Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 49

‫‪1438‬‬

‫‪อธิบายหนังสือ‬‬
‫‪บทเรี ยนต่ างๆ ที่สาคัญสาหรั บคนทั่วไป‬‬
‫األحاكم امللمة ىلع ادلروس املهمة لعامة األمة‬

‫< تايالندي ‪> ไทย – Thai -‬‬

‫‪อับดุลอะซีซ บิน ดาวูด อัล-ฟายิซ‬‬


‫عبدالعزيز بن داود الفايز‬

‫‪‬‬
‫์‪ผู้แปล: ทีมงานภาษาไทยเว็บอิสลามเฮ้ าส‬‬
‫‪ผู้ตรวจ: ซุฟอัม อุษมาน‬‬
‫ترمجة‪ :‬فريق اللغة اتلايالندية بموقع دار اإلسالم‬
‫مراجعة‪ :‬صايف عثمان‬
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่ 1
สาคัญสาหรับคนทั่วไป

คานาผู้เขียน

การสรรเสริ ญทังมวลเป็
้ นกรรมสิทธิ์ของอัลลอฮฺ เราใคร่ขอสรรเสริ ญ ขอความช่วยเหลือ และขออภัย
โทษต่อพระองค์ และเราขอความคุ้มครองต่อพระองค์ให้ รอดพ้ นจากความเลวร้ ายของตัวเราเองและจาก
พฤติก รรมที่ ไม่ดี ของเรา ผู้ใดที่ พ ระองค์ท รงชี น้ าทางเขา จะไม่มี ใครทาให้ เขาหลงทางไปได้ ส่วนผู้ใดที่
พระองค์ทรงให้ เขาหลง ก็จะไม่มีผ้ ใู ดให้ ทางนาแก่เขาได้
ฉันขอปฏิญาณตนว่าไม่มีพระเจ้ าอื่นใดที่ ค่คู วรได้ รับการเคารพภักดีอย่างเที่ยงแท้ นอกจากอัลลอฮฺ
แต่เพียงผู้เดียว ไม่มีภาคีใดๆ ร่ วมกับพระองค์ และฉันขอปฏิญาณตนว่ามุหัมมัดเป็ นบ่าวของอัลลอฮฺและ
เป็ นศาสนทูตของพระองค์
ُ َ‫وت ذن إ ذل َوأ‬ َ َ
َ
]٢٠١ :‫ ﴾ [آل عمران‬١٠٢ ‫نتم ُّم ۡسل ُِمون‬
ُ َُ ََ َُ
‫ٱّلل َح ذق تقاتِهِۦ ول تم‬ َ ‫يأ ُّي َها ذٱَّل‬
َ ‫ِين َء َام ُنوا ذٱت ُقوا ذ‬ َٰٓ ﴿
ِ
ความว่า “โอ้ บ รรดาผู้ศรั ทธาทัง้ หลาย จงย าเกรงต่อ อัลลอฮฺ อย่างแท้ จ ริ ง เถิ ด และพวกเจ้ าอย่าเพิ่ งตาย
นอกจากในฐานะที่พวกเจ้ าเป็ นมุสลิมผู้นอบน้ อมเท่านัน”
้ (อาล อิมรอน :102)

َ ‫ث م ِۡن ُه َما ر َج ٗال َكث ِٗريا َون َِسا ٓ ٗء َو ذٱت ُقوا ذ‬


‫َ َٰ َ َ َ َ َ ۡ َ َ ۡ َ َ َ َ ذ‬ ۡ‫ذ‬ ُ ََ َ ‫ُ ذ‬ ُ ‫َ َٰٓ َ ُّ َ ذ ُ ذ‬
‫ٱّلل‬ ِ ‫ٱَّل ي خلقكم مِن نفس و حِدة وخلق مِنها ز وجها وب‬ ِ ‫اس ٱتقوا َر ذبك ُم‬ ‫﴿ يأيها ٱنل‬
ُ َۡ َ َ َ َ‫َ ۡ َ َ ذ ذ‬ َ ۡ َ ُ ٓ َ ‫ذ‬
ٗ ‫ك ۡم َرق‬
]٢ : ‫ ﴾ [النساء‬١ ‫ِيبا‬ ‫ٱَّلِي ت َسا َءلون بِهِۦ وٱۡلرحام إِن ٱّلل َكن علي‬
ความว่า “มนุษยชาติทงหลายั้ จงยาเกรงพระเจ้ าของพวกเจ้ า ผู้ทรงบังเกิดพวกเจ้ ามาจากชีวิตหนึ่ง และทรง
บังเกิดคู่ครองของเขาจากชีวิตนัน้ และทรงให้ บรรดาชายและหญิงแพร่สะพัดจากทังสองชี ้ วิตนัน้ และจงยา
เกรงอัลลอฮฺที่พวกเจ้ าต่างขอกันด้ วยพระองค์ และพึงรักษาเครื อญาติ แท้ จริงอัลลอฮฺทรงสอดส่องดูพวกเจ้ า
อยูเ่ สมอ”(อัน-นิสาอ์ :1)

ُ َ ُ ُ ۡ ُ َ ۡ ۡ َ َ ۡ ُ َ َٰ َ ۡ َ ۡ ُ َ ۡ ۡ ُ َ َ
ُ َ ‫ٱّلل َو َر ُس‬
‫وَلۥ‬ َ ‫ك ۡم َو َمن يُطِعِ ذ‬ ٗ ٗ َ ُ ُ َ‫ذ‬
‫ يصل ِح لكم أ عملكم ويغفِر لكم ذنوب‬٧٠ ‫ٱّلل َوقولوا ق ۡو ل َسدِيدا‬
ُ‫ذ‬ َ ‫يأ ُّي َها ذٱَّل‬
‫ِين َء َام ُنوا ٱتقوا‬ َٰٓ ﴿
]٠٢-٠٠ : ‫ ﴾ [األحزاب‬٧١ ‫ِيما‬ ً ‫از فَ ۡو ًزا َعظ‬َ َ‫َف َق ۡد ف‬

ความว่า “โอ้ ศรัทธาชนทัง้ หลาย จงยาเกรงอัลลอฮฺ และจงกล่าวถ้ อยคาที่เที่ ยงธรรมเถิด พระองค์จะทรง


ปรับปรุงการงานของพวกเจ้ าให้ ดีขึ ้น และจะทรงอภัยโทษในความผิดของพวกเจ้ า และผู้ใดที่เชื่อฟั งปฏิบตั ิ
ตามอัลลอฮฺและเราะสูลของพระองค์ แน่นอน เขาจะได้ รับความสาเร็จอันใหญ่หลวง” (อัล-อะหฺซาบ:70-71 )

ครัง้ หนึ่ง เมื่อฉันได้ อ่านหนังสือ “อัด-ดุรูส อัล-มุฮิมมะฮฺ ลิ อามมะฮฺ อัล -อุมมะฮฺ” (แปลเป็ นไทยว่า
บทเรี ยนสาคัญสาหรับบุคคลทัว่ ไป) ของท่านเชคอับดุลอะซีซ บิน บาซ – ขออัลลอฮฺทรงเมตตาท่านด้ วยเถิด
– ทัน ใดนัน้ ได้ เกิ ด ประกายความคิด ขึน้ มาว่า ฉั น น่ าจะขยายความหนัง สื อ เล่ม นี ้ อัน เนื่ องจากเล็ งเห็ น ว่า
เนื ้อหาสาระมีความสาคัญต่อมุสลิมทุกคนเป็ นอย่างยิ่ง เสมือนกับว่าเป็ นสารที่จะส่งไปยังทุกคน ทุกเพศ ทุก
วัย ทังผู
้ ้ ร้ ูและผู้เรี ยน ฉันจึง ได้ วิงวอนขอต่ออัลลอฮฺให้ ทรงชี ้นาฉันในสิ่งที่ดีกว่า และฉันได้ ปรึกษากับเหล่าผู้ร้ ู
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่ 2
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ซึง่ ทุกคนล้ วนสนับสนุน ฉันจึงตังมั ้ น่ ที่จะดาเนินโครงการนี ้ให้ ลลุ ว่ งไปด้ วยดี จึงได้ ขออนุญาตจากท่านเชคอับ
ดุลอะซีซที่จะขยายความหนังสือเล่มนี ้ ซึง่ ท่านก็อนุญาตให้ จึงขอขอบคุณไว้ เป็ นอย่างสูง
แม้ ว่าหนังสือเล่มนี จ้ ะดูเหมือนว่าเล็กน้ อย แต่เนือ้ หาสาระที่บรรจุไว้ นนั ้ ได้ ครอบคลุม รวบรวมถึง
หลักการยึดมั่น และหลักปฏิ บัติ ทัง้ ยังได้ กล่าวถึงหลักคุณ ธรรม และจริ ยธรรมที่ มุสลิม ควรถื อปฏิ บัติใน
ชีวิตประจาวัน และช่วงท้ ายเล่มจะเตือนให้ ระวังถึงพิษภัยของการตังภาคี ้ และพฤติกรรมต่างๆ ที่เป็ นการฝ่ า
ฝื น จึงถือได้ ว่าเป็ นสารที่มีเนื ้อหาสาระเหมาะสมอย่างยิ่ง ตรงกับชื่อของมันที่ว่าเป็ นบทเรี ยนสาคัญสาหรับ
คนทัว่ ไป
รูปแบบการอธิบายขยายความที่ฉันเลือกถือปฏิบตั ิ คือจะไม่อธิบายจนยาวเหยียดถึงกับเบื่อหน่าย
และมิได้ สนั ้ จนจับใจความไม่ได้ ฉันจึงหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนีจ้ ะเกิดประโยชน์แก่บรรดาอิมาม
ประจ ามัส ยิ ด ที่ จ ะน าไปอ่านให้ ม ะอ์ มูม ฟั ง หลัง ละหมาด หรื อ หัวหน้ า ครอบครั วที่ จ ะอ่านให้ ส มาชิ ก ใน
ครอบครัวฟั ง หรื อนักเรี ยนนักศึกษาก็สามารถนาไปสอนที่หมู่บ้านของตนเอง ซึ่งฉันเองได้ ตระหนักที่จะนา
หลักฐานมาประกอบแต่ละหัวข้ อเท่าที่สามารถหามาได้ และฉันได้ ตงชื ั ้ ่อหนังสือเล่มนี ้ว่า
»‫«األحاكم امللمة ىلع ادلروس املهمة‬
และท่านเชคอับดุลอะซีซ บิน บาซ เองได้ ตรวจทานและเสริ มองค์ความรู้ในส่วนที่ควรเสริ ม ซึง่ ฉันได้
ขีดเส้ นใต้ คาที่ทา่ นเสริมไว้ เป็ นเครื่ องหมาย
สุดท้ ายนี ้ หากท่านผู้อ่านท่านใดพบข้ อผิดพลาด และความบกพร่องประการใด กรุณาให้ คาแนะนา
และท้ วงติงได้ เพราะคนเราจะมีคา่ น้ อยด้ วยตัวคนเดียว แต่จะมีคา่ มากด้ วยพวกพ้ องของเขา
ขอวิงวอนด้ วยพระนามอันวิจิตรของอัลลอฮฺ และด้ วยคุณ ลักษณะอันสูงส่งของพระองค์โปรดให้
หนังสือเล่มนี ้มีคณ ุ ประโยชน์มหาศาล และทรงให้ การงานของฉันมีความบริ สทุ ธิ์ตอ่ พระองค์ และขอพระองค์
ทรงให้ ภาคผลที่ดีแด่ผ้ เู ขียนและผู้อธิบายหนังสือเล่มนี ้ และขอพระองค์ทรงให้ เราและท่านได้ เข้ าสวรรค์ชนั ้
ฟิ รดาวส์พร้ อมกับบรรดาศาสนทูต บรรดาผู้สจั จริง และบรรดาผู้พลีชีพในหนทางของพระองค์ด้วยเถิด

.‫وصىل اهلل وسلم ىلع نبينا حممد وىلع آهل وصحبه أمجعني‬

อับดุลอะซีซ บิน ดาวูด อัล-ฟายิซ


อัซ-ซุลฟี 21/5/1415
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่ 3
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
อธิบายหนังสือ
บทเรียนต่ างๆ ที่สาคัญสาหรับคนทั่วไป

บทที่ 1 อัล-ฟาติหะฮฺ และบทสูเราะฮฺสัน้


สู เราะฮฺ อั ล -ฟาติ ห ะฮฺ และบทสู เราะฮฺ สั น้ ๆ เช่ น สู เราะฮฺ อั ซ -ซั ล ซะละฮฺ ถึง สู เราะฮฺ อั น -นาส
ด้ วยการฝึ กอ่ านให้ ถูกต้ อง ท่ องจา และอธิบายในส่ วนที่จาเป็ นต้ องทาความเข้ าใจ

ท่านเชคอับดุลอะซีซ บิน บาซ เราะหิมาฮุลลอฮฺ ได้ กล่าวไว้ ในบทที่หนึ่งว่า มุสลิมทุกคนจะต้ องหมัน่


ศึกษาเรี ยนรู้สเู ราะฮฺอลั -ฟาติหะฮฺและบทสูเราะฮฺสนๆั ้ - ตามขีดความสามารถของแต่ละคน – เนื่องจากการ
เรี ยนรู้ สูเราะฮฺ อลั -ฟาติหะฮฺถือเป็ นภาคบังคับรายบุคคล เพราะว่าละหมาดใดที่ไม่ได้ อ่านสูเราะฮฺ อลั -ฟาติ
หะฮฺยอ่ มจะใช้ ไม่ได้ ดังที่ทา่ นนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ เคยกล่าวไว้

ขัน้ ตอนปฏิบัตขิ องผู้ท่ จี ะสอนสูเราะฮฺอัล-ฟาติหะฮฺให้ แก่ บุคคลอื่น มีดังนี ้


ขัน้ ตอนที่ 1 สอนให้ อ่าน หากผู้เรี ยนยังอ่านไม่ได้ แต่หากผู้เรี ยนอ่านได้ แล้ ว ก็ ให้ เข้ าสู่ขนั ้ ตอน
ต่อไป นัน่ คือ
ขัน้ ตอนที่ 2 สอนให้ อา่ นอย่างถูกต้ องตามหลักการอ่าน
ขัน้ ตอนที่ 3 ให้ ทอ่ งจาสูเราะฮฺ ซึง่ สามารถทาได้ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น
- ผู้สอนอ่านนาอย่างช้ าๆ ผู้เรี ยนอ่านตามไปจนกระทัง่ จาได้ ทงสู ั ้ เราะฮฺ
- อธิบายความหมายสูเราะฮฺ
- วินิจฉัยกฎเกณฑ์ และบทเรี ยนต่างๆ ที่ได้ รับจากโองการที่อา่ น

ตัวอย่ างบทเรี ยนที่ได้ รับจากสูเราะฮฺอัล-ฟาติหะฮฺ คือ


- การอ่านสูเราะฮฺอลั -ฟาติหะฮฺนนเป็
ั ้ นรุ ก่นหนึ่งของการละหมาด ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะสัลลัม กล่าวว่า
َ َ َ َ َ َ
»‫«ل َصالة ل َمن لم يق َرأ بفاتَة الكتَاب‬
ความว่า “ การละหมาดของผู้ที่ไม่ได้ อ่านอัล-ฟาติหะฮฺจะใช้ ไม่ได้ ” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ 273 และมุสลิม
393)

- บรรดาสะลัฟ และปวงปราชญ์ ทงั ้ หลายต่างเห็นพ้ องต้ องกันว่าจะต้ องมีความศรัทธามั่นต่อพระ


นามอัน วิจิ ตรและคุณ ลักษณะของอัล ลอฮฺ โดยที่ จ ะต้ องยอมรับ ต่อคุณ ลัก ษณะที่ อัล ลอฮฺ ท รงยื น ยัน แก่
พระองค์เอง หรื อที่ท่านศาสนทูตได้ ยืนยันไว้ สาหรับพระองค์ และปฏิเสธคุณลักษณะที่อลั ลอฮฺไม่ท รงยอมรับ
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่ 4
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
แก่พระองค์ หรื อที่ท่านเราะสูลได้ ปฏิเสธไว้ โดยไม่มีการบิดเบือน ไม่มีการเปรี ยบเทียบ ไม่มีการเทียบเคียง
และไม่มีการแสดงรูปแบบ
- ค าว่ า “อิ บ าดะฮฺ ” มี นัย ที่ ก ว้ า งขวางมาก ซึ่ ง หมายรวมถึ ง ทุ ก วาจาที่ เปล่ ง ออกมาและทุ ก ๆ
พฤติกรรมทังภายนอกและภายในที
้ ่อลั ลอฮฺทรงพอพระทัย
- การอิบาดะฮฺใดก็แล้ วแต่ที่ได้ ปนเปื อ้ นกับการตังภาคี้ อิบาดะฮฺนนจะเป็
ั้ นโมฆะ
- มุส ลิม ทุกคนจะต้ องราลึกถึงวันแห่งการตอบแทน และการที่ คนเราไม่ลืม เลื อนที่ จะนึกถึงวันที่
ยิ่งใหญ่นี ้ จะช่วยผลักดันให้ เราได้ กระทาการภักดีและละเว้ นจากพฤติกรรมที่ต้องห้ ามได้ เป็ นอย่างดี
และให้ ถือปฏิบตั ิในการศึกษาสูเราะฮฺอื่นเช่นเดียวกับสูเราะฮฺอลั -ฟาติหะฮฺ คือทังอ่ ้ าน ท่องจา และ
อธิบายความหมาย วัลลอฮุอะอฺลมั

บทที่ 2 คาปฏิญาณแห่ งอิสลาม


คือ กล่ าวคาปฏิ ญ าณตนว่ า “แท้ จ ริ งไม่ มี พ ระเจ้ าอื่ น ใดที่ ค่ ู ค วรแก่ ก ารเคารพภั ก ดี อ ย่ า งเที่ ยงแท้
นอกจากอัลลอฮฺ และแท้ จริงท่ านนบีมุหัมมัดเป็ นศาสนทูตของอัลลอฮฺ”

ประการที่ 1 สถานะของคาปฏิญาณตน
คาปฏิญาณตนทังสองประโยค
้ เป็ นรุ ก่นอิสลามข้ อที่หนึ่ง ท่านอิบนุ อุมรั ฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุมา เล่า
ว่า ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
َ َ َ َ َ َ ُ َُ َ َ َُ َ ََ َ َ َ َ َ َ َ َ
‫ َو َحج َبيت‬،‫ َو َصوم َر َم َضان‬،‫الزَكة‬ ‫ َوإيتَاء‬، ‫الصالة‬ ‫ َوإقام‬،‫اّلل َوأن حم َم ًدا َر ُسول اهلل‬ ‫ شهادة أن ل إهل إل‬، ‫ن اإلسال ُم َىلع َخس‬ َ ُ‫«ب‬
ً َ َ
»‫اهلل ال َ َرام ل َمن استَ َطاع إله َسبيال‬
ความว่า “อิสลามนันวางอยู
้ ่บนหลักการพื ้นฐานห้ าประการ นัน่ คือ การปฏิญานตนว่า ไม่มีพระเจ้ าอื่นใดที่
ควรแก่การเคารพภักดีนอกจากอัลลอฮฺ และมุหมั มัดนันคื ้ อศาสนทูตของอัลลอฮฺ การดารงไว้ ซึ่งการละหมาด
การจ่ายซะกาต การถือศีลอดในเดือนเราะมะฎอน และการประกอบพิธีหัจญ์ ณ บัยตุลลอฮฺ สาหรับผู้ที่มี
ปั จจัยสามารถเดินทางไปได้ ” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ 8 และมุสลิม 16)

