Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 31

กำลังไฟฟ้ำในวงจรไฟฟ้ำกระแสสลับ

Power in AC Circuit

Arnon Isaramongkolrak
Department of Electrical Engineering
Nakhon Pathom Rajabhat University
หัวข้อการเรียนการสอน

• ค่ารากเฉลี่ยกาลังสอง (rms)
• กาลังไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
• การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสสลับในสภาวะคงตัว

2
ค่ำรำกเฉลี่ยกำลังสอง
- ค่ารากเฉลี่ยกาลังสอง หรือ ค่าอาร์เอ็มเอส (rms) หรือ ค่า
ประสิทธิผล (effective)

- ใช้เพื่อบ่งบอกปริมาณที่มีการเปลี่ยนแปลงตามเวลา หรือมีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เช่น สัญญาณของแรงดันและ
กระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

3
ค่ำรำกเฉลี่ยกำลังสอง (ต่อ)
v(t )

v  t   Vm cos t   
Vp Vp p
Vm

t
0

Vm

- Peak Voltage = Vp  Vm

- Peak to Peak Voltage = V p  p  2Vm


4
ค่ำรำกเฉลี่ยกำลังสอง (ต่อ)
v(t ) Vef  Vrms
Vp Vp p
Vm

v  t   Vm cos t   
t
0

Vm Vavg

Vm Vp
- RMS Voltage = Vef  Vrms  
2 2

- คำถำม ไฟบ้ำน 220V คือค่ำอะไร ?????


5
กำลังไฟฟ้ำในวงจรไฟฟ้ำกระแสสลับ
- การหากาลังไฟฟ้าในวงจรกระแสสลับ จะพิจารณาดังนี้
I

i(t )  I m cos(t  i ) I  I mi

v(t )  Vm cos(t  v ) V  Vmv

6
กำลังไฟฟ้ำเฉลี่ย (Average Power)
- กาลังไฟฟ้าเฉลี่ย (Average Power) หรือกาลังไฟฟ้าจริง (Real
Power) มีหน่วยเป็น วัตต์ (Watt)
1
P  Vm I m cos(v  i )
2

P
1
2
 2Vrms  
2 I rms cos(v  i )

 Vrms I rms cos(v  i )

7
กำลังไฟฟ้ำปรำกฏ (Apparent Power)
- กาลังไฟฟ้าปรากฏ (Apparent Power) มีหน่วยเป็น โวลต์แอมป์ (VA)
1 P
P  Vm I m cos(v  i )  pf
2
S

pf  cos(v  i ) ตัวประกอบกาลัง
1
S  Vm I m  Vrms I rms กาลังไฟฟ้าปรากฏ
2
8
กำลังไฟฟ้ำเสมือน (Reactive Power)
- เป็นส่วนหนึ่งของกาลังไฟฟ้าที่ไหลเวียนอยู่ในวงจรไฟฟ้าซึ่งเกิดจาก
พลังงานที่เก็บไว้ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับขนาดของตัวเหนี่ยวนา และตัว
เก็บประจุที่อยู่ในวงจรไฟฟ้า
- กาลังไฟฟ้าเสมือน มีหน่วยเป็น วาร์ (Var)

1
Q  Vm I m sin(v  i )
2

9
ตัวประกอบกำลัง(Power Factor)
- คือ อัตราส่วนระหว่างกาลังไฟฟ้าจริงและกาลังไฟฟ้าที่ปรากฏ ซึ่งจะมี
ค่าอยู่ระหว่าง 0-1
- ตัวประกอบกาลังเป็นปริมาณที่สาคัญสาหรับการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า
กระแสสลับที่มีการเปลี่ยนแปลงของโหลดชนิด ตัวเหนี่ยวนา หรือตัว
เก็บประจุ ซึ่งจะส่งผลต่อคุณภาพของแรงดันไฟฟ้า
- ตัวประกอบกาลังจะมีอยู่ 3 ประเภท ซึ่งมีความสัมพันธ์กับสัญญาณของ
แรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าที่ไหลอยู่ในวงจร

10
ตัวประกอบกำลัง(Power Factor)
- Leading Power Factor หมายถึง มุมของสัญญาณกระแสไฟฟ้า
นาหน้ามุมของสัญญาณแรงดันไฟฟ้าเป็นมุม cos(v  i ) ทาให้ค่ามุม
เป็น “ลบ”
- Lagging Power Factor หมายถึง มุมของสัญญาณกระแสไฟฟ้าล้าหลัง
มุมของสัญญาณแรงดันไฟฟ้าเป็นมุม cos(v  i ) ทาให้ค่ามุมเป็น
“บวก”

11
ตัวประกอบกำลัง(Power Factor)

S
Q

P
pf  cos  (มุมมีค่าอยู่ระหว่าง 0-90 องศา)
 cos 0  1
 cos 30  0.86
 cos 90  0
12
ตัวอย่ำงที่ 1
จงคานวณหาค่ากระแสไฟฟ้า I ค่ากาลังไฟฟ้าเฉลี่ย ค่ากาลังไฟฟ้าปรากฏและ
ตัวประกอบกาลังที่แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้า
I 2  j1

