝑤𝑂𝑂 = −1.94 J


ดังนั้นงานทั้งหมดที่เนื้อเยื่อปอดไดรับมีคาเทากับ 𝑤𝑤net = 2.70 − 1.94 = 0.76 J
ความร้อนที่ถ่ายเทให้กบั อากาศ 24.8
ดังนั้นอัตราสวน = = 32.6
งานที่ทาํ ให้กบั เนื้ อเยื่อปอด 0.76
เฉลยขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 3
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 4/7

เฉลยขอที่ 3.2 [6 คะแนน]


a) สามารถเขียนเสนทางเดินของแสงไดดังนี้

b) ใชสมการเลนสบางเพื่อหาระยะภาพ
1 1 1
= +
𝑓𝑓 𝑢𝑢 𝑣𝑣
1 1 1
= −
𝑣𝑣 𝑓𝑓 𝑢𝑢
𝑓𝑓𝑓𝑓
𝑣𝑣 = (𝑢𝑢 < 𝑓𝑓)
𝑢𝑢 − 𝑓𝑓
เราจะไดขนาดของระยะภาพ
𝑓𝑓𝑓𝑓
|𝑣𝑣| =
𝑓𝑓 − 𝑢𝑢
เฉลยขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 3
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 5/7

c) หาระยะหางระหวาง 𝑆𝑆1 และ 𝑆𝑆2

ภาพเสมือน 𝑆𝑆1 และ 𝑆𝑆2 อยูหางกัน


|𝑣𝑣|
𝑑𝑑 = 𝑎𝑎 − 𝑎𝑎
𝑢𝑢
|𝑣𝑣|
= 𝑎𝑎 � − 1�
𝑢𝑢
𝑓𝑓 𝑢𝑢𝑢𝑢
= 𝑎𝑎 � − 1�, �|𝑣𝑣| = �
𝑓𝑓 − 𝑢𝑢 𝑓𝑓 − 𝑢𝑢
𝑎𝑎𝑎𝑎
=
𝑓𝑓 − 𝑢𝑢

d) เมื่อ 𝑢𝑢 = 𝑓𝑓 รังสีหักเหเปนรังสีขนาน ระยะภาพ |𝑣𝑣| = 𝑓𝑓𝑓𝑓⁄(𝑓𝑓 − 𝑢𝑢) → ∞ ภาพ 𝑆𝑆1 และ 𝑆𝑆2 อยูหางกัน 𝑑𝑑 =
𝑎𝑎𝑎𝑎⁄(𝑓𝑓 − 𝑢𝑢) → ∞
เฉลยขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 3
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 6/7

พิจารณาสามเหลี่ยมคลาย
𝐷𝐷 − 𝑎𝑎 𝑑𝑑
=
𝐿𝐿max |𝑣𝑣| + 𝐿𝐿max
𝐷𝐷 − 𝑎𝑎 𝑑𝑑
= (|𝑣𝑣| ≫ 𝐿𝐿max )
𝐿𝐿max |𝑣𝑣|
𝐷𝐷 − 𝑎𝑎 𝑎𝑎 𝑓𝑓𝑓𝑓 𝑎𝑎𝑎𝑎
= �|𝑣𝑣| = , 𝑑𝑑 = �
𝐿𝐿max 𝑓𝑓 𝑓𝑓 − 𝑢𝑢 𝑓𝑓 − 𝑢𝑢

𝑓𝑓
𝐿𝐿max = (𝐷𝐷 − 𝑎𝑎)
𝑎𝑎

e) แหลงกําเนิดแสงเสมือน 𝑆𝑆1 และ 𝑆𝑆2 หางกันเปนระยะทาง 𝑑𝑑 ทําใหเกิดริ้วการแทรกสอดบนฉากที่อยูหาง


ออกไป 𝐿𝐿 + |𝑣𝑣| เราสามารถหาระยะหางระหวางริ้ว Δ𝑥𝑥 จากเงื่อนไขการแทรกสอดแบบเสริมกัน

เราสามารถหาระยะหางระหวางริ้ว Δ𝑥𝑥 จากเงื่อนไขการแทรกสอดแบบเสริมกัน


𝑑𝑑 sin 𝜃𝜃 = 𝑛𝑛𝑛𝑛
𝑥𝑥
𝑑𝑑 = 𝑛𝑛𝑛𝑛
|𝑣𝑣| + 𝐿𝐿
Δ𝑥𝑥
𝑑𝑑 = Δ𝑛𝑛. 𝜆𝜆
|𝑣𝑣| + 𝐿𝐿
𝜆𝜆
∆𝑥𝑥 = (|𝑣𝑣| + 𝐿𝐿) (Δ𝑛𝑛 = 1)
𝑑𝑑
|𝑣𝑣|
= 𝜆𝜆 � � (|𝑣𝑣| ≫ 𝐿𝐿)
𝑑𝑑
𝜆𝜆𝜆𝜆 𝑓𝑓𝑓𝑓 𝑎𝑎𝑎𝑎
= �|𝑣𝑣| = , 𝑑𝑑 = �
𝑎𝑎 𝑓𝑓 − 𝑢𝑢 𝑓𝑓 − 𝑢𝑢
สังเกตวา ∆𝑥𝑥 ไมขึ้นอยูกับ 𝐿𝐿 (𝐿𝐿 ≤ 𝐿𝐿max )
เฉลยขอสอบภาคทฤษฎี ขอที่ 3
การแขงขันฟสิกสโอลิมปกระดับชาติ ครัง้ ที่ 20
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร (ออนไลน)
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หนา 7/7

f) วางฉากที่ระยะ 𝐿𝐿 = 𝐿𝐿max⁄2 ซึ่งเปนตําแหนงที่แสงซอนทับกันเปนบริเวณพื้นที่มากที่สุด บริเวณนี้มีความสูง


𝑊𝑊 = (𝐷𝐷 − 𝑎𝑎)⁄2 จํานวนริ้วการแทรกสอดบนฉากคือ
𝑊𝑊
𝑁𝑁 =
Δ𝑥𝑥
(𝐷𝐷 − 𝑎𝑎)⁄2
=
𝜆𝜆𝜆𝜆⁄𝑎𝑎
(𝐷𝐷 − 𝑎𝑎)𝑎𝑎
=
2𝜆𝜆𝜆𝜆

************************* จบเฉลยขอ 3 *************************

You might also like