ดังนัน้ คาปฏิ ญ าณตนจึง เป็ นรากฐานของศาสนา เป็ นป้อมปราการที่ มั่นคง และเป็ นสิ่งจ าเป็ น
ประการแรกของบุค คลคนหนึ่ ง ซึ่ง การกระท าทุก อย่า งจะได้ รับ ภาคผลก็ ต่อ เมื่ อ บุค คลนัน้ ได้ ก ล่าวค า
ปฏิญาณตนและน้ อมปฏิบตั ติ ามเนื ้อหาสาระของคาคานี ้

ประการที่ 2 ความหมายของคาปฏิญาณตน
หมายถึ ง ไม่มี พ ระเจ้ าอื่ น ใดที่ คู่ควรแก่การเคารพภักดีอย่างเที่ ยงแท้ นอกจากอัล ลอฮฺ เราจะให้
ความหมายเป็ นอย่างอื่นไม่ได้ เลย เช่น จะให้ ความหมายว่า “ไม่ มีผ้ ูสร้ างใดนอกจากอัลลอฮฺ” หรื อ “ไม่ มี
พระเจ้ า” หรื อ “ไม่ มีผ้ ู ให้ ปัจจัยนอกจากอัลลอฮฺ” ด้ วยเหตุผลหลายประการ ส่วนหนึ่งก็คือ เนื่องจากว่า
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่ 5
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
บรรดาผู้ป ฏิ เสธชาวกุเรชมิ ได้ ป ฏิ เสธเลยว่าอัล ลอฮฺ เป็ นผู้ส ร้ างสรรพสิ่ ง ต่า งๆ แต่ค วามเชื่ อ นี ห้ าได้ เกิ ด
ประโยชน์แก่พวกเขาแต่อย่างใด พวกเขาเข้ าใจความหมายของคานี ้อย่างลึกซึ ้ง พวกเขาจึงไม่ยอมที่จะกล่าว
คานี ้เมื่อท่านเราะสูลเรี ยกร้ องพวกเขาให้ กล่าวว่า “ลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ - ไม่ มีพระเจ้ าอื่ นใดที่ค่ ูควร
ได้ รับการเคารพภักดีนอกจากอัลลอฮฺ”
เรารู้สึกฉงนยิ่งนักที่ในปั จจุบนั นี ้ผู้คนกล่าวคาปฏิญาณตนว่า “ลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ - ไม่ มีพระ
เจ้ า อื่ น ใดที่ ค่ ู ควรแก่ ก ารเคารพภั ก ดี อ ย่ า งเที่ ย งแท้ น อกจากอั ล ลอฮฺ ” โดยที่ พ วกเขามิ ไ ด้ เข้ า ใจ
ความหมายอย่างแท้ จริ ง พวกเขาจึงวิงวอนขอต่อพระเจ้ าอื่นๆ ร่วมกับอัลลอฮฺ ไม่ว่าจากผู้ที่ถกู ฝั งในหลุมศพ
หรื อผู้วิเศษ เป็ นต้ น แล้ วอ้ างตนว่าพวกเขาให้ เอกภาพต่ออัลลอฮฺ อัลลอฮฺลมุสตะอาน

ประการที่ 3 กฎเกณฑ์ ของคาปฏิญาณตนมีสองประเด็น


ประเด็นที่หนึ่ง การปฏิเสธ ด้ วยการกล่าวว่า “ลาอิลาฮะ - ไม่ มีพระเจ้ าอื่นใด”
ประเด็นที่สอง การยอมรับ และยืนยัน ด้ วยกล่าวว่า “อิลลัลลอฮฺ - นอกจากอัลลอฮฺ”
ดังนันเมื
้ ่อกล่าวว่า “ไม่ มีพระเจ้ าอื่นใด” เท่ากับว่าได้ ปฏิเสธพระเจ้ าทังหมดที
้ ่มีอยู่อื่นจากอัลลอฮฺ
และเมื่อกล่าวว่า “นอกจากอัลลอฮฺ” เท่ากับเป็ นการยืนยันการเป็ นพระเจ้ าแด่อลั ลอฮฺเพียงองค์เดียว ไม่ มี
ภาคีใดๆ ร่วมกับพระองค์

ประการที่ 4 ความประเสริฐของการกล่ าว “ลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ”


คาปฏิญาณตนมีความประเสริ ฐที่สูงส่งมาก ณ อัลลอฮฺ ผู้ใดที่กล่าวคานี ้อัลลอฮฺจะให้ เขาเข้ าสวน
สวรรค์ของพระองค์ ส่วนผู้ใดที่กล่าวแค่ลมปาก ไม่มีความจริ งใจเขาก็ยงั ได้ รับความคุ้มครองในชีวิตและ
ทรัพย์สินในโลกนี ้ ส่วนในปรโลกก็สดุ แล้ วแต่อลั ลอฮฺจะคิดบัญชีกบั เขาอย่างไร และเขาผู้นนจะถู ั ้ กจัดอยู่ใน
กลุม่ ของผู้กลับกลอก
อนึ่ง คาปฏิ ญ าณตนเป็ นวลี ที่สัน้ ๆ เพี ยงไม่กี่อักษร กล่าวได้ ไม่ยาก แต่มี น า้ หนักยิ่งนักในตาชั่ง
ท่านอิบนุ เราะญับได้ รวบรวมความประเสริ ฐของคาคานีไ้ ว้ ในหนังสือที่ชื่อว่า “กะลิมะฮฺ อัล -อิคลาศ” ไว้
หลายประการพร้ อมนาหลักฐานประกอบ เช่น
1) คาปฏิ ญ าณตนเป็ นค่าของสวนสวรรค์ ซึ่งผู้ใดที่ ก ล่าวค านี ก้ ่ อนสิ น้ ชี วิตเขาจะได้ เข้ า
สวรรค์
2) เป็ นคากล่าวที่จะทาให้ รอดพ้ นจากขุมนรก
3) เป็ นคากล่าวที่เป็ นเหตุให้ ได้ รับการอภัยโทษ
4) เป็ นคากล่าวที่เป็ นความดีงามสูงสุด
5) เป็ นคากล่าวที่ลบล้ างความผิด
6) เป็ นคากล่าวที่จะเปิ ดม่านที่ปิดกันเส้
้ นทางสูอ่ ลั ลอฮฺ
7) ผู้ใดที่กล่าวคานี ้อัลลอฮฺจะทรงเชื่อในตัวเขา
8) เป็ นคาที่ประเสริฐที่สดุ ที่บรรดาศาสนทูตของอัลลอฮฺได้ กล่าวไว้
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่ 6
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
9) เป็ นคากล่าวราลึกถึงอัลลอฮฺที่ดีที่สดุ
10) เป็ นการกระทาที่ประเสริฐที่สดุ
11) เป็ นคากล่าวที่มีภาคผลเพิ่มเป็ นทวีคณ ู เท่ากับการปลดปล่อยทาสให้ เป็ นไท
12) เป็ นคากล่าวที่เป็ นเกราะป้องกันชัยฏอนมารร้ าย
13) เป็ นคากล่าวที่ทาให้ ได้ รับความปลอดภัยจากความโดดเดี่ยวในหลุมฝั งศพ
14) เป็ นคากล่าวที่ทาให้ ได้ รับความสะดวกในวันฟื น้ คืนชีพ
15) เป็ นสัญลักษณ์ของผู้ศรัทธาเมื่อฟื น้ ขึ ้นมาจากหลุมศพ
16) เป็ นคากล่าวที่จะเปิ ดประตูสวรรค์ทงแปดั้ ซึง่ เขาจะเลือกเข้ าทางประตูใดก็ได้
17) เป็ นคากล่าวที่ จะนาเจ้ าของ/ผู้ที่ เอ่ยมันออกจากนรก แม้ ว่าเขาต้ องตกนรกด้ วยความ
บกพร่องในหน้ าที่ตอ่ คาปฏิญาณนี ้ระหว่างที่มีชีวิตอยู่บนโลกดุนยาก็ตาม แต่สดุ ท้ ายเขา
ก็จะได้ ออกจากนรก (ดูเพิ่มเติมในหนังสือของเชคศอลิหฺ บิน เฟาซาน หัวข้ อ “ลาอิละฮะ
อิลลัลลอฮฺ”)

ประการที่ 5 ความหมายของคาปฏิญาณตนว่ า “มุหัมมัดเป็ นศาสนทูตของอัลลอฮฺ”


หมายถึง จะต้ องเชื่อมัน่ และยอมรับในสิ่งที่ทา่ นนามาบอก เชื่อฟั งปฏิบตั ติ ามคาสัง่ สอนของท่าน ละ
เว้ นจากข้ อห้ ามต่างๆ ที่ท่านห้ ามปราม และให้ ความส าคัญ กับข้ อใช้ และข้ อห้ ามของท่าน อย่าได้ นาเอา
ความคิด ทัศนะและคาพูดผู้ใดนาหน้ าก่อนคาพูดของท่าน

ประการที่ 6 พึงทราบเถิดว่ าผู้ ใดที่ป ฏิญาณตนว่ า ไม่มีพระเจ้ าอื่นใดที่ค่คู วรแก่การเคารพภักดีอย่าง


เที่ ยงแท้ นอกจากอัลลอฮฺแต่เพี ยงผู้เดียว และแท้ จริ งมุหัม มัดเป็ นบ่าวของอัลลอฮฺและเป็ นศาสนทูตของ
พระองค์ และแท้ จ ริ งอี ซ าเป็ นบ่าวของอัล ลอฮฺ และเป็ นศาสนทูต ของพระองค์ เป็ นประกาศิต ที่ อัล ลอฮฺ
ประทานให้ แก่มรั ยัม และเป็ นวิญญาณที่ประทานมาจากพระองค์ และเชื่อว่าเรื่ องนรกและสวรรค์เป็ นความ
จริ ง อัลลอฮฺจะให้ เขาเข้ าสวรรค์ตามการงานที่เขาได้ ประพฤติไว้ ซึ่งท่านอุบาดะฮฺ บิน อัศ-ศอมิต ได้ เล่าเรื่ อง
นี ้จากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม

เงื่อนไขของการกล่ าวคาปฏิญาณตน มีดังนี ้ คือ


1- อัล -อิ ล มฺ รู้ ความหมายของค าปฏิ ญ าณตนอย่างลึกซึง้ มิ ใช่ก ล่าวโดยที่ ไม่เข้ าใจใน
ความหมาย (ตรงกันข้ ามกับ อัล-ญะฮ์ลฺ)
2- อัล -ยะกี น มี ความมั่นใจกับ การกล่าวค าปฏิ ญ าณตน ต้ อ งไม่มี ความสงสัย ลัง เลใจ
(ตรงกันข้ ามกับ อัช-ชักก์)
3- อัล -อิ ค ลาศ มี ค วามบริ สุท ธิ์ ใจต่ อ ค าปฏิ ญ าณตน ต้ อ งไม่ มี ก ารตัง้ ภาคี กับ พระองค์
(ตรงกันข้ ามกับ อัช-ชิรกฺ)
4- อัศ-ศิดกฺ มีความสัจจริงต่อคาปฏิญาณตน (ตรงกันข้ ามกับ อัล-กะซิบ)
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่ 7
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
5- อัล-มะหับบะฮฺ มีความรักต่อคาปฏิญาณตน ต้ องไม่มีความรู้สึกเกลียดชัง (ตรงกันข้ าม
กับ อัล-บุฆฎฺ)
6- อัล-อินกิยาด การยอมจานน โดยไม่ละทิ ้งหรื อไม่แยแส (ตรงกันข้ ามกับ อัต-ตัรกฺ)
7- อัล-เกาะบูล ยอมรับปฏิบตั ติ าม โดยไม่มีการคัดค้ านปฏิเสธ (ตรงกันข้ ามกับ อัร-ร็อดด์)
8- ต้ องปฏิเสธต่อพระเจ้ าทังหมดที
้ ่ได้ รับการภักดีอื่นจากอัลลอฮฺ
นักวิชาการส่วนใหญ่มีความเห็นว่าเงื่อนไขของคาปฏิญาณตนมีเจ็ดประการ แต่มีผ้ รู ้ ูบางท่านอย่าง
เชคบินบาซผู้เขียนหนังสือเล่มนี ้ ท่านเพิ่มเงื่อนไขข้ อที่แปด ดังที่จะกล่าวต่อไปนี ้

เงื่อนไขข้ อที่ 1 รู้ ความหมายของคาปฏิญาณตน


เมื่อบ่าวรู้ว่าอัลลอฮฺเป็ นพระเจ้ าองค์เดียวซึง่ คูค่ วรที่จะได้ รับการภักดี การภักดีพระเจ้ าอื่นๆ ทังหมด

ถื อเป็ นโมฆะ และเขาถื อปฏิ บัติตามความรู้ อันนี ้ แสดงว่าเขารู้ ความหมายที่ แท้ จ ริ งของคาปฏิ ญ าณตน
อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
ُ ‫ٱعلَ ۡم َأنذ ُهۥ َلٓ إ َل َٰ َه إ ذل ذ‬
]٢١ : ‫ٱّلل﴾ [حممد‬
ۡ َ
‫﴿ف‬
ِ ِ
ความว่า “ พึงทราบเถิดว่าไม่มีพระเจ้ าอื่นใดที่คคู่ วรแก่การเคารพภักดีนอกจากอัลลอฮฺ” (มุหมั มัด:19)

และพระองค์ได้ ตรัสอีกว่า
َ َ ُ َۡ َ َ َ ‫ذ‬
]٦٨ :‫ ﴾ [الزخرف‬٨٦ ‫ٱۡل ِق َوه ۡم َي ۡعل ُمون‬ِ ‫﴿ إِل من ش ِهد ب‬
ความว่า “เว้ นแต่ผ้ ยู ืนยันเป็ นพยานด้ วยความจริงและพวกเขารู้ดี” (อัซ-ซุครุฟ:86 )

และท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า


ََ ََ َ ُ َ َ ََُ َ َ ُ َ
»‫اهلل دخل ال َنة‬ ‫« َمن َمات َوه َو يعل ُم أنه ل ل َ إل‬
ความว่า “ผู้ใดที่สิ ้นชีวิตลงในขณะที่เขารู้วา่ ไม่มีพระเจ้ าอื่นใดที่คคู่ วรแก่การเคารพภักดีนอกจากอัลลอฮฺ เขา
ย่อมจะได้ เข้ าสวรรค์” (บันทึกโดยมุสลิม 26 และอะห์มดั 1/69)

เงื่อนไขข้ อที่ 2 จะต้ องมีความมั่นใจ


นัน่ คือเขาต้ องกล่าวด้ วยความมั่นใจและเชื่อมั่นว่าอัลลอฮฺเป็ นพระเจ้ าที่เที่ยงแท้ ส่วนพระเจ้ าอื่น
ทังหมดเป็
้ นพระเจ้ าจอมปลอม อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
َ ُ َ َ َ ُ ٓ َ َ َ َۡ َ ُ ٓ َ َ ُ ُۡ َ ‫َ ذ‬
]٤ :‫ ﴾ [ابلقرة‬٤ ‫نزل مِن ق ۡبل ِك َوبِٱٓأۡلخ َِرة ِ ه ۡم يُوق ُِنون‬
ِ ‫نزل إَِلك وما أ‬
ِ ‫﴿ وٱَّلِين يؤمِنون بِما أ‬
ความว่า “บรรดาผู้ศรัทธาต่อคัมภีร์ที่เจ้ าได้ รับ และต่อคัมภีร์ที่ถกู ประทานลงมาก่อนหน้ า เจ้ า และพวกเขามี
ความศรัทธามัน่ ต่อวันปรโลก” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 4)

ท่านอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เล่าว่า ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า


อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่ 8
สาคัญสาหรับคนทั่วไป َ َ َ َ َ َ ‫يت َخل َف َه َذا الَائط يَش َه ُد أَن ل إ‬
ُ َ ‫هل إل‬
»‫اّلل ُمستيقنًا ب َها من قلبه فبَِّش ُه بالَنة‬ َ ‫« َمن لَق‬

ความว่า “ผู้ใดที่เจ้ าได้ พบเจอเขาด้ านหลังกาแพงนี ้ ที่เขาปฏิญาณตนว่าไม่มีพระเจ้ าอื่นใดที่ค่คู วรแก่การ


เคารพภักดีที่เที่ยงแท้ นอกจากอัลลอฮฺ ด้ วยหัวใจที่เชื่อมั่น พึงแจ้ งข่าวดี แก่เขาเถิดว่า เขาจะได้ เข้ าสวรรค์ ”
(บันทึกโดยมุสลิม 31)

เงื่อนไขข้ อที่ 3 การยอมรับ


หมายถึงต้ องยอมรับทุกสิ่งที่เกี่ยวข้ องกับคาปฏิญาณตนทังด้
้ วยจิตใจและวาจา อัลลอฮฺ ได้ ตรัสว่า
َ َ ُ ٓ َ َ ‫ُ ُٓ َ َذ ذ‬
]٢٣٨ :‫نزل إ ِ َۡل َنا ﴾ [ابلقرة‬
ِ ‫﴿ قولوا ءامنا بِٱّللِ وما أ‬
ความว่า “พวกเจ้ าจงกล่าวว่าเราศรัทธามัน่ ต่ออัลลอฮฺ และต่อคัมภีร์ที่พระองค์ประทานลงแก่เรา”(อัล-บะ
เกาะเราะฮฺ : 163)

เงื่อนไขข้ อที่ 4 การยอมจานน


หมายถึงจะต้ องจานนอย่างศิโรราบต่อสิ่งที่คาปฏิญาณตนได้ ยืนยัน อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
ُۡ ُ ‫ذ‬ ۡ َ َ ٗ ۡ َ
ِ ‫﴿ َو َم ۡن أح َس ُن دِينا م ذِم ۡن أ ۡسل َم َوج َه ُهۥ ِّللِ َوه َو ُم‬
]٢١١ : ‫سن ﴾ [النساء‬
ความว่า “และผู้ใดจะยึดมัน่ ในศาสนาดียิ่งไปกว่าผู้ที่ยอมจานนตัวของเขาแด่อลั ลอฮฺ ในขณะเดียวกันเขาก็
เป็ นผู้กระทาดี” (อัน-นิสาอ์ : 125)

และพระองค์ได้ ตรัสอีกว่า
ۡ ۡ َ َ َۡ ۡ ََ
َٰ َ ‫ك بِٱل ُع ۡر َوة ِ ٱل ُو ۡث‬ ُۡ ُ ‫َ ذ‬ ۡ ُ َ ﴿
]١١ :‫قى ﴾ [لقمان‬ ِ ‫۞و َمن ي ۡسل ِۡم َوج َه ُه ٓۥ إِل ٱّللِ َوه َو ُم‬
‫سن فق ِد ٱستمس‬
ความว่า “และผู้ใดยอมจานนใบหน้ า(มอบตัว)ของเขาแด่อลั ลอฮฺ โดยที่เขาเป็ นผู้กระทาดี แน่นอนเขาได้ ยึด
มัน่ แนวทางที่ถกู ต้ องแล้ ว” (ลุกมาน : 22)

เงื่อนไขข้ อที่ 5 มีความสัจจริง


หมายถึงจะต้ องมีอีมานหรื อความศรัทธาที่แท้ จริ ง เชื่อจริ ง พูดจริ ง และสัจจริ งในการเรี ยกร้ องเชิญ
ชวน อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
َ َ
‫ذَ َُ ُ َ َ ذ‬
َ ‫ٱلص َٰ ِدق‬
]111 :‫ِي﴾ [اتلوبة‬
ُ‫ذ‬ َ ‫يأ ُّي َها ذٱَّل‬
‫ِين َء َام ُنوا ٱتقوا ٱّلل وكونوا مع‬ َٰٓ ﴿
ความว่า “โอ้ ศรัทธาชนเอ๋ย พึงยาเกรงต่ออัลลอฮฺ และจงอยูร่ ่วมกับบรรดาผู้สจั จริงเถิด” (อัต-เตาบะฮฺ : 119)