600 Vrms 1  j 5

วิธีทำ
คานวณหาค่ากระแสได้จาก กฏของโอห์ม
600
I
(2 - j )(1  j5)
 12  53.13 A rms ตอบ
13
ตัวอย่ำงที่ 1 (ต่อ) I 2  j1

600 Vrms 1  j 5

คานวณหาค่ากาลังไฟฟ้าเฉลี่ย P  1 Vm I m cos(v  i )
2
 Vrms I rms cos(v  i )
 (60)(12) cos(0  (53.13))
 432 W ตอบ
1
คานวณหาค่ากาลังไฟฟ้าปรากฏ S  Vm I m  Vrms I rms  (60)(12)  720 VA
2
ตอบ
14
ตัวอย่ำงที่ 1 (ต่อ) I 2  j1

600 Vrms 1  j 5

คานวณหาค่าตัวประกอบกาลังที่แหล่งจ่ายแรงดันจะได้
pf  cos(v  i )
 cos(0  (53.13))
 cos(53.13)
 0.6
v  i มีค่าเป็นบวก แสดงว่า มุมเฟสของสัญญาณกระแสล้าหลังมุมเฟส
ของสัญญาณแรงดัน
pf  0.6 lagging ตอบ
15
กำลังไฟฟ้ำเชิงซ้อน (Complex Power)
กาหนดให้ V  V  m v V และ I  I mi A สามารถหาค่ากาลังไฟฟ้า
เชิงซ้อนได้ดังนี้
1 
S  VI
2
ค่ากาลังไฟฟ้าเชิงซ้อนมีหน่วย โวลต์แอมป์ (VA)
1 
S  VI
2
1
 Vm v  I m i 
*

2
1
 Vm I m v  i
2
S 16
กำลังไฟฟ้ำเชิงซ้อน (Complex Power)
กาลังไฟฟ้าเชิงซ้อน สามารถเขียนในรูปของ rectangular form ได้เป็น
1 1
S  Vm I m cos(v  i )  j Vm I m sin(v  i )
2 2
P Q

ถ้าพิจารณาเพียงแค่ขนาดของกาลังไฟฟ้าเชิงซ้อน เราจะได้เป็นค่ากาลังไฟฟ้า
ปรากฏนั่นเอง

17
ตัวอย่ำงที่ 2
จงคานวณหาค่ากระแสไฟฟ้า I ค่ากาลังไฟฟ้าเฉลี่ย ค่ากาลังไฟฟ้าปรากฏ ค่า
กาลังไฟฟ้ารีแอกทีฟ ค่ากาลังไฟฟ้าเชิงซ้อน และตัวประกอบกาลังที่แหล่งจ่าย
แรงดันไฟฟ้า 2 

 j 5 j6 

1645 V
+
10  8 
-

วิธีทำ โจทย์ถามหากาลังไฟฟ้าที่อุปกรณ์ตัวใด จะต้องหาเฟสของแรงดัน และ


เฟสเซอร์กระแสของอุปกรณ์ตัวนั้น

18
ตัวอย่ำงที่ 2 (ต่อ)
2 

 j 5 I
j6 
+ 1645 V
+ Z eq
1645 V
- 10  8  -

Zeq  10  j5 / / 8  j 6   2


10  j 5  8  j 6 
2
10  j5  8  j 6 

11.18  26.57 1036.86 
2
18  j1
111.810.29
  2  6.27.11  2
18.033.18 19
ตัวอย่ำงที่ 2 (ต่อ)
2 

 j 5 I
j6 
+ 1645 V
+ Z eq
1645 V
- 10  8  -

Z eq  6.15  j 0.77  2  8.15  j 0.77 

I V  1645
+ 8.15  j 0.77  V 1645
1645 V
- I 
Z eq 8.15  j 0.77

I  1.95439.62 ตอบ
20
ตัวอย่ำงที่ 2 (ต่อ) I

1645 V
+ 8.15  j 0.77 
-

พิจารณาวงจรเพื่อหาค่ากาลังไฟฟ้าทั้งหมด และตัวประกอบกาลังจะได้ว่า
ตัวประกอบกำลัง p. f .  cos v  i 
 cos  45  39.62   0.995 lagging ตอบ
1
กำลังไฟฟ้ำจริง P  Vm I m cos v  i 
2
1
P  16 1.954  0.995 
2
 15.56 W ตอบ
21
ตัวอย่ำงที่ 2 (ต่อ)
1
กำลังไฟฟ้ำรีแอกทีฟ Q  Vm I m sin v  i 
2
1
 16 1.954  sin  45  39.62 
2
Q  1.466 Var ตอบ
กำลังไฟฟ้ำเชิงซ้อน S  P  jQ
 15.56  j1.466 VA ตอบ