เงื่อนไขข้ อที่ 6 มีความบริสุทธิ์ใจ


นัน่ คือทุกวาจาและพฤติกรรมที่เขาแสดงออกมาต้ องกระทาไปเพื่ออัลลอฮฺแต่เพียงผู้เดียว หวังใน
ความพอพระทัยของพระองค์ ไม่ปะปนกับสิ่งอื่นใด อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
‫ذ‬ ُٓ
َ ‫ي َ َُل ٱل‬
]١ :‫ِين﴾ [ابلينة‬
ُۡ َ‫ذ‬
َ ‫ُمل ِص‬
ِ ‫﴿ َو َما أم ُِر ٓوا إِل َِلَ ۡع ُب ُدوا ٱّلل‬
ความว่า “และพวกเขามิได้ ถูกบัญชาให้ กระทาอื่นใด เว้ นแต่ เพื่อให้ พวกเขาเป็ นผู้ที่มีเจตนาบริ สุทธิ์ ในการ
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่ 9
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ภักดีตอ่ อัลลอฮฺ” (อัล-บัยยินะฮฺ : 5)

ท่านอบู ฮุร็อยเราะฮฺเล่าว่า ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า


َ َ َُ َ َ َ َ َ َ َ َ َ
»‫اّلل خال ًصا من قلبه‬ َ ‫«أَس َع ُد‬
‫ ل ل إل‬: ‫انلاس بشفاعت من قال‬
ความว่า “มนุษย์ที่มีความสุขที่สุดจากการได้ รับการช่วยเหลือจากฉัน คือผู้ที่กล่าวว่า ไม่มีพระเจ้ าอื่นใดที่
คู่ควรแก่การเคารพภักดีที่เที่ยงแท้ นอกจากอัลลอฮฺ ด้ วยความบริ สุทธิ์ จากก้ นเบื ้องของหัวใจเขา” (บันทึก
โดยอัล-บุคอรี ย์ 99 และอะหมัด 2/373)

เงื่อนไขข้ อที่ 7 มีความรัก


นัน่ คือ จะต้ องรักต่อคาคานี ้ และส่วนที่เกี่ยวข้ องทังหมด
้ ฉะนันเขาจะต้
้ องรักอัลลอฮฺ รักเราะสูล และ
ต้ องรักทังสองมากกว่
้ าสิ่งอื่นใดทังหมด
้ อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
‫ٗ ذ‬ ََ َ ‫ٱّللِه َو ذٱَّل‬
‫ذ‬ ُ َ ۡ ُ َ ُّ ُ ٗ َ َ ‫ذ‬ ُ ُ ‫َ َذ‬
]٢٨١ :‫ِين َء َام ُن ٓوا أش ُّد ُحبا ِّللِ ﴾ [ابلقرة‬ ‫ب‬
ِ ‫ون ٱّللِ أندادا ُيِبونهم كح‬ ِ ‫﴿ َوم َِن ٱنلذ‬
ِ ‫اس من يتخِذ مِن د‬
ความว่า “และในหมู่มนุษย์นนั ้ มีผ้ ยู ึดถือเอาภาคีอื่นจากอัลลอฮฺ โดยที่พวกเขาให้ ความรักต่อภาคีเหล่านัน้
เช่นเดียวกับรักอัลลอฮฺ แต่บรรดาผู้ศรัทธานันเป็
้ นผู้ที่รักอัลลอฮฺยิ่งกว่า มากกว่าสิ่งอื่นใดทังสิ
้ ้น” (อัล-บะเกาะ
เราะฮฺ : 165)

เงื่อนไขข้ อที่ 8 ปฏิเสธพระเจ้ าจอมปลอมอื่นจากอัลลอฮฺ


ท่านนบี ศ็อลลัลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
َ ُ ُ َ ُُ َ َ ُ َ ُ ُ َ َ َُ َ َ َ َ َ َ
»‫اهل َود ُمه َوح َسابُه َىلع اهلل‬‫اّلل َوكف َر ب َما يعبَ ُد من دون اهلل حرم م‬ ‫« من قال ل ل إل‬
ความว่า “ผู้ใดที่ กล่าวว่าไม่มี พ ระเจ้ าอื่ นใดที่ คู่ควรแก่การเคารพภักดีโดยเที่ ยงแท้ นอกจากอัลลอฮฺ และ
ปฏิเสธพระเจ้ าทังหลายที
้ ่ได้ รับการภักดีอื่นจากอัลลอฮฺ เขาจะได้ รับการคุ้มครองในชีวิตและทรัพย์สิน ส่วน
ในปรโลกจะเป็ นเช่นไรอัลลอฮฺจะทรงคิดบัญชีกบั เขาเอง” (บันทึกโดยมุสลิม 23)

บทที่ 3 หลักการศรั ทธา


หมายถึง ท่านต้ องศรัทธามัน่ ต่ออัลลอฮฺ ต่อบรรดามะลาอิกะฮฺ ต่อบรรดาคัมภีร์ ต่อบรรดาเราะสูล
ต่อวันอาคิเราะฮฺ และต่อการลิขิตของอัล ลอฮฺ ทงั ้ ชั่วดี ดังปรากฏในหะดีษญิ บรี ลเมื่ อท่านได้ ถามท่านนบี
ศ็อลลัลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เกี่ยวกับหลักการอีมาน ท่านตอบว่า
َ َ َ ُ َ َ َ ُ َ ُ َ
»‫يمان أن تؤم َن باّلل َو َمالئكته َوكتُبه َو ُر ُسله َوالَوم اآلخر َوبالق َدر خيه َوشه‬‫«اإل‬
ความว่า “การศรัทธา คือการที่ท่านต้ องศรัทธามั่นต่ออัลลอฮฺ ต่อบรรดามะลาอิกะฮฺ ต่อบรรดาคัมภี ร์ ต่อ
บรรดาเราะสูล ต่อวันอาคิเราะฮฺ และต่อการกาหนดความดีและความชัว่ ” (บันทึกโดยมุสลิม 8)

1. การศรัทธาต่ ออัลลอฮฺ
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  10 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
หมายถึงต้ องมีศรัทธาต่ออัลลอฮฺในหลักพื ้นฐาน 4 ประการ

ประการที่หนึ่ง ต้ องเชื่อมั่นว่ าอัลลอฮฺทรงมี


ซึง่ ได้ ปรากฏหลักฐานที่แสดงถึงการมีของอัลลอฮฺในหลายๆ แง่ ไม่ว่าโดยกมลสันดานโดยธรรมชาติ
สติปัญญา ตัวบทหลักฐาน และประสาทสัมผัส
1. หลั ก ฐานในแง่ กมลสั นดานโดยธรรมชาติท่ ี แสดงถึงการมี อ ยู่ข องอั ลลอฮฺ เนื่องจากว่า
สรรพสิ่งถูกสร้ างทังหลายได้
้ ถกู กาหนดโดยธรรมชาติให้ มีความศรัทธาต่อผู้สร้ างเขา โดยไม่ต้องแสร้ งคิดและ
เหนื่อยหาเหตุผลหรื อต้ องเรี ยนรู้มาก่อน ดังที่ทา่ นเราะสูล ศ็อลลัลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
ُ َ َ َ‫ أَو ُين‬، ‫ فَأَبَ َو ُاه ُي َهو َدانه‬، ‫ىلع الفط َرة‬
»‫ أو ي َمج َسانه‬، ‫ِّصانه‬
ََ َُ ُ َ ُ َ
‫« َما من مولود إل يودل‬
ความว่า “ทารกทุกคนเกิดมาด้ วยกมลสันดานธรรมชาติที่บริ สทุ ธิ์ แล้ วบิดามารดาของเขาเป็ นเหตุทาให้ เขา
กลายเป็ นยิว หรื อเป็ นคริสต์ หรื อเป็ นผู้บชู าไฟ” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ 1292 และมุสลิม 2658)

2. หลักฐานด้ านสติปั ญญา อันเนื่องจากว่าสรรพสิ่งถูกสร้ างทัง้ ปวงตังแต่ ้ กาลก่อน และที่จะมี


ต่อไปข้ างหน้ า ย่อมมีผ้ สู ร้ างให้ บงั เกิดขึ ้น เพราะเป็ นไปไม่ได้ ที่สรรพสิ่งจะสร้ างตัวของมันขึ ้นมาเองได้ และ
เป็ นไปไม่ได้ ที่สิ่งหนึง่ จะเกิดขึ ้นโดยบังเอิญปราศจากผู้สร้ าง

3. ตัวบทหลักฐานที่แสดงถึงการมีของอัลลอฮฺ
นัน่ คือ เนื่องจากว่าบรรดาคัมภีร์ทกุ เล่มที่ถกู ประทานลงมาจากฟากฟ้ าต่างยืนยัน และบอกกล่าวถึง
การมีของอัลลอฮฺ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคัมภี ร์ที่ประเสริ ฐสุด คือคัมภี ร์อลั กุรอาน ซึ่งได้ ยืนยันไว้ ชดั เจน และ
บรรดาศาสนทูตทังหลายต่
้ างชี ้นาและอธิบายถึงเรื่ องนี ้อย่างถ้ วนหน้ า โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่านนบีมหุ มั มัดศา
สนทูตท่านสุดท้ าย

4. หลักฐานด้ านประสาทสัมผัสที่แสดงถึงการมีของอัลลอฮฺนัน้ แบ่งออกเป็ นสองแง่มมุ คือ


หนึ่ง ตามที่เราได้ รับทราบและได้ เห็นการตอบสนองของอัลลอฮฺแก่ผ้ วู ิงวอนร้ องขอความช่วยเหลือ
และการที่พระองค์ทรงช่วยเหลือผู้ตกอยูใ่ นภาวะนาทีชีวิต หรื อภาวะคับขัน ถือเป็ นหลักฐานยืนยันที่แสดงถึง
การมีอยูข่ องอัลลอฮฺ
สอง สัญ ญาณต่างๆ ที่บรรดาศาสนทูตนามาแสดงให้ ผ้ ูคนได้ เห็น ได้ สัม ผัส หรื อที่พ วกเขาได้ รับ
ทราบ นัน้ คือ สิ่ งปาฏิ หารย์ ที่เกิ ดขึน้ เกิ นความสามารถของมนุษย์ ล้ วนเป็ นหลักฐานยื นยันถึงการมี ของ
ผู้สร้ าง ผู้ครอบครองและผู้บริ หารสูงสุดแห่งจักรวาลนี ้ นัน่ คือ อัลลอฮฺผ้ ทู รงสูงส่ง

ประการที่สอง การศรั ทธาต่ อการเป็ นผู้อภิบาลของอัลลอฮฺ


คือ ต้ องเชื่อมัน่ ว่าอัลลอฮฺองค์เดียวเท่านันเป็
้ นองค์อภิบาล ไม่มีภาคีใดๆ ร่ วมกับพระองค์ ไม่มีใคร
เป็ นหุ้นส่วนกับพระองค์ และองค์อภิบาลนันคื ้ อผู้ที่ทรงสร้ าง ทรงครอบครอง และทรงบริ หารกิจการทังหลาย

อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  11 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ดังนันจึ
้ งไม่มีผ้ สู ร้ างใดนอกจากอัลลอฮฺ ไม่มีใครครอบครองจักรวาลนี ้นอกจากพระองค์ อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
َۡ ۡ َۡ َُ َ َ
]١٣ :‫ٱۡلل ُق َوٱۡل ۡم ُر ﴾ [األعراف‬ ‫﴿أل َل‬
ความว่า “พึงทราบเถิดว่าการสร้ างและกิจการทังหลายนั
้ ้ นสิทธิ์ของพระองค์เท่านัน”
นเป็ ้ (อัล-อะอฺรอฟ : 54)

และพระองค์ได้ ตรัสอีกว่า
َ ُ َۡ َ
ۡ ‫ون مِن ق‬ ُ َ ُ ۡ َ َ ‫َ َٰ ُ ُ ذ ُ َ ُّ ُ ۡ َ ُ ۡ ُ ۡ ُ َ ذ‬
]٢٣ :‫ ﴾ [فاطر‬١٣ ‫ري‬
‫ر‬ ‫م‬
ِ ‫ِط‬ ‫ِك‬ ‫ل‬ ‫م‬ ‫ي‬ ‫ا‬‫م‬ ‫ِۦ‬ ‫ه‬ِ ‫ن‬ ‫و‬ ‫د‬ ‫ِن‬
‫م‬ ‫ون‬ ‫﴿ذل ِكم ٱّلل ربكم َل ٱلملك وٱَّلِين تدع‬
ความว่า “นั่นคืออัลลอฮฺพระผู้อภิบาลของพวกเจ้ า อานาจการปกครองทังมวลเป็ ้ นสิทธิ์ ของพระองค์ และ
พระเจ้ าอื่นๆ ที่พ วกเจ้ าวิงวอนขออื่นจากพระองค์นัน้ มิได้ ครอบครองสิ่งใด แม้ แต่เพี ยงเยื่อบางหุ้มเมล็ด
อินทผลัม” (ฟาฏิรฺ : 13)

ประการที่สาม การศรั ทธาต่ อการเป็ นพระเจ้ าที่ค่ ูควรแก่ การเคารพภักดีแต่ เพียงผู้เดียวของอัลลอฮฺ


หมายถึงการเชื่อมัน่ ว่าอัลลอฮฺเพียงผู้เดียวเท่านันที
้ ่จะได้ รับการเคาพภักดีอย่างแท้ จริง ไม่มีภาคีใดๆ
ร่วมกับพระองค์
อนึ่ง ความหมายของคาว่า “อิ ล าฮฺ ” คื อผู้ที่ ได้ รับการเคารพสักการะด้ วยความรักและด้ วยการ
เทิดทูน อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
ُ ‫ٱلرح‬
]٢٨٣ :‫ ﴾ [ابلقرة‬١٦٣ ‫ِيم‬ ‫ك ۡم إ ِ َلَٰه َوَٰحِده ذلٓ إ ِ َل َٰ َه إ ِ ذل ُه َو ذ‬
‫ٱلر ۡح َم َٰ ُن ذ‬ ُ ُ َٰ َ
‫﴿ ِإَوله‬
ความว่า “และผู้ที่ควรแก่การเคารพสักการะของพวกเจ้ านันมี้ เพียงองค์เดียว ไม่มีผ้ ใู ดที่ควรแก่การเคารพ
ภักดีนอกจากพระองค์เท่านัน้ ผู้ทรงกรุณาปรานี ผู้ทรงเมตตาเสมอ” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ :163)

และอัลลอฮฺได้ ตรัสอีกว่า
ُ ۡ َ َ ُ َ َ ٓ ٓ ُ ُ ۡ َ َٰ َ ۡ
َ ‫ك ۡم َع َذ‬ ُ َ ۡ ِ ۡ َ َٰ َ َ َ َ
َ ‫ٱع ُب ُد وا ذ‬ َ َ ً ُ َۡ َ َۡ ۡ ََ
﴾ ٥٩ ‫اب يَ ۡو رم َعظِيم‬ ‫ٱّلل َما لكم مِن إِل ره غريهۥ إِ ِن أ خاف علي‬ ‫وحا إِ َٰل ق ۡو ِمهِۦ فقال يقوم‬ ‫﴿ لقد أ رسلنا ن‬
]١٦ :‫[األعراف‬
ความว่า “แท้ จริ ง เราได้ ส่งนูหฺไปยังกลุ่มชนของเขา แล้ วเขาได้ เรี ยกร้ องว่า โอ้ หมู่ชนของฉันจงให้ การภักดี
ต่ออัลลอฮฺเถิด ไม่มีพระเจ้ าอื่นใดที่พวกท่านควรจะให้ การเคารพภักดีอีกแล้ วอื่นจากพระองค์ ” (อัล-อะอฺรอฟ
: 59)

ประการที่ส่ ี การศรั ทธามั่นต่ อพระนามอันวิจิตรและคุณลักษณะอันสมบูรณ์ ของอัลลอฮฺ


กล่าวคือ การยืนยัน การยอมรับต่อพระนามและคุณลักษณะที่อลั ลอฮฺทรงยืนยันแก่พระองค์เองใน
คัม ภี ร์ของพระองค์ และที่ ป รากฏในวจนะของท่านเราะสูล ศ็อลลัล ลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม ตามสภาพที่
เหมาะสมกับพระองค์ โดยไม่มีการบิดเบือน ไม่ปฏิเสธ ไม่ อธิบายวิธีหรื อรูปแบบ และไม่มีการเปรี ยบเทียบ
อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
ُ ‫يع ۡٱۡلَ ِص‬ ‫َشء َو ُه َو ذ‬
ُ ‫ٱلس ِم‬ َ ۡ َ َۡ
]٢٢ :‫﴾ [الشورى‬١١ ‫ري‬ ‫﴿لي َس ك ِمثلِهِۦ ۡ ه‬
ความว่า “ไม่มีสิ่งใดเสมอเหมือนพระองค์ และพระองค์นนเป็
ั ้ นผู้ทรงได้ ยิน ทรงเห็นยิ่ง” (อัช-ชูรอ : 11)
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  12 
สาคัญสาหรั
ผลทีบ่ ไคนทั ่ วไป
ด้ รับจากการศรั ทธาต่ ออัลลอฮฺ
1- บรรลุถึงแก่นแท้ ของการให้ เอกภาพต่ออัลลอฮฺ กล่าวคือ จิตใจจะไม่ผูกพันกับสิ่งอื่นนอกจาก
พระองค์ ไม่ว่าจะเป็ นการหวังในความเมตตาและผลบุญ หรื อเกรงกลัวการลงโทษ และจะไม่
เคารพภักดีตอ่ สิ่งอื่นนอกจากพระองค์เท่านัน้
2- รักอัลลอฮฺและเทิดทูนเกียรติพระองค์อย่างสมบูรณ์แบบ ตามเจตนารมณ์ของพระนามอันวิจิตร
และคุณลักษณะอันสูงส่งของพระองค์
3- บรรลุถึงแก่นแท้ ของการเคารพภักดีต่อพระองค์ ด้ วยการปฏิบตั ิในสิ่งที่พระองค์ทรงบัญชา และ
ออกห่างจากสิ่งที่พระองค์ทรงห้ าม

สอง การศรัทธาต่ อบรรดามะลาอิกะฮฺ


ก. นิยาม
มะลาอิกะฮฺ คือสรรพสิ่งที่เร้ นลับ ถูกสร้ างมาจากรัศมี มีหน้ าที่ปฏิบตั ิตามบัญชาของอัลลอฮฺ ไม่มี
ลักษณะพิเศษของการเป็ นพระเจ้ า หรื อการเป็ นผู้สร้ างแต่อย่างใด อัลลอฮฺ สร้ างพวกเขามาจากรัศมี และ
พระองค์ให้ พวกเขามีลกั ษณะของการน้ อมรับคาบัญชาของพระองค์อย่างสมบูรณ์แบบ และให้ มีพละกาลังที่
จะดาเนินการให้ คาบัญชาของพระองค์สาเร็จลุล่วง พวกเขามีจานวนมหาศาล ไม่มีผ้ ใู ดรู้จานวนของพวกเขา
นอกจากอัลลอฮฺเท่านัน้

ข. การศรัทธาต่ อบรรดามะลาอิกะฮฺครอบคลุมสี่ประการ
หนึ่ง ศรัทธาต่อการมีอยูข่ องมะลาอิกะฮฺ
สอง ศรัทธาต่อมะลาอิกะฮฺที่เราทราบชื่ออย่างเจาะจง เช่น ญิบรี ล ส่วนผู้ที่เราไม่ทราบชื่อนันให้
้ เรา
ศรัทธาโดยภาพรวม
สาม ศรัทธาในคุณลักษณะของพวกเขาตามที่เราได้ รับรู้ จากหลักฐาน
สี่ ศรัทธาในหน้ าที่ของพวกเขาตามที่เราได้ รับรู้ เช่น มะละกุลเมาต์ มีหน้ าที่ดึงวิญญาณออกจาก
ร่าง เป็ นต้ น

สาม การศรัทธาต่ อคัมภีร์ต่างๆ


คือ การศรัทธาต่อคัมภีร์ต่างๆ ที่อลั ลอฮฺได้ ประทานแก่บรรดาศาสนทูตของพระองค์ เพื่อเป็ นความ
เมตตาต่อสรรพสิ่ง และเป็ นทางนาแก่พวกเขา เพื่อนาไปสูค่ วามสุขในโลกนี ้และโลกหน้ า
การศรัทธาต่ อคัมภีร์ประกอบด้ วย
หนึ่ง ศรัทธาว่าแท้ จริงคัมภีร์เหล่านันถู
้ กประทานมาจากอัลลอฮฺ
สอง ศรัทธาในคัมภีร์ที่เราทราบชื่อ เช่น อัลกุรอาน ถูกประทานแก่มหุ มั มัด อัต-เตารอต ถูกประทาน
แก่มซู า เป็ นต้ น
สาม เชื่ อ ในค าบอกเล่าหรื อ เรื่ อ งราวที่ อยู่ในคัม ภี ร์ เช่น เรื่ อ งราวต่างๆ ที่ อ ยู่ในอัล กุรอาน และ
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  13 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
เรื่ องราวที่อยูใ่ นคัมภีร์ก่อนๆ ที่ยงั ไม่ถกู บิดเบือนหรื อแก้ ไข
สี่ ปฏิบตั ิตามบทบัญญัติที่ยงั ไม่ถกู ยกเลิก ยอมรับอย่างจริ งใจและจานนต่อบทบัญญัติของมัน โดย
ดุษฎี แม้ ว่าเราจะรู้ และเข้ าใจในวิทยปั ญญาของมันหรื อไม่ก็ตาม ส่วนบทบัญญัตใิ นคัมภีร์ก่อนๆ นันล้
้ วนถูก
ยกเลิกโดยอัลกุรอานแล้ วทังสิ ้ ้น อัลลอฮฺตรัสว่า
َ
]٤٦ :‫ب َو ُم َه ۡي ِم ًنا َعل ۡيهِ ﴾ [املائدة‬
َ ۡ َ ۡ َ َ َ ۡ َ َ ٗ َ ُ َۡ َ َ ۡ َ َۡ ََٓۡ ََ
ِ َٰ‫﴿ وأنزنلا إَِلك ٱلكِتَٰب بِٱۡل ِق مصدِقا ل ِما بي يديهِ مِن ٱلكِت‬
ความว่า “และเราได้ ประทานคัมภีร์อลั กุรอานลงมายังเจ้ าด้ วยความจริง เพื่อยืนยันในความสัจจริงของคัมภีร์
ที่ ม าก่อนหน้ า และควบคุม เหนื อคัม ภี ร์เหล่านัน้ (เป็ นคัม ภี ร์ที่จ าแนกว่า สิ่งใดคือความจริ งและสิ่งใดถูก
บิดเบือนในคัมภีร์ก่อนหน้ านี ้)” (อัล-มาอิดะฮฺ : 48)

ผลที่ได้ รับจากการศรัทธาต่ อบรรดาคัมภีร์


1- ได้ รับรู้ ว่าอัลลอฮฺให้ ความสาคัญกับปวงบ่าวของพระองค์ โดยพระองค์ได้ ประทานคัมภีร์แก่ทกุ ๆ
ชนชาติ เพื่อชี ้แนะแนวทางแก่พวกเขา
2- รู้ถึงวิทยปั ญญาอันลึกซึ ้งที่อลั ลอฮฺได้ บญ
ั ญัติศาสนาของพระองค์ โดยทรงกาหนดให้ บทบัญญัติ
ของคนแต่ละยุคสมัยมีความเหมาะสมกับสภาพของพวกเขา อัลลอฮฺตรัสว่า
ٗ ‫ِش َع ٗة َوم ِۡن َه‬ ُ ۡ ُ
]٤٦ :‫اجا ﴾ [املائدة‬ ‫﴿ ل ِك َج َعل َنا م‬
ۡ ِ ‫ِنك ۡم‬

ความว่า “สาหรับทุกประชาชาติจากหมู่พวกเจ้ านัน้ เราได้ กาหนดให้ มีบทบัญญัติและแนวทางของพวกเขา


เอง” (อัล-มาอิดะฮฺ : 48)


สี่ การศรั ทธาต่ อบรรดาศาสนทูต
เราะสูล หรื อศาสนทูต คือบุคคลที่ อลั ลอฮฺให้ โองการแก่เขาด้ วยการประทานบทบัญญัติลงมา และ
บัญ ชาสั่งให้ เขาทาการเผยแพร่ มัน เราะสูลคนแรกคือ นูหฺ และคนสุดท้ ายคือ มุหัมมัด (ความจาเริ ญและ
ความสันติมีแด่พวกเขาทังมวล)
้ 
ไม่มีประชาชาติใดที่วา่ งเว้ นจากศาสนทูตเลย อัลลอฮฺจะแต่งตังศาสนทู
้ ตไปยังหมูช่ นของเขา โดยให้
มีบทบัญญัติเป็ นเอกเทศ หรื อพระองค์อาจจะมีโองการไปยังนบีในยุคหนึ่งๆ ให้ นาบทบัญญัติของศาสนทูต
ก่อนๆ มาใช้ เพื่อเป็ นการฟื น้ ฟู อัลลอฮฺตรัสว่า
َ ‫ٱلطَٰ ُغ‬
‫ٱج َتن ُِبوا ذ‬ ۡ َ ً ُ ‫ُ ُذ ذ‬
َ ‫ٱع ُب ُدوا ذ‬
ۡ ‫ٱّلل َو‬ َََۡ ۡ َََ
]٣٨ :‫وت ه ﴾ [انلحل‬ ‫ك أمة رسول أ ِن‬
ِ ‫﴿ ولقد بعثنا ِف‬
ความว่า “ขอสาบาน แท้ จ ริ ง เราได้ ส่ง ศาสนทูต มาในทุก ประชาชาติ โดยให้ ป ระกาศแก่พ วกเขาว่า
พวกท่านจงเคารพภักดีต่อ อัล ลอฮฺ และออกห่างจากการบูช าสิ่ง อื่ นทัง้ หมด” (อัน -นะห์ ลฺ : 36) 


และพระองค์ ไ ด้ ตรั ส ว่า
َ َ َ َ ‫ُ ذ‬ ٗ ‫ريا َونَذ‬ َۡ ‫كب‬
ٗ ِ‫ٱۡلق بَش‬ َ َٰ َ ۡ َ ۡ َ ٓ ‫ذ‬
]١٤ :‫ ﴾ [فاطر‬٢٤ ‫ِيها نذِير‬ ‫ِيرا ِإَون م ِۡن أ ذم رة إِل خل ف‬ ِ ِ ‫﴿ إِنا أرسلن‬
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  14 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ความว่า “แท้ จ ริ ง เราได้ ส ่ง เจ้ า มาเป็ นศาสนทูต ด้ ว ยสัจ ธรรม ในฐานะผู้ แ จ้ ง ข่า วดีแ ละผู้ ส าทับ
ตักเตือน และทุกๆ ประชาชาติ ล้ วนจะต้ องมี ผ้ ูตัก เตื อนมายัง พวกเขา” (ฟาฏิ รฺ : 24)
บรรดาศาสนทูต ล้ ว นเป็ นสามัญ ชนคนธรรมดา ต่า งก็ ม าจากลูก หลานของอาดัม ไม่มี
คุณ สมบัติพิเ ศษของการเป็ นผู้ส ร้ างและการเป็ นพระเจ้ า แต่ป ระการใด พวกเขามี คุณ สมบัติข องการ
เป็ นมนุษย์ มี ความเมตตา จะต้ องเสี ยชี วิต ต้ องการอาหารและเครื่ องดื่ม และอื่ นๆ


การศรั ทธาต่ อ บรรดาศาสนทู ต ครอบคลุ ม สิ่ งต่ อ ไปนี ้
หนึ่ ง ศรั ท ธาว่า พวกเขาเป็ นศาสนทูต ของอัล ลอฮฺ อ ย่า งแท้ จ ริ ง ดัง นัน้ บุค คลใดปฏิ เ สธศาสน
ทูตคนหนึ่ง คนใดจากพวกเขา เท่ากับว่าเขาได้ ปฏิ เสธศาสนทูต คนอื่ นๆ ทุกคน อัลลอฮฺ ไ ด้ ตรั สว่า
َ ‫وح ٱل ۡ ُم ۡر َسل‬
]٢٠١ : ‫ ﴾ [الشعراء‬١٠٥ ‫ِي‬
ُ َ ۡ َ‫َ ذ‬
‫ت ق ۡو ُم ن ر‬ ‫﴿ كذب‬
ความว่า “กลุม่ ชนของนูหฺได้ ปฏิเสธต่อบรรดาศาสนทูตแล้ ว” (อัช-ชุอะรออ์ : 105)


สอง ศรัทธาต่อผู้ที่เราทราบชื่อของพวกเขา เช่น มุหัมมัด อิบรอฮีม มูซา อีซา และนูหฺ (ขอความ
จาเริญมีแด่พวกเขา) ทังห้้ าคนนี ้ได้ ชื่อว่า “อุลลุ อัซมิ” ผู้มีความมัน่ คงหนักแน่นในหมู่ศาสนทูตทังปวง

ส่วนผู้ที่เราไม่ทราบชื่อนัน้ เราศรัทธาต่อพวกเขาโดยสังเขปในภาพรวม อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
َ َ َۡ ‫ذ‬ َ َ َ َ َ ٗ ۡ َ ََ
]٠٦ :‫﴿ َولق ۡد أ ۡر َسل َنا ُر ُسل مِن ق ۡبل ِك م ِۡن ُهم ذمن ق َص ۡص َنا َعل ۡيك َوم ِۡن ُهم ذمن ل ۡم نق ُص ۡص َعل ۡيك ﴾ [اغفر‬
ความว่า “ขอสาบาน แท้ จริ งเราได้ ส่งบรรดาศาสนทูตก่อนหน้ าเจ้ า บางคนจากพวกเขามีผ้ ทู ี่เราบอกเล่าแก่
เจ้ า และบางคนจากพวกเขา มีผ้ ทู ี่เรามิได้ บอกเล่าแก่เจ้ า” (ฆอฟิ รฺ : 78)


สาม เชื่อในคาบอกเล่าเกี่ยวกับพวกเขา ตามที่มีหลักฐานในสายรายงานที่เชื่อถือได้ อย่างถูกต้ อง 
สี่ ปฏิบตั ิตามบทบัญญัติที่ถูกประทานแก่ ท่านนบีมุหมั มัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ซึ่งเป็ นศา
สนทูตคนสุดท้ ายที่ถกู ส่งมายังพวกเรา


ผลที่ได้ รับจากการศรั ทธาต่ อบรรดาศาสนทูต
1- ได้ ร้ ู ถึงความเมตตาและการให้ ความสาคัญของอัลลอฮฺ ที่มีต่อปวงบ่าวของพระองค์ โดยการ
ส่งศาสนทูตเพื่อชี ้นาพวกเขาสู่แนวทางอันเที่ยงตรง และเพื่อชี ้แจงรูปแบบของการเคารพภักดี
ต่ออัลลอฮฺแก่พวกเขา
2- ขอบคุณในความโปรดปรานอันใหญ่หลวงของพระองค์ที่ให้ มีบรรดาศาสนทูต
3- มีความรัก ให้ เกียรติ และเทิดทูนยกย่องบรรดาศาสนทูต ตามสถานะที่เหมาะสมกับพวกเขา
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  15 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
เนื่องจากพวกเขาเป็ นศาสนทูตของอัลลอฮฺ ที่ยืนหยัดในการเคารพภักดีต่อพระองค์ เผยแพร่
สารของพระองค์ และหวังดีตอ่ ปวงบ่าวของพระองค์

ห้ า การศรัทธาต่ อวันอาคิเราะฮฺ
วันอาคิเราะฮฺ หรื อวันปรโลก คือวันสุดท้ าย เป็ นวันที่อลั ลอฮฺให้ มนุษย์ฟืน้ คืนชีพอีกครัง้ เพื่อคิดบัญชี
และตอบแทนรางวัล สาเหตุที่เรี ยกว่าวันสุดท้ ายเนื่องจากจะไม่มีวนั ใดหลังจากนัน้ อีกแล้ ว

การศรัทธาต่ อวันปรโลกประกอบด้ วย
หนึ่ง การศรัทธาในเรื่ องการฟื น้ คืนชีพ การฟื น้ คืนชีพเป็ นเรื่ องจริงซึง่ มีหลักฐานยืนยันจากอัลกุรอาน
หะดีษ และมติเอกฉันท์ของบรรดาปราชญ์มสุ ลิม
สอง ศรัทธาต่อการคิดบัญชีสอบสวนและการตอบแทน บ่าวจะถูกคิดบัญชีและได้ รับการตอบแทน
ในผลงานของเขา ดังที่มีหลักฐานยืนยันจากอัลกุรอาน หะดีษ และมติเอกฉันท์ของบรรดาปราชญ์มสุ ลิม
สาม ศรัทธาต่อสวรรค์และนรก ซึง่ ทังสองจะเป็
้ นที่พานักตลอดกาลสาหรับมนุษย์
การศรัทธาต่อวันปรโลกนัน้ ยังรวมถึงการศรัทธาต่อทุกสิ่งที่จะเกิดขึ ้นหลังจากความตาย เช่น การ
สอบสวนในหลุมศพ การลงโทษและความสุขในโลกสุสาน

ผลที่ได้ รับจากการศรัทธาต่ อวันปรโลก


1- ยับยังตนจากการกระท
้ าที่ฝ่าฝื น เนื่องจากเกรงกลัวการลงโทษของอัลลอฮฺในวันปรโลก
2- ปรารถนาและมุง่ มัน่ ที่จะกระทาความดี เพราะหวังในผลบุญและการตอบแทน
3- เป็ นการปลอบโยนผู้ศรัทธาในสิ่งที่พลาดไปจากเขาในโลกนี ้ เพราะหวังผลบุญและความสุข ที่
จะได้ รับทดแทนในโลกหน้ า

หก การศรัทธาต่ ออัล-เกาะดัรฺ
อัล-เกาะดัรฺ คือ กฎสภาวการณ์ การลิขิต การกาหนดของอัลลอฮฺที่มีตอ่ สรรพสิ่งทังหลาย ้ ตามความ
รอบรู้ของพระองค์ที่มีอยูก่ ่อนหน้ าแล้ ว และเป็ นไปตามวิทยความปรี ชาญาณแห่งพระองค์
การศรัทธาต่ อการกาหนดของอัลลอฮฺครอบคลุมประการต่ างๆ ต่ อไปนี:้
หนึ่ ง ศรัทธาว่าอัลลอฮฺ มี ความรอบรู้ ในทุกสิ่งทัง้ ในภาพรวมและรายละเอียด รู้ อย่างดังเดิ ้ ม และ
ตลอดไป ไม่วา่ จะเป็ นสิ่งที่เกี่ยวพันกับการกระทาของพระองค์หรื อการกระทาของปวงบ่าว
สอง ศรัทธาว่าอัลลอฮฺได้ บนั ทึกทุกสิ่งไว้ ในแผ่นจารึกที่ถกู เก็บรักษาไว้ (อัล-เลาห์ อัล-มะห์ฟซู ฺ)
สาม ศรัทธาว่าแท้ จริ งทุกสรรพสิ่งจะเกิดขึน้ ด้ วยความประสงค์ของอัลลอฮฺเท่านัน้ ไม่ว่าสิ่งนัน้ จะ
เกี่ยวกับการกระทาของพระองค์หรื อการกระทาของสรรพสิ่งต่างๆ
อัลลอฮฺตรัสว่า
ُ ‫َيلُ ُق َما ي َ َشا ٓ ُء َو َي ۡخ َت‬
]٨٦ :‫ار ﴾ [القصص‬
ۡ َ َ ُّ َ َ
‫﴿ وربك‬
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  16 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ความว่า “และพระผู้อภิบาลของเจ้ าทรงสร้ างสิ่งที่พระองค์ทรงประสงค์และทรงเลือก” (อัล-เกาะศ็อศ : 68)

สี่ ศรัทธาว่าสรรพสิ่งทังหลายที
้ ่บงั เกิดขึ ้นล้ วนเป็ นสิ่งที่อัลลอฮฺ ทรงสร้ างทังสิ
้ น้ ไม่ว่าจะเป็ นตัวตน
ลักษณะ และการเคลื่อนไหวต่างๆ ทังหมด

อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
ََ َُ َ ۡ َ ُ ُ َ ُ‫ذ‬
ۡ َ ‫َع ُك‬
]٨٢ :‫ ﴾ [الزمر‬٦٢ ‫َشء َوك ِيل‬ ِ َٰ ‫ك َشء وهو‬ ِ ‫﴿ ٱّلل خَٰل ِق‬
ความว่า “อัลลอฮฺเป็ นผู้สร้ างทุกสิ่ง อีกทังพระองค์
้ เป็ นผู้ดแู ลทุกสิ่ง” (อัซ-ซุมรั ฺ : 62)
ผลที่ได้ รับจากการศรัทธาต่ อการกาหนดของอัลลอฮฺมีหลายประการ เช่น
1- ยึดอัลลอฮฺ เป็ นที่พึ่ง เมื่อได้ กระทาตามเหตุและปั จจัยแล้ ว โดยไม่ยึดเหตุและปั จจัยเป็ นที่พึ่ง
เนื่องจากทุกสิ่งจะเป็ นไปตามกาหนดของอัลลอฮฺ
2- เมื่อได้ รับในสิ่งที่พึงปรารถนาก็จะไม่หลงลาพองตน เพราะการได้ รับสิ่งใดจากความโปรดปราน
ของอัล ลอฮฺ นัน้ ก็ ด้ วยจากสาเหตุของความดี และความส าเร็ จ ที่ อัลลอฮฺ ได้ กาหนดไว้ ให้ เขา
เช่นกัน และการลาพองตนนันจะท ้ าให้ ลืมการขอบคุณในความโปรดปรานอัลลอฮฺ
3- มี ความสงบและผ่อนคลายทางอารมณ์ รู้ สึกสบายใจต่อสิ่ง ต่างๆ ที่ เกิ ดขึน้ จากการกาหนด
ของอัล ลอฮฺ ผู้ท รงอ านาจในชัน้ ฟ้ าและแผ่ น ดิ น ซึ่ ง มัน ต้ อ งเกิ ด ขึ น้ อย่ า งแน่ น อน ไม่ มี ท าง
หลีกเลี่ยงได้
ۡ ‫َ ۡ َ ذ ۡ َ َ َ ٓ ذ َ َٰ َ َ َ ذ‬ ُ َ ٓ ََ َۡ َ ‫﴿ َما ٓ أَ َص‬
َٰ َ َ ‫ ل َِك ۡي َل تَأ َس ۡوا‬٢٢ ‫ٱّللِ يَسِ ري‬
‫َع َما‬
َ ‫ُ ذ‬
‫ف أنفسِك ۡم إِل ِف كِتَٰب مِن قب ِل أن نۡبأها إِن ذل ِك َع‬ ِ ‫يبة ِف ٱۡل‬
ِ ‫ۡرض ول‬
َ ‫اب مِن ُّم ِص‬
ُ َ َ ۡ ُ ‫َ َ ُ ۡ َ َ َ ۡ َ ُ َ ٓ َ َ َٰ ُ ۡ َ ذ ُ َ ُ ُّ ُ ذ‬
]١٣ -١١ :‫ ﴾ [الديد‬٢٣ ‫ور‬ ‫فاتكم ول تفرحوا بِما ءاتىكم وٱّلل ل ُيِب ك ُمتال فخ ر‬
ความว่า “ไม่มีเคราะห์กรรมอันใดเกิดขึ ้นในแผ่นดินนี ้ และในตัวของพวกเจ้ าเอง นอกจากถูกบันทึกไว้ ก่อนที่
เราจะบังเกิดมันขึ ้นมา แท้ จริ งนัน่ เป็ นความง่ายดายสาหรับ อัลลอฮฺ เพื่อพวกเจ้ าจะไม่เสียใจในสิ่งที่สญ
ู เสีย
ไปจากพวกเจ้ า และไม่ดีใจอย่างยโสโอ้ อวดในสิ่งที่พระองค์ประทานแก่พวกเจ้ า และอัลลอฮฺ ไม่ทรงรักผู้ที่
หยิ่งจองหอง ผู้ที่โอ้ อวดทุกคน” (อัล-หะดีด : 22-23)