กำลังไฟฟ้ำปรำกฏ S  P2  Q2

 15.562  1.4662  15.63 VA ตอบ


22
ตัวอย่ำงที่ 3
จากวงจรต่อไปนี้จงหาค่าของ I V กาลังไฟฟ้าเชิงซ้อน กาลังไฟฟ้าเฉลี่ย
กาลังไฟฟ้ารีแอกทีฟ และตัวประกอบกาลังที่ตัวต้านทาน 10Ω
3 1mH

I
11cos(100t  30) V V 10 1mF

วิธีทำ ทาการแปลงแหล่งจ่ายให้อยู่ในรูปของเฟสเซอร์
11cos(100t  30) V 1130 V

23
3 1mH
ตัวอย่ำงที่ 3 (ต่อ)
I
11cos(100t  30) V V 10 1mF

ทาการแปลงอุปกรณ์ทุกตัวให้อยู่ในรูปของอิมพีแดนซ์
R3 Z3

R  10  Z  10 
L  1 mH Z  j L  j (100)(1103 )  j 0.1 
j j
C  1 mF Z    j10 
C (100)(110 )
3

24
ตัวอย่ำงที่ 3 (ต่อ)
เขียนวงจรใหม่ได้เป็น 3 1mH

I
11cos(100t  30) V V 10 1mF

3  j 0.1

I
1130 V V 10  j10

25
ตัวอย่ำงที่ 3 (ต่อ)
คานวณหาค่าแรงดันไฟฟ้าที่โหลด 10Ω โดยการแบ่งแรงดันจะได้ว่า
3  j 0.1

I
1130 V V 10  j10

(10 //  j10)
V 1130
(3  j 0.1)  (10 //  j10)
(5  j 5)
 1130
(3  j 0.1)  (5  j 5)
(5  j 5)
  1130
(8  j 4.9)
7.07  45
 1130 ตอบ
9.38  31.49
 8.2916.49 V V  8.29 cos(100t  16.49) V 26
ตัวอย่ำงที่ 3 (ต่อ)
คานวณหาค่ากระแสไฟฟ้าที่โหลด 10Ω โดยอาศัยกฏของโอห์มจะได้ว่า
3  j 0.1

I
1130 V V 10  j10

V 8.2916.49 8.2916.49
I  
Z 10 1016.49
 0.82916.49 V I  0.829 cos(100t  16.49) A
ตอบ
27
ตัวอย่ำงที่ 3 (ต่อ)
คานวณหาค่ากาลังไฟฟ้าเชิงซ้อนที่ตาแหน่งโหลด 10Ω
V  8.29 cos(100t  16.49) V I  0.829 cos(100t  16.49) A
3  j 0.1

I
1130 V V 10  j10

1 
S VI
2
1
 (8.2916.49 )(0.829  16.49)
2
 3.440 VA S  3.44  j 0 VA ตอบ
28
ตัวอย่ำงที่ 3 (ต่อ)
คานวณหาค่ากาลังไฟฟ้าเฉลี่ย กาลังไฟฟ้ารีแอกทีฟ ที่ตาแหน่งโหลด 10Ω
S  3.44  j 0 VA S  P  jQ VA

ค่ากาลังไฟฟ้าเฉลี่ยที่ตาแหน่งโหลด 10Ω
P  3.44 Watt ตอบ
ค่ากาลังไฟฟ้ารีแอกทีฟที่ตาแหน่งโหลด 10Ω
Q  0 Var ตอบ
ค่าตัวประกอบกาลังที่ตาแหน่งโหลด 10Ω
P 3.44
pf   1 ตอบ
S 3.44
29
โจทย์ปัญหำ
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับดังรูป จงคานวณหาค่าต่อไปนี้ [กาหนดให้ใช้ทฤษฎีการวาง
ซ้อน (superposition) เท่านั้น]
3mH 1mF

VO
20 cos(1000t ) V 25 20sin(1000t ) V

1). คานวณหาค่า V0 (VO  13.3752.92 V )


2). คานวณหาค่ากาลังไฟฟ้าเฉลี่ย กาลังไฟฟ้าปรากฏ กาลังไฟฟ้ารีแอกทีฟ ค่า
กาลังไฟฟ้าเชิงซ้อน และค่าตัวประกอบกาลัง ที่โหลดตัวเก็บประจุ
30
กำรบ้ำนครั้งที่ 2
1) จากวงจรต่อไปนี้ จงหากระแสโหลดโดยใช้ทฤษฎีบทของเทวินิน เมื่อพิจารณาที่ขั้วต่อ a-b
j 7  j 4
a

1
5015 Vrms 5 6
j 3

2) จากรูปวงจรที่กาหนดให้ จงหากาลังไฟฟ้าจริง กาลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ กาลังไฟฟ้าปรากฏ


กาลังไฟฟ้าเชิงซ้อนและค่าตัวประกอบกาลังของโหลด เมื่อโหลดคือ ตัวต้านทาน 4 Ω ต่อ
อนุกรมกับตัวเก็บประจุ 0.1 mF 0.2mF

2 4
14.14sin(1000t  30) A

5mH 0.1mF
31

You might also like