สองกลุ่มที่มีความเชื่อผิดพลาดในเรื่องอัล-เกาะดัรฺ
กลุ่มที่หนึ่ง: อัล-ญะบะรี ยะฮฺ ซึ่งพวกเขากล่าวว่า “แท้ จริ งบ่าวไม่มีสิทธิ์เลือกในการกระทา ในการ
ตัดสินใจ และไม่มีความสามารถในการลงมือทา”
กลุ่มที่สอง: อัล-เกาะดะรี ยะฮฺ กลุ่มที่กล่าวว่า “แท้ จริ งบ่าวมีสิทธิ์อย่างเป็ นเอกเทศในการกระทา
ของเขาเอง ในการตัด สิ น ใจและมี ค วามสามารถในการกระท าเอง โดยไม่ มี ผ ลมาจากความประสงค์
ของอัลลอฮฺหรื ออานาจของพระองค์แต่อย่างใด” (ดูเพิ่มเติมในตารา ชัรห์ อุศลู อัล-อีมาน ของเชคอิบนุ อุษัย
มีน)
พวกเขากล่าวปฏิเสธความเชื่อที่ ว่าอัลลอฮฺได้ กาหนดสรรพสิ่งต่างๆ และผลงานหรื อการกระทาของ
มันล่วงหน้ าก่อนที่มันจะเกิดขึ ้น คากล่าวของทัง้ สองกลุ่มนี เ้ ป็ นความเท็จที่ ห่างไกลจากความถูกต้ องมาก
ที่สดุ แล้ ว
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  17 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  18 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
บทที่ 4 ประเภทของเตาฮีด
ประเภทของเตาฮีด(การให้ เอกภาพต่ ออัลลอฮฺ)
1- เตาฮีด อัล-อุลฮู ียะฮฺ
2- เตาฮีด อัร-รุบบู ยี ะฮฺ
3- เตาฮีด อัล-อัสมาอ์ วะ อัศ-ศิฟาต

คานิยาม เตาฮีด คือการจากัดอิบาดะฮฺ/การเคารพภักดีมอบให้ กบั อัลลอฮฺอย่างเอกะเพียงพระองค์


เดียว
เตาฮีดมีสามประเภท
หนึ่ง เตาฮีด อัร-รุ บูบียะฮฺ คือรู้และศรัทธา(เชื่อ)ว่าอัลลอฮฺเพียงผู้เดียวที่เป็ นผู้สร้ าง ให้ ปัจจัยยังชีพ
ผู้ทรงบริหารจัดการ
และบรรดาผู้ตงภาคี
ั้ (ในยุคของท่านเราะสูล)ต่างก็ยอมรับในเตาฮีดอัร-รุ บูบียะฮฺ แต่อัลลอฮฺ ก็ไม่
นับว่าพวกเขาอยูใ่ นอิสลาม ดังหลักฐานที่วา่
َ ُ َ ۡ َٰ ‫َ َ َ َ ۡ َ ُ ذ ۡ َ َ َ ُ ۡ َ َ ُ ُ ذ ذ ُ َ َ ذ‬
]٦٠ :‫ ﴾ [الزخرف‬٨٧ ‫ن يُؤفكون‬ ‫﴿ ولئِن سأۡلهم من خلقهم َلقولن ٱّلله فأ‬
ความว่า “และขอสาบาน หากเจ้ า -โอ้ มุหัมมัด- ถามพวกเขาว่าใครสร้ างพวกเขา แน่นอนพวกเขาจะตอบ
ว่าอัลลอฮฺ แล้ วเป็ นไปได้ อย่างไรเล่าที่พวกเขาหันเหออกจากการเคารพภักดีตอ่ พระองค์” (อัซ-ซุครุฟ : 87)

สอง เตาฮีด อัล-อัสมาอ์ วะ อัศ-ศิฟาต คือการเชื่อในคุณลักษณะของอัลลอฮฺ ตามที่พระองค์ได้


บอกไว้ ในอัล กุรอาน หรื อ ตามค าบอกเล่า ของท่า นเราะสูล ศ็อ ลลัล ลอฮุอ ะลัย ฮิ ว ะสัล ลัม ในรู ป แบบที่
เหมาะสมคูค่ วรกับความยิ่งใหญ่ของพระองค์ และการให้ เอกภาพต่ออัลลอฮฺในด้ านนี ้ ได้ รับการยอมรับจาก
บรรดาผู้ตงภาคี
ั ้ บางส่วน แต่อีกบางส่วนก็ปฏิเสธเนื่องจากขาดความรู้ หรื อไม่ก็ดื ้อดึง
สาม เตาฮีด อัล-อุลูฮียะฮฺ คือการเคารพภักดีด้วยหัวใจบริ สทุ ธิ์อย่างแท้ จริ ง ไม่มีการตังภาคี
้ ใดๆ
กับพระองค์ ในรูปแบบของการเคารพภักดีทกุ ประเภท เช่น ความรัก ความกลัว ความหวัง การมอบหมายที่
พึง่ การวิงวอนขอ และอื่นๆ
ซึง่ เตาฮีดประเภทนี ้เป็ นสิ่งที่บรรดาผู้ตงภาคี
ั ้ ปฏิเสธและไม่ยอมรับ (ดูใน อัล-ญามิอฺ อัล-ฟะรี ด ลิ อัล-
อัสอิละฮฺ วะ อัล-อัจญ์วิบะฮฺ อะลา กิตาบ อัต-เตาฮีด หน้ า 9)

ชิริก หรือการตัง้ ภาคีมีสามประเภท


1- การตังภาคี
้ ประเภทร้ ายแรง (ชิริกใหญ่)
2- การตังภาคี
้ ประเภทเล็ก (ชิริกเล็ก)
3- การตังภาคี้ ที่ซอ่ นเร้ น (ชิริกอาพราง)
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  19 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
การตัง้ ภาคีประเภทร้ ายแรง (ชิริกใหญ่) มีผลทาให้ การงานทังหลายต้
้ องเป็ นโมฆะ และต้ องอยูใ่ น
นรกตลอดกาล อัลลอฮฺตรัสว่า
َ
َ ُ ُ َ َ َ َ ‫ِش ُكوا‬
]٦٦ :‫ ﴾ [األنعام‬٨٨ ‫ۡلب ِ َط ع ۡن ُهم ذما َكنوا َي ۡع َملون‬ َ ۡ ‫ٱّللِ َي ۡهدِي بهِۦ َمن ي َ َشا ٓ ُء م ِۡن ع َِبادِه ِۦ َول َ ۡو أ‬
‫ذ‬ ُ َ َ
‫﴿ ذَٰل ِك ه َدى‬
ِ
ความว่า “นัน่ คือทางนาของอัลลอฮฺ ซึ่งพระองค์จะทรงชี ้นาทางแก่ผ้ ทู ี่พระองค์ทรงประสงค์ในหมู่ปวงบ่าว
ของพระองค์ และหากพวกเขาได้ ตงภาคี
ั ้ แล้ ว แน่นอนสิ่งที่พวกเขาเคยกระทาไว้ ก็สูญสิน้ ไปจากพวกเขา”
(อัล-อันอาม : 88)

َ ُ َٰ َ ۡ ُ ‫ذ‬
﴾ ١٧ ‫ِلون‬
ِ ‫ار هم خ‬ ‫ٱنل‬ ‫ِف‬ َ ‫ت أَ ۡع َمَٰلُ ُه ۡم‬
‫و‬
َ َٰٓ َ ُ ۡ ُ ۡ
ۡ ‫ك َحب َط‬ ‫ئ‬‫ل‬ ‫و‬ ‫أ‬ ‫ر‬ ‫ف‬‫ك‬‫ٱل‬ ‫ب‬ ‫م‬ ‫ه‬ ‫س‬
ُ َ َٰٓ َ َ َ
‫نف‬ ‫أ‬ ‫َع‬ ‫ِين‬
‫د‬ ‫ه‬ َٰ َ ‫َ َ َ ۡ ُ ُ َ َ َٰ َ ذ‬ ۡ ُۡ َ َ َ
ِ ِ ِ ِ ِۚ ِ ِ ِ ِ ِ ‫ٱّلل‬
‫ش‬ ِ ‫جد‬
ِ ‫ۡشك ِي أن يعمروا مس‬
ِ ‫﴿ ما َكن ل ِلم‬
]11 : ‫[اتلوبة‬
ความว่า “ไม่บงั ควรแก่บรรดาผู้ตงภาคี
ั ้ ที่จะบูรณะมัสญิ ดของอัลลอฮฺ ในฐานะที่พวกเขายืนยันการปฏิเสธ
ศรัทธาแก่ตวั ของพวกเขาเอง ชนเหล่านันแหละ
้ การงานทังหลายของพวกเขาจะไร้
้ ผล และพวกเขาจะอยู่ใน
นรกตลอดกาล” (อัต-เตาบะฮฺ : 17)

และบุคคลใดที่เสียชีวิตในสภาพที่ตงภาคี
ั ้ ต่อ อัลลอฮฺ พระองค์จะไม่อภัยแก่เขา และสวรรค์เป็ นสิ่ง
ต้ องห้ ามสาหรับเขา อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
َ
ٓ َ َ َ َ ُ ۡ َ ۡ ُ ‫ٱّلل َل َي ۡغف ُِر أن ي‬
]٤٦ : ‫ۡش َك بِهِۦ َو َيغف ُِر َما دون ذَٰل ِك ل َِمن يَشا ُء ﴾ [النساء‬ َ ‫﴿ إ ذن ذ‬
ِ
ความว่า “แท้ จริ งอัลลอฮฺ จะไม่ทรงอภัยโทษในความผิดที่มีการตังภาคี
้ แก่พระองค์ (ในกรณี ที่ไม่ เตาบะฮฺ )
และพระองค์จะอภัยให้ ความผิดอื่นนอกเหนือจากนัน้ สาหรับผู้ที่พระองค์ทรงประสงค์” (อัน-นิสาอ์ : 48)

ُ ‫ٱۡل ذن َة َو َمأۡ َوى َٰ ُه ٱنلذ‬


]٠١ :‫ار ه ﴾ [املائدة‬ َ ۡ ِ‫ٱّلل َعلَ ۡيه‬
ُ ‫ٱّللِ َف َق ۡد َح ذر َم ذ‬
‫ذُ َ ُۡ ۡ ذ‬
ِ ‫ۡشك ب‬
ِ ‫﴿إِنهۥ من ي‬
ความว่า “แท้ จริงผู้ใดตังภาคี
้ ตอ่ อัลลอฮฺ แน่นอนพระองค์ทาให้ สวรรค์เป็ นที่ต้องห้ ามแก่เขา และที่พานักของ
เขาคือนรก” (อัล-มาอิดะฮฺ : 72)

และส่วนหนึง่ จากตัวอย่างของการตังภาคี
้ ก็คือ การวิงวอนขอความช่วยเหลือจากผู้ที่ล่วงลับไปแล้ ว
และจากรูปปั น้ การบนบานกับสิ่งเหล่านัน้ และการเชือดสัตว์เพื่อถวายแก่รูปปั น้ และแก่ผ้ ทู ี่ล่วงลับไปแล้ ว
หรื ออื่นๆ ในทานองนี ้

ส่วนการตัง้ ภาคีประเภทเล็ก (ชิริกเล็ก) คือทุกสิ่งที่มีหลักฐานยืนยันในอัลกุรอาน และในหะดีษว่า


เป็ นการตังภาคี
้ แต่ไม่ถึงขันของการตั
้ งภาคี
้ ประเภทใหญ่ เช่น การโอ้ อวดขณะกระทาความดี การสาบาน
ด้ วยสิ่งอื่นนอกจากอัลลอฮฺ การพูดว่านี่คือความประสงค์ของอัลลอฮฺและคนนันคนนี ้ ้ และอื่นๆ ในทานองนี ้
ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า
َ ََ ُ َ َ َ َ َ ُ َ ُ َ َ ُ َ
.»‫ «الرياء‬:‫ ف ُسئل عنه فقال‬،»‫«أخ َوف َما أخاف َعليكم الِّش ُك األصغ ُر‬
ความว่า “สิ่งที่ฉันกลัวว่าจะเกิดกับพวกท่านมากที่สุด คือการตังภาคี
้ เล็ก ” แล้ วท่านถูกถามว่า คือสิ่งใด?
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  20 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ท่านตอบว่า “คือการโอ้ อวด” (บันทึก โดยอะห์ มัด 5/428, อัฏ -เฏาะบะรอนี ย์ และอัล -บัยฮะกี ย์ ด้ วยสาย
รายงานที่ดี)

َ َ‫« َمن َحلَ َف ب َشء ُدو َن اهلل َف َقد أ‬


»‫ش َك‬
ความว่า “บุคคลใดสาบานด้ วยสิ่งใดอื่นจากอัลลอฮฺ แน่แท้ เขาได้ ตงภาคี
ั ้ แล้ ว” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ 6271
และมุสลิม 1646) 

َ َ‫ك َف َر أَو أ‬
»‫ش َك‬
َ ََ َ ََ
‫« َمن َحلف بغي اهلل فقد‬
ความว่า “บุคคลใดสาบานด้ วยสิ่งอื่นจากอัลลอฮฺ แน่แท้ เขาได้ ปฏิสธศรัทธาหรื อตังภาคี
้ ” (บันทึกโดยอัล-บุ
คอรี ย์ 5757 และมุสลิม 1646)

َُ َ َ َُ ُ َ َ َ ُ ُ َ َُ َ ََ ُ َ َ َ ُ َُ َ
»‫اء فالن‬‫ َولكن قولوا ما شاء اهلل ثم ش‬،‫اء فالن‬‫«ل َقولوا ما شاء اهلل وش‬
ความว่า “พวกท่านอย่ากล่าวว่า นี่เป็ นความประสงค์ของอัลลอฮฺและความประสงค์ของคนนันคนนี ้ ้ แต่จง
พูดว่า เป็ นความประสงค์ของอัลลอฮฺ หลังจากนันแล้้ วก็เป็ นความประสงค์ของคนนันคนนี
้ ”้ (บันทึกโดยอบู
ดาวูด 4980 ด้ วยสายรายงานที่ถกู ต้ องจากหุซยั ฟะฮฺ บิน อัล-ยะมาน)

การตังภาคี
้ ประเภทนี ้ไม่มีผลถึงขันสิ
้ ้นสภาพจากการเป็ นมุสลิม และไม่อยู่ในนรกตลอดกาล แต่ทา
ให้ เตาฮีดมีความบกพร่อง

ส่วนประเภทที่สาม คือการตัง้ ภาคีชนิดอาพราง (ชิริกซ่อนเร้ น) ดังมีหลักฐานจากหะดีษว่า


َ ُ ‫الر ُج ُل َفيُ َصّل َف‬
َ ‫ َي ُقو ُم‬...‫ف‬ َ ‫ الِّش ُك‬:‫ َق َال‬.‫ َب َىل‬:‫ادل َجال ؟ َقال ُوا‬ ُ َ َ ُ َ َ َ ُ َ ُ ُ ُ ََ
َ ‫كم عند ي م َن ال َمسيح‬
‫يي ُن‬ ‫ال ي‬ ‫«أ ل أ خب كم بما هو أ خوف علي‬
َ َ ‫ ل َما يَ َرى من َن َظر‬،‫َص َالتَ ُه‬
.»‫الر ُجل إله‬
ความว่า “เอาไหม ฉันจะบอกกับพวกท่าน ถึงสิ่งที่ฉันกลัวเป็ นอย่างยิ่ง ว่าจะเกิดกับพวกท่าน ซึ่งน่ากลัว
มากกว่าดัจญาลเสียอีก” พวกเขากล่าวว่า โปรดบอกพวกเราเถิด ท่านเราะสูลกล่าวว่า “คือการตังภาคี ้ ที่
ซ่อนเร้ น ... เช่น การที่คนผู้หนึ่งยืนขึ ้นละหมาด และแสร้ งทาอย่างสวยงาม เนื่องจากเห็นว่ามี คนอื่นมองเขา
อยู”่ (บันทึกโดยอะห์มดั 3/30 จากอบู สะอีด อัล-คุดรี ย์ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮฺ)

และอาจจะแบ่งการตังภาคี ้ เป็ นสองประเภทคือใหญ่ กับเล็ก ก็ได้ เพราะการตังภาคี


้ ที่ซ่อนเร้ นจะ
ครอบคลุมการตังภาคี ้ ทงสองประเภท
ั้ มันอาจจะอยู่ในการตังภาคี
้ ใหญ่ เช่น การตังภาคี
้ ของคนหน้ าไหว้ หลัง
หลอกหรื อพวกมุนาฟิ ก เพราะพวกเขาซ่อนหลักความเชื่อที่ไม่ดีไว้ ในใจ แต่จะแสดงออกว่าเป็ นมุสลิมโดยผิว
เผิน เพื่อให้ ผ้ อู ื่นได้ เห็นว่าตัวเองเป็ นมุสลิม และกลัวว่าจะได้ รับอันตรายหากพวกเขาไม่แสดงตัวเป็ นมุสลิม
และการตังภาคี ้ ที่ซ่อนเร้ น ก็อาจจะอยู่ในการตังภาคี
้ ชนิดเล็ก เช่น การโอ้ อวด ดังที่ได้ นาเสนอในหะ
ดีษของอบู สะอีด ก่อนหน้ านี ้ไปแล้ ว
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  21 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
บทที่ 5 หลักการอิสลาม
หลักการอิสลามมี 5 ประการ
1- การปฏิ ญ าณตนว่า “แท้ จ ริ งไม่มี พ ระเจ้ าที่ถูกเคารพภักดีโดยเที่ ยงแท้ นอกจากอัลลอฮฺ และ
แท้ จริงมุหมั มัดเป็ นศาสนทูตของอัลลอฮฺ”
2- การละหมาด
3- การจ่ายซะกาต
4- การถือศีลอดในเดือนเราะมะฎอน
5- การทาหัจญ์ ณ บัยตุลลอฮฺ สาหรับบุคคลที่มีความสามารถในการเดินทาง

ดังหลักฐานในหะดีษจากอิบนุ อุมรั ฺ ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า


َ َ ‫ َوإيتَاء‬، ‫الص َالة‬
َ ‫ َو َحج‬،‫الز ََكة‬ ُ ُ َ ً ََُ َ ََ َُ َ ََ َ َ َ َ َ
َ ‫ َوإقَام‬،‫ول اهلل‬ َ َ َ
»‫ابليت َو َصوم َر َم َضان‬ ‫ شهادة أن ل إهل إل اّلل وأن حممدا رس‬، ‫ن اإلسال ُم َىلع َخس‬
َ ُ‫«ب‬

ความว่า “อิสลามได้ วางอยู่ (หรื อ ถูกวาง) บนโครงสร้ างหลักห้ าประการ คือ 1) การปฏิญาณตนว่าแท้ จริ งไม่
มีพระเจ้ าที่ถกู เคารพภักดีโดยเที่ยงแท้ นอกจากอัลลอฮฺเท่านัน้ และแท้ จริ งมุหมั มัดเป็ นศาสนทูตของอัลลอฮฺ
2) การด ารงไว้ ซึ่ง การละหมาด 3) การจ่า ยซะกาต 4) การท าหัจ ญ์ และ 5) การถื อ ศี ล อดในเดื อ นเราะ
มะฎอน” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ 8 และมุสลิม 16)

ในส านวนของหะดี ษ ที่ ว่า “อิ ส ลามได้ ว างอยู่บ นโครงสร้ างหลัก ห้ าประการ” เป็ นส านวนการ
เปรี ยบเทียบ คือเปรี ยบอิสลามกับอาคารปลูกสร้ าง ซึง่ อิสลามจะไม่มนั่ คง เว้ นแต่จะต้ องตังอยู
้ ่บนโครงสร้ าง
หลักห้ าประการ เพราะไม่มีอาคารปลูกสร้ างใดที่ปราศจากโครงสร้ างหลัก และส่วนอื่นๆ ของอิสลามก็เปรี ยบ
ได้ กบั ส่วนอื่นๆ ที่ทาให้ อาคารสมบูรณ์แบบ หรื อเสมือนกับส่วนตกแต่งอื่นๆ ของอาคาร
ส่วนคาที่ว่า “ปฏิญาณตน” คือการศรัทธาต่ออัลลอฮฺและเราะสูล ดังที่มีรายงานของอิมามมุสลิมว่า
“คือการให้ เอกภาพต่ออัลลอฮฺ” และในอีกสายรายงาน คือ “การให้ เอกภาพต่ออัลลอฮฺ และปฏิเสธสิ่งอื่นๆ
นอกจากพระองค์”
คาว่า “ดารงไว้ ซงึ่ การละหมาด” ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า
َ
َ ‫كفر َوالِّشك تَر ُك‬
ُ َ ‫الر ُجل َو َب‬
َ ‫ني‬َ ‫« َب‬
»‫الصالة‬ ‫ني ال‬
ความว่า “สิ่ งที่ ที่จะนามุส ลิม ไปสู่การปฏิ เสธศรัทธาและการตัง้ ภาคี คือการละทิง้ ละหมาด” (บันทึกโดย
มุสลิม 82 และอัต-ติรมิซีย์ 2620 และท่านอื่นๆ)

และหะดีษจากมุอาซฺ ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
َ َ َ
»‫الصال ُة‬
َ ‫ َو َع ُمو ُد ُه‬،‫« َرأ ُس األمر اإلسال ُم‬

ความว่า “หัวหลักของเรื่ องคืออิสลาม และเสาของมันคือการละหมาด” (อัต-ติรมิซีย์ 2616, อิบนุ มาญะฮฺ


3973, อะห์มดั 5/231)
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  22 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
อับดุลลอฮฺ บิน ชะฟี ก กล่าวว่า “บรรดาสาวกของท่านเราะสูลเห็นว่าไม่มีความดีใดที่ ละเลยแล้ วจะ
เป็ นการปฏิเสธศรัทธา นอกจากการละเลยละหมาด”

คาว่า “จ่ายซะกาต” การจ่ายซะกาตเป็ นโครงสร้ างหลักที่สามของอิสลาม อัลลอฮฺตรัสว่า


َ ‫ذ َ َٰ َ َ َ ُ ذ‬
]٤٣ :‫ٱلزك َٰوةَ ﴾ [ابلقرة‬ ُ ‫﴿ َوأَق‬
‫ِيموا ٱلصلوة وءاتوا‬
ความว่า “และพวกเจ้ าจงดารงรักษาละหมาด และจงจ่ายซะกาต” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 43)
‫ذ‬ ُٓ
َ ‫ذ َ َٰ َ َ ُ ۡ ُ ذ‬
]١ :‫ٱلزك َٰوةَ ﴾ [ابلينة‬ ‫ِيموا ٱلصلوة ويؤتوا‬ َ ‫ي َ َُل ٱل‬
ُ ‫ِين ُح َن َفا ٓ َء َو ُيق‬ ُۡ َ‫ذ‬
َ ‫ُمل ِص‬
ِ ‫﴿ َو َما أم ُِر ٓوا إِل َِلَ ۡع ُب ُدوا ٱّلل‬
ความว่า “และพวกเขามิถูกบัญชาให้ กระทาอื่นใด นอกจากเพื่อเคารพภักดีต่อ อัลลอฮฺโดยบริ สุทธิ์ ใจอย่าง
แท้ จริง และอยูใ่ นแนวทางอันเที่ยงตรง ให้ ดารงรักษาละหมาดและจ่ายซะกาต” (อัล-บัยยินะฮฺ : 5)

คาว่า “ถือศีลอด” การถือศีลอดเป็ นองค์ประกอบหลักที่สี่ของอิสลาม อัลลอฮฺตรัสว่า


َ ُ َ ُ ‫ُ َ ذ‬ َ ََ َ ُ َ َ ُ َ
َ ‫َع ذٱَّل‬ ُ ََ ُ ُ َ َ ‫َ َ ُّ َ ذ‬
]٢٦٣ :‫ ﴾ [ابلقرة‬١٨٣ ‫ِين مِن ق ۡبل ِك ۡم ل َعلك ۡم ت ذتقون‬ ِ ‫ِين َءامنوا كت َِب عل ۡيك ُم‬
‫ٱلصيام كما كت ِب‬ َٰٓ ﴿
‫يأيها ٱَّل‬
ความว่า “โอ้ บรรดาผู้ศรัทธาทังหลาย
้ การถือศีลอดถูกบัญญัติแก่พวกเจ้ าแล้ ว เช่นเดียวกับที่ถกู บัญญัติแก่
บรรดาผู้ที่มาก่อนหน้ าพวกเจ้ า เพื่อพวกเจ้ าจะได้ ยาเกรง” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 183)

คาว่า “ทาหัจญ์” การทาหัจญ์เป็ นองค์ประกอบหลักที่ห้าของอิสลาม อัลลอฮฺตรัสว่า


ٗ َ َ ۡ َ ۡ ُّ ََ
]١٠ :‫ٱس َت َطاع إ ِ َۡلهِ َسبِيل ﴾ [آل عمران‬
ۡ ‫ت َمن‬ ِ ‫﴿ َو ِ ذّللِ َع ٱنلذ‬
ِ ِ ‫اس حِج ٱۡلي‬
ความว่า “และเป็ นหน้ าที่ของมนุษย์ที่มีตอ่ อัลลอฮฺ คือการทาหัจญ์ ณ บัยตุลลอฮฺ สาหรับผู้ที่มีความสามารถ
ในการเดินทาง” (อาล อิมรอน : 97)

และหะดีษบทดังกล่าวนี ้ เป็ นหลักฐานที่สาคัญในการรู้จกั ศาสนาอิสลาม วัลลอฮุอะอฺลมั

บทที่ 6 เงื่อนไขของการละหมาด
มี 9 ประการ
1- นับถือศาสนาอิสลาม (เป็ นมุสลิม)
2- มีสติสมั ปชัญญะ
3- บรรลุศาสนภาวะ
4- สะอาดปราศจากหะดัษ (ทังเล็ ้ กและใหญ่)
5- สะอาดปราศจากนะญิสทังหลาย ้
6- สวมใส่เสื ้อผ้ าที่ปกปิ ดมิดชิด (ปกปิ ดเอาเราะฮฺ)
7- เข้ าเวลาละหมาด
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  23 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
8- หันหน้ าไปทางกิบละฮฺ
9- ตังเจตนา
้ (เนียต)
หลังจากที่ ผ้ ูป ระพัน ธ์ (เชคบิน บาซ) ได้ กล่าวถึง รุ ก่ น อิส ลามทัง้ 5 ประการในบทเรี ยนที่ แล้ ว จึง
เหมาะสมอย่างยิ่งที่จะกล่าวถึงในที่นี ้เกี่ยวกับเงื่อนไขของการละหมาด เพราะการละหมาดเป็ นเรื่ องที่ต้องมี
การเน้ นย ้าอย่างมากที่สดุ หลังจากการกล่าวชะฮาดะฮฺ ปฏิญาณตนทังสองประโยค ้ และการละหมาดจะไม่
ถูกต้ องนอกจากต้ องทาตามเงื่อนไข ดังนัน้ จึงเหมาะสมอย่างยิ่งที่จะกล่าวถึงเรื่ องนี ้ในที่นี ้
เงื่อ นไข 1-3 นับ ถื อศาสนาอิ ส ลาม (เป็ นมุส ลิม ), มี สติสัม ปชัญ ญะ, บรรลุศ าสนภาวะ ซึ่งการ
ละหมาดของคนปฏิเสธศรัทธา(กาฟิ รฺ )จะใช้ ไม่ได้ เพราะการงานของเขาเป็ นโมฆะ ส่วนคนบ้ า เสียสตินนอยู ั้ ่
นอกกลุ่มคนที่บทบัญญัติบงั คับใช้ เช่นเดียวกับเด็กที่ยงั ไม่บรรลุวยั ตามศาสนภาวะ ซึ่งเข้ าใจตามความของ
หะดีษบทที่วา่
َ َ ُ َ َ َ ُُ
»‫الصالة ل َسبع‬‫اءكم ب‬ ‫«مروا أبن‬
ความว่า “จงสัง่ ให้ ลกู ๆ ของพวกท่านละหมาดเมื่ออายุได้ เจ็ดขวบ” (อบู ดาวูด 495, อะห์มดั 2/187)

เงื่อ นไขที่ 4 สะอาด (ปราศจากหะดัษ ทัง้ เล็ ก และใหญ่ ) หากมี ค วามสามารถ เพราะท่านนบี
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า
َ َ ُ ُ َ
»‫«ل َقبَل َصالة بغي ُط ُهور‬
ความว่า “การละหมาดที่ปราศจากความสะอาดจะไม่ถกู ตอบรับ” (มุสลิม 224)

เงื่อนไขที่ 5 เข้ าเวลาละหมาด อัลลอฮฺตะอาลาได้ ตรัสว่า


‫ذ‬ ُ َ ‫ذ‬ َ
]٠٦ :‫ ﴾ [اإلرساء‬٧٨ ‫لصل َٰوةَ ِ ُللوكِ ٱلش ۡم ِس‬ ‫﴿ أق ِ ِم ٱ‬
ความว่า “จงดารงการละหมาดไว้ ตงแต่
ั ้ ตะวันคล้ อย” (อัล-อิสรออ์ : 78)

และมีรายงานจากท่านอุมรั ฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ กล่าวว่า


َ َ َ ُ ُ ََ َ َ ُ َ َ
»‫اهلل ل تص يح إل به‬ ‫الصالة ل َها َوقت شطه‬ «
ความว่า “การละหมาดนัน้ มี เวลาของมัน ซึ่งอัลลอฮฺ ได้ ท าให้ เป็ นเงื่ อ นไข การละหมาดจะใช้ ไม่ได้ ห าก
ปราศจากเวลาของมัน”

เวลาละหมาดแต่ ล ะช่ ว งก็ คื อ ตามหะดี ษ ที่ ท่ า นญิ บ รี ล ได้ น าละหมาดทัง้ ห้ าเวลาแก่ ท่ า นนบี
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม โดยวันแรกท่านมาละหมาดในช่วงต้ นของวักตู พอวันถัดไปท่านจะมาละหมาด
ฟั รฎเดี
ู ยวกันนันในช่
้ วงสุดท้ ายของของวักตู หลังจากนันท่ ้ านได้ กล่าวว่า
َ َ َ َ َ
»‫ني هذين َوقت‬ ‫«ما ب‬
ความว่า “เวลาละหมาดของแต่ละวักตู อยู่ระหว่างเวลาสองช่วง(ที่ญิบรี ลมาละหมาดแต่ละวักตูให้ ท่านนบี
ดู)” (บันทึกโดยอะห์มดั และ อัน-นะสาอีย์)
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  24 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
เงื่อนไขที่ 6 ปกปิ ดร่างกายอย่างมิดชิด (ปกปิ ดเอาเราะฮฺ) หากมีความสามารถ ด้ วยสิ่งที่ไม่ทา
ให้ มองเห็นผิวกาย เพราะอัลลอฮฺ ตะอาลา ได้ ดารัสว่า
]٣٢ :‫ ﴾ [األعراف‬٣١ ‫جد‬ ۡ َ ُ ‫ِند‬ ُ ََ
َ ‫ك ۡم ع‬ ُ ُ َ ٓ َ َٰ َ
‫ن َءاد َم خذوا زِينت‬
ِ ‫ك مس‬ِ ِ ‫﴿ ۞يب‬
ความว่า “ลูกหลานของอาดัมเอ๋ย ! จงเอาเสื ้อผ้ าที่ประดับกายของพวกเจ้ ามาปกปิ ดทุกครัง้ ที่ละหมาด” (อัล-
อะอฺรอฟ : 31)

และท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า


َ َ َ َُ َُ َ َ
»‫اّلل َصالة َحائض إل ِب َمار‬ ‫«ل يقبل‬
ความว่า “อัลลอฮฺจะไม่ทรงตอบรับการละหมาดของหญิงที่มีประจาเดือน (หมายถึง บรรลุศาสนภาวะแล้ ว)
เว้ นแต่ให้ มีผ้าปกปิ ดศีรษะ” (อัต-ติรมิซี 377, อบู ดาวูด 641)

และหะดีษที่รายงานโดยท่านสะละมะฮฺ บิน อัล-อักวะอฺ เล่าว่า ฉันได้ กล่าวว่า


َ َ َ َ َ َ َ ََُ ُ َ ُ َ َ َ
»‫ «ن َعم َواز ُرر ُه َولو بشوكة‬:‫يد أفأ َصّل يف القميص ال َواحد؟ قال‬ ‫ إّن رجل أص‬،‫يَا َر ُسول اّلل‬
ความว่า โอ้ ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ฉันเป็ นชาวประมง แล้ วฉันจะละหมาดด้ วยการสวมผ้ าผืนเดียวได้ หรื อไม่?
ท่านนบีตอบว่า “ได้ แต่ใส่กระดุมให้ มันแน่นด้ วย แม้ จะใช้ หนามอันเดียวมาเสียบไว้ ก็ตาม” (อัน-นะสาอี ย์
765, อบู ดาวูด 632)

หะดีษทังสองเศาะฮี
้ หฺตามความคิดเห็นของท่านอัต-ติรมิซีย์ และท่านอิบนุ อับดิลบัรร์ ได้ อ้างเป็ นมติ
เอกฉันท์ (อิจญฺ มาอ์) ว่าการละหมาดของคนที่เผยเอาเราะฮฺ(เรื อนร่างส่วนที่ต้องปกปิ ด)จะใช้ ไม่ได้ หากเขามี
ความสามารถที่จะปกปิ ด

เงื่อนไขที่ 7 สะอาดปราศจากนะญิส (สิ่งสกปรก) ทังร่้ างกาย เสื ้อผ้ า และสถานที่ เพราะอัลลอฮฺ


ตะอาลา ได้ ดารัสว่า
َ َ
]٤ :‫ ﴾ [املدثر‬٤ ‫﴿ َوث َِيابَك ف َط ِه ۡر‬
ความว่า “และเสื ้อผ้ าของเจ้ า จงทาให้ สะอาด” (อัล-มุดดัษษิรฺ : 4)

และท่ า นนบี ศ็ อ ลลั ล ลอฮุ อ ะลั ย ฮิ ว ะสั ล ลั ม ได้ กล่ า วแก่ ท่ า นหญิ งอั ส มาอ์ ในเรื่ อ งเลื อ ด
ประจาเดือนว่า
ُ ُ ُ ُ َ َ َ ُ َ ُ ُ ُ َ َ ُ ُ‫َُي‬
»‫ ث َم ت َصّل فيه‬،‫حه‬‫ ثم َنض‬،‫ ثم َقرصه بالماء‬،‫«تته‬
ความว่า “ให้ นางแคะมันออก(เวลาซักเสื ้อผ้ าที่เปื อ้ นสกปรก) แล้ วใช้ นิ ้วขยี ้มันด้ วยน ้า หลังจากนันก็
้ ล้างมัน
แล้ วนามันมาใส่ละหมาดได้ ” (อัล-บุคอรี ย์ 225, มุสลิม 291)
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  25 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
เงื่อนไขที่ 8 หันหน้ าไปทางกิบละฮฺ เพราะอัลลอฮฺ ตะอาลา ได้ ดารัสว่า
َ ۡ ‫ج ِد ٱ‬
]٢٤٤ :‫ ﴾ [ابلقرة‬١٤٤ ِۚ‫ۡل َر ِام‬ ۡ َۡ َ ۡ َ َ َ ۡ َ ََ
ِ ‫﴿ فو ِل وجهك شطر ٱلمس‬
ความว่า “ดังนันเจ้
้ าจงผินใบหน้ าของเจ้ าไปทางมัสยิดอัล-หะรอมเถิด” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 144)

เงื่อนไขที่ 9 การตังเจตนา
้ (เนียต) เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า
ُ َ َ
»‫«إن َما األع َمال بانل َيات‬
ความว่า “แท้ จริงการงานทังหลายขึ
้ ้นอยูก่ บั การเจตนา” (อัล-บุคอรี ย์ 1, มุสลิม 1907)

และด้ วยประการนี ้เองที่เงื่อนไขของการละหมาดได้ ครบถ้ วนสมบูรณ์ วัลลอฮุอะอฺลมั (ดูใน มะ


นารฺ อัส-สะบีล หน้ า 1/70-79)

บทที่ 7 รุ ก่นต่ างๆ ของการละหมาด


มี 14 ประการ
1- ยืนตรง หากมีความสามารถ
2- ตักบีเราะตุลอิห์รอม
3- อ่านสูเราะฮฺ อัล-ฟาติหะฮฺ
4- รุกอู ฺ
5- เงยศีรษะจากรุกอู ฺมายืนตรง (อิอฺตดิ าล)
6- สุญดู บนอวัยวะทังเจ็้ ด
7- นัง่ ระหว่างสองสุญดู
8- เงยจากสุญดู
9- ฏมะอ์
ุ นีนะฮฺ หรื อการหยุดนิ่งครู่หนึง่ ในแต่ละขันตอน

10- เรี ยงลาดับในการปฏิบตั ติ ามขันตอนขององค์
้ ประกอบของการละหมาด
11- อ่านตะชะฮฺฮดุ ครัง้ สุดท้ าย
12- การนัง่ เพื่ออ่านตะชะฮฺฮดุ ครัง้ สุดท้ าย
13- อ่านเศาะละวาตต่อท่านนบีในตะชะฮฺฮดุ ครัง้ สุดท้ าย
14- กล่าวสลามสองครัง้

หลังจากที่ท่านเชคของเรา เราะหิมะฮุลลอฮฺ ได้ กล่าวถึงเงื่อนไขของการละหมาดในบทเรี ยนก่อน


หน้ านี ้ เพราะเงื่อนไขของการละหมาดนันคื ้ อสิ่งแรกที่ต้องมี จึงเหมาะสมที่จะกล่าวถึงรุก่ นต่างๆ ของมันใน
ลาดับต่อไปนี ้ เพราะมันเป็ นสิ่งที่ควบคูก่ ารละหมาดอยูแ่ ล้ ว
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  26 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ดังนัน้ รุก่นแรกของการละหมาด คือ การยืนตรงหากมีความสามารถ เพราะอัลลอฮฺ ตะอาลา ได้
ดารัสว่า
ُ ُ‫﴿ َوق‬
َ ‫وموا ِ ذّللِ َق َٰنِت‬
]١٣٦ :‫ ﴾ [ابلقرة‬٢٣٨ ‫ِي‬
ความว่า “และจงยืนละหมาดเพื่ออัลลอฮฺโดยนอบน้ อม” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 238)

และท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวในหะดีษของท่านอิมรอนว่า


َ
»‫« َصل قائ ًما‬
ความว่า “จงละหมาดในท่ายืน” (อัล-บุคอรี ย์ 1066)

ซึง่ บรรดานักวิชาการก็เห็นพ้ องกันในเรื่ องนี ้

รุก่นที่สอง ตักบีเราะตุลอิห์รอม เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า


ُ ‫ َو َتليلُ َها التَسل‬،‫ي‬
»‫يم‬ ُ ‫اتلكب‬ ُ ‫ َو َتر‬،‫ور‬
َ ‫يم َها‬ ُ ‫الط ُه‬ َ ‫اح‬
‫الصالة ي‬ ُ َ‫«مفت‬

ความว่า “กุญแจของการละหมาดคือความสะอาดด้ วยวุฎอ์ู และเข้ าสูภ่ าวะต้ องห้ าม(ในละหมาด)ด้วยการกล่าว


ตักบีรฺ และปลดเปลื ้องสูภ่ าวะอนุญาต(ออกจากละหมาด)ด้ วยการให้ สลาม” (อัต-ติรมิซีย์ 3, อบู ดาวูด 61)

ท่านอัต-ติรมิซีย์ได้ กล่าวว่า ถือเป็ นหะดีษที่ถูกต้ องที่สุดในเรื่ องนี ้ และเพราะท่านนบี ศ็อลลัลลลอ


ฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยกล่าวสอนแก่คนที่ละหมาดรี บๆ ว่า
َ َ ََ ُ َ ُ ُ ََ َ َ َ َ ُ َ
»‫ ث َم استَقبل القبلة فكب‬،‫وء‬ ‫الصالة فأسبغ الوض‬ ‫«إذا قمت إل‬
ความว่า “หากท่านจะละหมาดก็จงอาบน ้าละหมาดอย่างดี หลังจากนันให้
้ ผินหน้ าไปทางทิศ กิบละฮฺ แล้ วให้
กล่าวตักบีรฺ” (อัล-บุคอรี ย์ 5897, มุสลิม 397)

รุ ก่นที่สาม อ่านสูเราะฮฺฟาติหะฮฺ เพราะมีหะดีษที่รายงานโดยท่านอุบาดะฮฺ บินอัศ -ศอมิต ซึ่งท่าน


เราะสูลลุ ลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า
َ َ َ َ َ َ
»‫«ل َصالة ل َمن لم يق َرأ بفاتَة الكتَاب‬
ความว่า “ไม่มีการละหมาด สาหรับผู้ที่ไม่ได้ อา่ นสูเราะฮฺอลั -ฟาติหะฮฺ” (อัล-บุคอรี ย์ 723, มุสลิม 394)

รุก่นที่ส่ ี รุกอู ฺ เพราะอัลลอฮฺ ตะอาลา ได้ ดารัสว่า


َ ۡ ُ َ َ َ ‫َ َ ُّ َ ذ‬
]٠٠ : ‫ ﴾ [الج‬٧٧ ‫ٱرك ُعوا‬ َٰٓ ﴿
‫يأيها ٱَّلِين ءامنوا‬
ความว่า “โอ้ บรรดาผู้ศรัทธาทังหลาย
้ สูเจ้ าจงรุกอู ฺเถิด” (อัล-หัจญ์ : 77)
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  27 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ดัง ที่ มี บัน ทึ ก ในเศาะฮี หฺ อัล -บุ ค อรี ย์ แ ละมุ ส ลิ ม จากหะดี ษ ที่ ร ายงานโดยท่ า นอบู ฮุร็ อ ยเราะฮฺ
เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ ในหะดีษที่กล่าวถึงคนที่ละหมาดชุย่ ๆ ซึ่งท่านเราะสูลลุ ลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
ได้ กล่าวว่า
َ ‫« ُث َم ار َكع َح َّت ََط َم‬
» ‫ئ َراك ًعا‬
ความว่า “หลังจากนันให้้ ทา่ นรุกอู ฺ จนกระทัง่ การรุกอู ฺนนอยู
ั ้ ่ในสภาพที่หยุดนิ่งครู่หนึง่ (มีฏมะอ์
ุ นีนะฮฺ)” (อัล-
บุคอรี ย์ 724, มุสลิม 397)

รุก่นที่ห้า เงยศีรษะจากรุกอู ฺมายืนตรง (อิอฺติดาล) เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้


กล่าวแก่คนที่ละหมาดชุย่ ๆ ว่า
َ َ َ َ ُ
»‫«ث َم ارفع َح َّت َعدل قائ ًما‬
ความว่า “หลังจากนันให้
้ เงยศีรษะขึ ้นมายืนตรง” (อัล-บุคอรี ย์ 760, มุสลิม 397)

และเพราะมีบนั ทึกโดยนักบันทึกทังห้
้ า จากการรายงานของท่านอบู มัสอูด อัล-อันศอรี ย์ ซึง่ ท่านนบี
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าววว่า
ُ ‫الر ُكوع‬
ُ ‫والس‬
»‫جود‬ َ ‫«ل ُُتزئ َصالة ل يُقي ُم‬
ُ ‫الر ُج ُل فيها ُصلبَ ُه يف‬

ความว่า “ละหมาดของผู้ที่ไม่เหยียดหลังขณะรุกอู ฺและสุญูดนันถื


้ อว่าใช้ ไม่ได้ ” (อัต-ติรมิซีย์ 265, อัน-นะสา
อีย์ 1027)

รุก่นที่หก สุญดู บนอวัยวะทังเจ็


้ ด เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า
َ َ َ ‫َ ي‬ َ َ َ ‫ َوأَ َش‬، ‫ىلع الَب َهة‬
ََ ُ َ َ َ ََ َ ُ َ َ ُ ُ
»‫ َوأط َراف الق َد َمني‬، ‫الركبَتني‬‫ و‬، ‫ َوالَ َدين‬، ‫ار بيَده َىلع أنفه‬ :‫«أمرت أن أسجد ىلع سبعة أعظم‬
ความว่า “ฉันถูกสัง่ ใช้ ให้ สญ
ุ ูดด้ วย 7 กระดูก (อวัยวะ) อันได้ แก่ หน้ าผาก และท่านก็ได้ ชี ้ไปที่จมูกของท่าน
ด้ วย, มือทังสอง,
้ เข่าทังสอง,
้ และปลายเท้ าทังสอง”
้ (อัล-บุคอรี ย์ 779, มุสลิม 490)

รุ ก่ นที่ เจ็ ด นั่งระหว่างสองสุญูด เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม ได้ กล่าวแก่คนที่


ละหมาดชุย่ ๆ ว่า
َ َ َ ُ
» ‫« ث َم ارفع َح َّت َعتَدل َجال ًسا‬
ความว่า “หลังจากนันให้
้ ลกุ ขึ ้นมานัง่ ตัวตรง” (อัล-บุคอรี ย์ 760, มุสลิม 397)

และเพราะท่านหญิงอาอิชะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา ได้ เล่าว่า


َ ُ ‫جود لَم يَس‬
» ‫جد َح َّت يَستَو َي قاع ًدا‬ ‫اهلل َعلَيه َو َسلَ َم إ َذا َر َف َع َرأ َس ُه م َن ي‬
ُ ‫الس‬ ُ ‫ب َص َىل‬
َ َ‫« ََك َن نل‬

ความว่า “เมื่อท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เงยศีรษะจากสุญดู ท่านจะไม่สญ


ุ ดู (ครัง้ ที่ สอง) จนกว่า
จะนัง่ ตัวตรงเสียก่อน” (มุสลิม 498, อบู ดาวูด 783)
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  28 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
รุ ก่นที่แปด เงยจากสุญูด เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวแก่คนที่ละหมาด
ชุย่ ๆ ว่า
َ ‫« ُث َم ار َفع َح َّت ََط َم‬
» ‫ئ َجال ًسا‬
ความว่า “หลังจากนันให้
้ ลกุ ขึ ้นมานัง่ พร้ อมกับหยุดนิ่งครู่หนึง่ ” (อัล-บุคอรี ย์ 724, มุสลิม 397)

รุก่นที่เก้ า ฏมะอ์
ุ นีนะฮฺ หรื อการหยุดนิ่งครู่หนึง่ ในแต่ละขันตอน
้ เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะสัลลัม ได้ กล่าวแก่คนที่ละหมาดชุย่ ๆ ว่า
َ ‫« ُث َم ار َكع َح َّت ََط َم‬
»‫ئ َراك ًعا‬
ความว่า “หลังจากนันให้
้ รุกอู ฺแล้ วหยุดนิ่งครู่หนึง่ ” (อัล-บุคอรี ย์ 724, มุสลิม 397)

ซึ่งการละหมาดของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จะมี ความฏุมะอ์นีนะฮฺ และท่านนบีได้


กล่าวว่า
ُ َ َ ‫ي‬
» ‫« َصلوا ك َما َرأيتُ ُمون أ َصّل‬
ความว่า “พวกท่านจงละหมาด ตามที่พวกท่านเห็นฉันละหมาด” (อัล-บุคอรี ย์ 605)

รุก่นที่สิบ เรี ยงลาดับในการปฏิบตั ติ ามขันตอนขององค์


้ ประกอบของการละหมาด

รุ ก่ น ที่สิ บ เอ็ ด และสิ บ สอง นั่งอ่านตะชะฮฺ ฮุดครัง้ สุดท้ าย เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัย ฮิ


วะสัลลัม ได้ กล่าวว่า เมื่อคนหนึง่ คนใดในหมูพ่ วกท่านได้ นงั่ (ตะชะฮฺฮดุ ) ในละหมาด ก็จงกล่าวว่า
َ َ ََ َ َ َ َ ُ َ ُ ُ ََََ َُ ََ ‫َ َ ََ ُ َ َ َ ُ َ ُ َ َ َ َيَ َ ي‬ ُ
‫ أش َه ُد‬،‫ني‬ َ ‫ىلع عبَاد اهلل‬
‫الصالـح‬ ‫ و‬،‫ السالم علينا‬،‫ـمة اهلل وبرَكتـه‬‫ السالم عليك أيها انلب ورح‬،‫ والطيبات‬،‫ والصلوات‬،‫اتلح َيات هلل‬ َ «
ُ ُ َ
َ ً َ َ ُ َ ُ َ ََ َ َ َ َ
»‫ـمدا عب ُد ُه َو َر ُسولـه‬ ‫ وأشهد أن مـح‬،‫أن ل إلـه إل اهلل‬
ความว่า“ มวลการสดุดีทงหลายมอบแด่
ั้ อลั ลอฮฺ รวมทังการสรรเสริ
้ ญด้ วยพรและความดีงามต่างๆ ขอความ
สันติสุขจงประสบแด่ท่านโอ้ ผ้ ูเป็ นนบี รวมทัง้ ความเมตตาแห่งอัลลอฮฺ และความประเสริ ฐ ทัง้ หลายของ
พระองค์ ขอความสันติสขุ จงประสบแด่เราและแด่บรรดาบ่าวผู้ทรงคุณธรรมทังหลาย ้ ข้ าขอปฏิญาณว่าไม่มี
พระเจ้ าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺ และข้ าขอปฏิญาณว่ามุหมั มัดนันเป็
้ นบ่าวและศาสนทูตของพระองค์ ” (อัล-บุ
คอรี ย์ 5876, มุสลิม 402)

รุ ก่นที่สิบสาม อ่านเศาะละวาตต่อท่านนบีในตะชะฮฺฮดุ ครัง้ สุดท้ าย เพราะมีหะดีษที่รายงานจาก


ท่านกะอฺบ์ บินอุจญ์ เราะฮฺ ในครัง้ ที่ทา่ นได้ ถามท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เกี่ยวกับวิธีการเศาะละ
วาต ซึง่ ท่านนบีได้ กล่าวว่าพวกท่านจงกล่าวว่า
َ َ ‫ اللَ ُه‬، ‫ك َحـميد َمـجيد‬
‫ـم َبارك َىلع‬
َ َ َ َ َ
‫ إن‬،‫ َو َىلع آل إبراهيم‬،‫يم‬
ََ َ َ َ َ َ َ َ ُ
َ ‫ىلع إب َراه‬ ‫ كما صليت‬،‫ َو َىلع آل مـحـمد‬،‫ـمد‬
َ ََ َ َ َُ
َ ‫ىلع ُم‬
َ ‫ـح‬ ‫«اللهـم صل‬
َ َ َ َ َ َ
»‫ إنك َحـميد َمـجيد‬،‫يم‬ َ ‫ َو َىلع آل إب َراه‬،‫يم‬
َ ‫ت َىلع إب َراه‬
َ ‫ارك‬ َ ‫ َو َىلع آل ُم‬،‫ـمد‬
َ ‫ـح‬
َ َ‫ ك َما ب‬،‫ـمد‬ َ ‫ُم‬
َ ‫ـح‬
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  29 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ความว่า“ โอ้ พระผู้อภิบาลแห่งเรา ขอทรงประทานความจาเริ ญแด่มหุ มั มัดและครอบครัวของมุหมั มัด เช่นที่
พระองค์ประทานความจาเริ ญแด่อิบรอฮีมและครอบครัวของอิบรอฮีม แท้ จริ งพระองค์นนทรงยิ ั้ ่งด้ วยการ
สรรเสริ ญ และบารมี อัน สูง ส่ง โอ้ พระผู้อภิ บ าลแห่งเรา ขอทรงประทานความประเสริ ฐ แด่ มุหัม มัด และ
ครอบครัวของมุหมั มัด เช่นที่พระองค์ประทานความประเสริฐแด่อิบรอฮีมและครอบครัวของอิบรอฮีม แท้ จริ ง
พระองค์นนทรงยิ
ั้ ่งด้ วยการสรรเสริญและบารมีอนั สูงส่ง” (อัล-บุคอรี ย์ 3190, มุสลิม 406)

รุก่นที่สิบสี่ กล่าวสลามทังสองครั
้ ง้ เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า
ُ ‫« َو َتليلُ َها التَسل‬
»‫يم‬
ความว่า “และอนุญาต (ออกจากละหมาด) ด้ วยการให้ สลาม” (อัต-ติรมิซีย์ 3, อบู ดาวูด 61)

และคากล่าวของท่านหญิงอาอิชะฮฺที่กล่าวถึงลักษณะการละหมาดของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะสัลลัม ไว้ วา่ “ท่านนบีได้ ปิดท้ ายการละหมาดด้ วยการให้ สลาม ดังนันการให้
้ สลามจึงเป็ นบัญญัตทิ ี่ทาให้ มี
การอนุญาตออกจากละหมาดได้ ซึ่งมันเป็ นการปิ ดท้ ายและเป็ นสัญญาณของการสิน้ สุดละหมาด” (ดูใน
อัส-สัลสะบีล ฟี มะอฺริฟะฮฺ อัด-ดะลีล หน้ า 1/146, 148)

บทที่ 8 สิ่งที่เป็ นวาญิบในการละหมาด


มี 8 ประการ
1- การตักบีรทังหมดที
้ ่นอกเหนือจากตักบีเราะตุลอิหฺรอม
2- การกล่าวว่า สะมิอัลลอฮฺ ลิมัน หะมิดะฮฺ สาหรับอิมามและผู้ละหมาดคนเดียว
3- การกล่าวว่า ร็อบบะนา วะละกัล หัมดฺ สาหรับอิมาม มะอ์มมู และผู้ละหมาดคนเดียว
4- การกล่าว สุบหานะ ร็อบบิยัลอะซีม ในขณะที่รุกอู ฺ
5- การกล่าว สุบหานะ ร็อบบิยัลอะอฺลา ในขณะที่สญ ุ ดู
6- การกล่าว ร็อบบิฆฺฟิรลี ในการนัง่ ระหว่างสองสุญดู
7- การอ่านตะชะฮฺฮดุ ครัง้ แรก
8- การนัง่ เพื่อตะชะฮฺฮดุ ครัง้ แรก

ผู้ประพันธ์ได้ ดาเนินบทเรี ยนมากล่าวถึงสิ่งที่เป็ นวาญิบในละหมาด หลังจากที่ได้ นาเสนอรุก่นต่างๆ


ของการละหมาดไปแล้ ว ซึ่งการที่ได้ นาเสนอรุ ก่นต่างๆ ของการละหมาดก่อนสิ่งที่เป็ นวาญิ บในละหมาด
เพราะรุก่นต่างๆ นันมี้ ความสาคัญมากกว่าสิ่งที่เป็ นวาญิ บ กล่าวคือสิ่งที่เป็ นวาญิ บนันถ้
้ าหากได้ ละทิ ้งมัน
ด้ วยความหลงลืมก็ยงั มีข้อกาหนดให้ สญ ุ ดู สะฮฺวีชดใช้ แทนกันได้ แต่สาหรับรุก่นต่างๆ นัน้ ถ้ ามีการละทิ ้งมัน
ไม่วา่ จะเป็ นเพราะความหลงลืมหรื อความตังใจก็ ้ ตาม ก็จะทาให้ การละหมาดใช้ ไม่ได้
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  30 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ซึ่งสิ่งที่เป็ นวาญิบแรกของการละหมาด คือ การตักบีรทังหมดที ้ ่นอกเหนือจากตักบีเราะตุลอิหฺ
รอม เพราะ (การตักบีเราะตุลอิหฺรอม) เป็ นรุ ก่นหนึ่ง ดังที่ได้ นาเสนอก่อนหน้ านี แ้ ล้ ว เพราะมีรายงานจาก
ท่านอิบนุ มัสอูดว่า
ُ ُ ُ َ ُ ََ ََ ََ ُ َ َ َ ُ َُ َ َ
»‫ َو َوضع َوقيَام َوق ُعود‬،‫ب يف ك َرفع‬ ‫«َكن رسول اّلل صىل اهلل عليه وسلم يك‬
ความว่า “ฉันได้ เห็นท่านเราะสูลลุ ลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ตักบีรในทุกการเงยขึ ้น, การก้ มลง, การ
ยืนขึ ้น และการนัง่ ” (อัต-ติรมิซีย์ 253, อัน-นะสาอีย์ 1319)

สิ่งที่เป็ นวาญิบที่สอง การกล่าวว่า สะมิอัลลอฮฺ ลิมัน หะมิดะฮฺ สาหรับอิมามและผู้ละหมาดคน


เดียว เพราะมีหะดีษที่รายงานโดยท่านอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ เล่าว่า
َ ُ َُ َُ ُ َ َ َ
ُ َ ‫ « َسم َع‬:‫ول‬ َ ُ َُ ُ َُ َ َ ُ َ َ َ َ َ َ ََ ََ َ َ ُ َ َ َ ُ َُ َ َ
»‫اّلل ل َمن َح َد ُه‬ ُ ‫ك‬
‫ ثم يق‬،‫ب حني يركع‬ ‫ ثم ي‬،‫ب حني يقوم‬ ُ ‫ك‬ ‫َكن رسول اّلل صىل اهلل عليه وسلم إذا قام إل الصالة ي‬
َ َ َ ُ ُ َُ ُ َ ‫ني يَر َف ُع ُصلبَ ُه م َن‬
»‫ « َر َبنَا َولك الَم ُد‬:‫ ث َم يقول َوه َو قائم‬،‫الرك َعة‬ َ ‫ح‬

ความว่า “เมื่ อท่านเราะสูลุล ลอฮฺ ศ็อลลัล ลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม ละหมาด ท่านจะกล่าวตักบีรขณะที่ ยืน
หลังจากนันจะกล่
้ าวตักบีรขณะที่รุกูอฺ แล้ วท่านจะกล่าว สะมิอัลลอฮฺ ลิมันหะมิดะฮฺ ขณะที่เงยขึ ้นมาจากรุ
กูอฺ หลังจากนันท่
้ านก็จะกล่าวขณะยืนตรงว่า ร็อบบะนา วะละกัลหัมดุ” (อัล-บุคอรี ย์ 770, มุสลิม 392)

สิ่ งที่ เป็ นวาญิ บ ที่ ส าม การกล่าวว่า ร็อ บบะนา วะละกั ล หั ม ดฺ ส าหรับ อิม าม มะอ์ มูม และผู้
ละหมาดคนเดียว ดังที่ได้ นาเสนอแล้ ว
สิ่งที่เป็ นวาญิบที่สีและห้ า การกล่าว สุบหานะ ร็อบบิยัลอะซีม ในขณะที่รุกูอฺ และการกล่าว สุบ
หานะ ร็อบบิยัลอะอฺลา ในขณะที่สุญูด เพียงครัง้ เดียว เพราะมี หะดีษที่รายงานโดยท่านหุซยั ฟะฮฺ เล่าว่า
“ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวในรุกอู ฺว่า สุบหานะ ร็อบบิยัลอะซีม และท่านนบีได้ กล่าวใน
สุญดู ว่า สุบหานะ ร็อบบิยัลอะอฺลา” (มุสลิม 772, อัต-ติรมิซีย์ 262)

สิ่งที่เป็ นวาญิบที่หก การกล่าว ร็อบบิฆฟฺ ริ ลี ในการนัง่ ระหว่างสองสุญดู เพราะมีหะดีษที่รายงานโดย


ท่านหุซยั ฟะฮฺ ว่า ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวในระหว่างสองสุญดู ว่า “ร็อบบิฆฟฺ ริ ลี ร็อบบิฆฺ
ฟิรลี” (อัน-นะสาอีย์ 1145, อิบนุ มาญะฮฺ 897)

สิ่งที่เป็ นวาญิบที่เจ็ด การอ่านตะชะฮฺฮดุ ครัง้ แรก เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าว


ว่า
ََ ُ َ ُ َ َ َ
‫ّسى ث َم تش َهد‬
َ َ ‫الص َالة فَاط َم‬
‫ َوافَتش فخذك الي‬،‫ئ‬ َ ‫ّس م َن ال ُقرآن فَإ َذا َجلَس‬
َ ‫ت يف َو َسط‬ َ َ َ َ َ
َ َ َ‫كب ُث َم اق َرأ َما تَي‬ َ ‫«إ َذا أَن‬
َ ‫ت ُقم‬
‫ ف‬،‫ت يف صالتك‬
»
ความว่า “เมื่อท่านยืนขึ ้นเพื่อละหมาดแล้ ว ก็จงกล่าวตักบีร (อัลลอฮฺอกั บัรฺ) หลังจากนันก็ ้ จงอ่านสิ่งที่ท่าน
สามารถอ่านได้ จากอัลกุรอาน ซึ่งเมื่อท่านได้ นงั่ ในระหว่างละหมาด ก็จงให้ มีฏุมะอ์นีนะฮฺ (สงบนิ่ง) และให้
นัง่ บนขาข้ างซ้ ายของท่าน แล้ วให้ อา่ นตะชะฮฺฮดุ ” (อัต-ติรมิซีย์ 302, อัน-นะสาอีย์ 1136, อบู ดาวูด 856)
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  31 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
สิ่งที่เป็ นวาญิบที่แปด การนัง่ เพื่อตะชะฮฺฮดุ ครัง้ แรก เพราะมีหะดีษที่รายงานโดยท่านอิบนุมสั อูด
ซึง่ เป็ นหะดีษมัรฟูอฺวา่
َ ُ َ :‫ َف ُقولُوا‬،‫«إ َذا َق َعد َُم يف ُك َرك َعتَني‬
»‫اتلح َيات ّلل‬
ความว่า “เมื่อพวกท่านได้ นงั่ ในทุกสองร็อกอะฮฺ ก็ให้ กล่าวว่า อัตตะหิยาตุลิลลาฮฺ...” (อัต-ติรมิซีย์ 289, อัน-
นะสาอีย์ 1163)

และเช่นเดียวกัน ในครัง้ ที่ ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ ลืม อ่านตะชะฮฺฮุดครัง้ แรกใน


ละหมาดซุฮริ ท่านก็ได้ สุญูดสองครัง้ ก่อนที่จะให้ สลาม เพื่อชดเชยการที่ท่านลืมนัง่ ตะชะฮฺฮุดนัน้ (ดูใน มะ
นารฺ อัส-สะบีล หน้ า 1/97-89)

บทที่ 9 การตะชะฮฺฮุด
การอ่านตะชะฮฺฮดุ “อัตตะหิยาต” นันคื
้ อ
َ َ ََ َ َ َ َ ُ َ ُ ُ ََََ َُ ََ ‫َ َ ََ ُ َ َ َ ُ َ ُ َ َ َ َيَ َ ي‬ ُ
‫ أش َه ُد‬،‫ني‬ َ ‫ىلع عبَاد اهلل‬
‫الصالـح‬ ‫ و‬،‫ السالم علينا‬،‫ـمة اهلل وبرَكتـه‬ ‫ السالم عليك أيها انلب ورح‬،‫ والطيبات‬،‫ والصلوات‬،‫اتلح َيات هلل‬ َ «
َ َ َ ََ َ َ َ َ َ َ َ ُ َ ََ َ َ َُ ُ ُ ُ َ َ ُ ُ َ ً َ َ ُ َ َ ُ َ ََ
َ ‫ىلع ُم‬ َ َ َ َ
‫ َو َىلع آل‬،‫يم‬‫ كما صليت ىلع إبراه‬،‫ َو َىلع آل مـحـمد‬،‫ـمد‬ َ ‫ـح‬ ‫ وأشهد أن مـحـمدا عبده ورسولـه اللهـم صل‬،‫أن ل إلـه إل اهلل‬
َ َ َ َ َ َ َ ََ َ َ َ َ َ َ َ ُ َ ََ َ َ َ َ
»‫ إنك َحـميد َمـجيد‬،‫يم‬ ‫ َو َىلع آل إبراه‬،‫يم‬‫ كما باركت ىلع إبراه‬،‫ َو َىلع آل مـحـمد‬،‫ـمد‬ َ ‫ىلع ُم‬
َ ‫ـح‬ ‫ َو َبارك‬،‫ إنك َحـميد َمـجيد‬،‫يم‬‫إبراه‬
ความว่า“ มวลการสดุดีทงหลายมอบแด่
ั้ อลั ลอฮฺ รวมทังการสรรเสริ
้ ญด้ วยพรและความดีงามต่างๆ ขอความ
สันติสขุ จงประสบแด่ทา่ นโอ้ ผ้ เู ป็ นนบี รวมทังเมตตาแห่
้ งอัลลอฮฺและความประเสริฐทังหลายของพระองค์
้ ขอ
ความสันติสขุ จงประสบแด่เราและแด่บรรดาบ่าวผู้ท รงคุณธรรมทังหลาย ้ ข้ าขอปฏิญาณว่าไม่มีพระเจ้ าอื่น
ใดนอกจากอัลลอฮฺ และข้ าขอปฏิญาณว่ามุหมั มัดนันเป็ ้ นบ่าวและศาสนทูตของพระองค์ โอ้ อลั ลอฮฺ ขอทรง
ประทานความจาเริญแด่มหุ มั มัดและครอบครัวของมุหมั มัด เช่นที่พระองค์ประทานความจาเริญแด่อิบรอฮีม
และครอบครัวของอิบรอฮีม แท้ จริ งพระองค์นนั ้ ทรงยิ่งด้ วยการสรรเสริ ญ และบารมี อันสูงส่ง และขอทรง
ประทานความประเสริ ฐ แด่ มุหัม มัด และครอบครัวของมุหัม มัด เช่น ที่ พ ระองค์ป ระทานความประเสริ ฐ
แด่อิบรอฮีมและครอบครัวของอิบรอฮีม แท้ จริงพระองค์นนทรงยิ ั้ ่งด้ วยการสรรเสริญและบารมีอนั สูงส่ง”
หลัง จากนัน้ ให้ ข อความคุ้ม ครองต่อ อัล ลอฮฺ ในตะชะฮฺ ฮุสุด ท้ า ยให้ รอดพ้ นจากการลงโทษใน
นรกญะฮันนัม และจากการลงโทษในหลุมฝั งศพ และจากฟิ ตนะฮฺในขณะมีชีวิตและขณะที่เสียชีวิต และจาก
ฟิ ตนะฮฺของอัล-มะสีหฺ อัด-ดัจญาล หลังจากนัน้ ให้ เลือกอ่านดุอาอ์ตามที่ต้องการ โดยเฉพาะบทดุอาอ์ ที่มี
รายงานจากท่านนบี เช่น
َ َ ُ َ َ َ
.»‫«الل ُه َم أعن َىلع ذكر َك َوشكر َك َو ُحسن عبَادتك‬
ความว่า “โอ้ อลั ลอฮฺ ได้ โปรดช่วยเหลือฉัน ให้ ได้ ราลึกถึงพระองค์ และได้ แสดงถึงการขอบคุณต่อพระองค์
และทาอิบาดะฮฺแด่พระองค์อย่างงดงาม”

ُ ‫الرح‬
.»‫يم‬ َ ‫ور‬ َ ‫ك أَن‬
ُ ‫ت ال َغ ُف‬ َ َ ً َ َ َ َ َ ُ‫ً َ ً ََ َ ُ ي‬
‫ َوار َحـمن إن‬،‫ت فاغفر ل َمغف َرة من عند َك‬
ُ َ ُ َ َ
‫ت نفس ظلـما كثيا ول يـغفر اذلنوب إل أن‬ َ ‫«اللَ ُه‬
‫ـم إّن ظلـم‬
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  32 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ความว่า “โอ้ อลั ลอฮฺ แท้ จริ งฉันได้ อธรรมต่อตัวเองซึ่งเป็ นการอธรรมอย่างมากมาย และไม่มีผ้ ใู ดที่จะอภัย
โทษทังหลายได้
้ นอกจากพระองค์เท่านัน้ ดังนัน้ ได้ โปรดอภัยให้ ฉันด้ วยการอภัยจากพระองค์ด้วยเถิด ได้
โปรดเมตตาฉัน แท้ จริงแล้ วพระองค์นนเป็ ั ้ นผู้ที่ทรงอภัยและทรงเมตตายิ่ง”
และมี ร ายงานจากท่ า นอับ ดุล ลอฮฺ บิ น มัส อูด เราะฎิ ยัล ลอฮุอัน ฮุ เล่ า ว่ า ท่ า น เราะสู ลุล ลอฮฺ
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ หนั มายังพวกเรา แล้ วท่านก็กล่าวว่า
َ َ ُ َ ُ ُ ََََ َُ َ َ ‫َ َ ََ ُ َ َ َ ُ َ ُ َ َ َ َيَ َ ي‬ ُ ُ ُ َ َ َ َ َ
َ :‫كم فَليَ ُقل‬
‫ َو َىلع‬،‫الم َعلينَا‬ ‫ الس‬،‫ـمة اهلل وبرَكتـه‬ ‫ السالم عليك أيها انلب ورح‬،‫ والطيبات‬،‫ والصلوات‬،‫اتلح َيات هلل‬ ‫«إذا صىل أحد‬
ُ َ َ َ ََُ َ َ ‫َ ي‬ َ َ ََ َ ُ ُ ُ ُ َ َ ُ ُ َ ً َ َ ُ َ َ ُ َ ََ َ َ َ َ ُ َ َ َ َ ‫عبَاد اهلل‬
»‫ وأشهد أن مـحـمدا عبده ورسولـه ثم لتخي أمن ادلَعء أعجبه إله فيدعو‬،‫ أشهد أن ل إلـه إل اهلل‬،‫الصالـحني‬
ความว่า “เมื่อคนหนึ่งคนใดในหมู่พวกท่านละหมาด ก็จงกล่าวว่า มวลการสดุดีทงั ้ หลายมอบแด่อลั ลอฮฺ
รวมทังการสรรเสริ
้ ญ ด้ วยพรและความดีงามต่างๆ ขอความสันติสุขจงประสบแด่ท่านโอ้ ผ้ เู ป็ นนบี รวมทัง้
เมตตาแห่งอัลลอฮฺและความประเสริ ฐทังหลายของพระองค์
้ ขอความสันติสขุ จงประสบแด่เราและแด่บรรดา
บ่าวผู้ทรงคุณ ธรรมทังหลาย
้ ข้ าขอปฏิญ าณว่าไม่มีพระเจ้ าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺ และข้ าขอปฏิญาณว่า
มุหมั มัดนันเป็
้ นบ่าวและศาสนทูตของพระองค์ หลังจากนันให้ ้ เลือกดุอาอ์ที่เขาชื่นชอบแล้ วให้ ขอมัน ” (อัล-บุ
คอรี ย์ 5876, มุสลิม 402)

ซึ่งหะดีษที่รายงานโดยท่านอิบนุมสั อูดนันเป็
้ นหะดีษที่ถกู ต้ องที่สุดที่มีการรายงานเกี่ยวกับสานวน
การอ่านตะชะฮฺฮดุ
และมีรายงานจากท่านอบู มัสอูด อัล-บัดรี ย์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ เล่าว่า ท่านบะชีรฺ บิน สะอฺด์ ได้
กล่าวว่า
َ َُ َ َُ َ َ ُ ُ َ َ ُ َ َ َ َ َ َ َ َ ُ َ َ َ َ َ َ َ َُ ََ ََ َ َ ُ َ َ
‫ ك َما‬،‫ َو َىلع آل حم َمد‬،‫ الل ُه َم َصل َىلع حم َمد‬:‫ " قولوا‬:‫ت ث َم قال‬ ‫ّل عليك فكيف نصل عليك؟ فسك‬ َ ‫اّلل أن نُ َص‬ ‫«يا رسول اّلل أمرنا‬
ََ ُ َ َ َ َ َ َ َ َ َ َ َ
َ ‫ت َىلع آل إب َراه‬ َ َ ُ َ َ ُ َ
َ َ‫ ك َما ب‬،‫ َو َىلع آل حم َمد‬،‫ َو َبارك َىلع حم َمد‬،‫يم‬
َ ‫ارك‬ ََ َ َ َ
َ ‫ىلع آل إب َراه‬
‫ والسالم كما‬،‫يم يف العالمني إنك َحيد َميد‬ ‫صليت‬
»‫َعلمتُم‬
ความว่า “โอ้ ท่านเราะสูลุลลอฮฺ อัลลอฮฺได้ สั่งใช้ เราให้ เศาะละวาตต่อท่าน แล้ วเราจะเศาะละวาตต่อท่าน
อย่างไร ? ท่านนบี จึงนิ่ ง เงี ย บ หลัง จากนัน้ ท่ านนบี จึง กล่า วว่า พวกท่านจงกล่า วว่า โอ้ อัล ลอฮฺ ขอทรง
ประทานความจาเริญแด่มหุ มั มัดและครอบครัวของมุหมั มัด เช่นที่พระองค์ประทานความจาเริญแด่อิบรอฮีม
และครอบครัวของอิบรอฮีม แท้ จริ งพระองค์นนั ้ ทรงยิ่งด้ วยการสรรเสริ ญ และบารมี อันสูงส่ง และขอทรง
ประทานความประเสริ ฐ แด่ มุหัม มัด และครอบครัวของมุหัม มัด เช่น ที่ พ ระองค์ป ระทานความประเสริ ฐ
แด่อิบรอฮีมและครอบครัวของอิบรอฮีม แท้ จริงพระองค์นนทรงยิ ั้ ่งด้ วยการสรรเสริญและบารมีอนั สูงส่ง ส่วน
การให้ สลามนันก็
้ เป็ นไปตามที่ได้ สอนพวกท่านแล้ ว” (มุสลิม 405, อัต-ติรมิซีย์ 3220, อัน-นะสาอีย์ 1285)

และมีรายงานจากท่านอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ เล่าว่า ท่านเราะสูลลุ ลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะ


ลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า
َ َ َ َ َ ُ َ ُ َُ َ َ َ ُ َ ََ َ
‫ َومن فتنَة ال َمحيَا‬،‫ َومن َعذاب القب‬،‫الله َم إ ّن أ ُعوذ بك من َعذاب َج َهن َم‬
ُ :‫ول‬ ‫«إ ذا تش َه َد أ َح ُد كم فليَستَعذ باهلل من أ ربع يق‬
»‫ادل َجال‬
َ ‫ َومن فتنَة ال َمسيح‬،‫َوال َم َمات‬
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  33 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ความว่า “เมื่อคนหนึ่งคนใดได้ กล่าวตะชะฮฺฮดุ แล้ ว ก็จงขอความคุ้มครองต่ออัลลอฮฺจาก 4 ประการนี ้ โดยให้
กล่าวว่า โอ้ อลั ลอฮฺแท้ จริง ฉันขอความคุ้มครองต่อพระองค์จากการลงโทษของนรกญะฮันนัม และจากการ
ลงโทษในหลุมฝั งศพ และจากฟิ ตนะฮฺในขณะมีชีวิตและขณะที่เสียชีวิต และจากฟิ ตนะฮฺของอัล -มะสีหฺ อัด-
ดัจญาล” (อัล-บุคอรี ย์ 1311, มุสลิม 588)

หะดีษบทนี ้เป็ นหลักฐานที่บง่ ชี ้ว่าศาสนาได้ กาหนดให้ ขอความคุ้มครองจากสิ่งเหล่านันในขณะที


้ ่ นงั่
อยูห่ ลังจากที่ได้ กล่าวเศาะละวาตต่อท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และก่อนให้ สลาม
และจากท่านอบู บักรฺ อัศ -ศิดดีก เราะฎิ ยัลลอฮุอันฮุ เล่าว่า ท่านได้ กล่าวแก่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ว่า
ً َ َ َ َ َ ُ‫ُ ً َ ً َ َ َ ُ ي‬ َ ُ َ َ َ ُ َ َ َ َ ُ
‫ فاغفر ل َمغف َرة من‬،‫ت‬ ‫ ول يغفر اذلنوب إل أن‬،‫ت نفس ظلما كثيا‬ ‫ الل ُه َم إّن ظلم‬:‫ " قل‬:‫ قال‬،‫« َعلمن د ََع ًء أد ُعو به يف َصالِت‬
َ َ َ َ َ
ُ ‫الغ ُف‬ َ
ُ ‫الرح‬
»‫يم‬ َ ‫ور‬ ‫ َوارَحن إنك أنت‬،‫عند َك‬
ความว่า “ได้ โปรดสอนดุอาอ์ ที่ฉันจะขอมันในการละหมาดของฉันเถิ ด ท่านนบี จึงกล่าวว่า จงกล่าวว่า
โอ้ อลั ลอฮฺ แท้ จริงฉันได้ อธรรมต่อตัวเองซึ่งเป็ นการอธรรมอย่างมากมาย และไม่มีผ้ ใู ดที่จะอภัยโทษทังหลาย

ได้ นอกจากพระองค์เท่านัน้ ดังนัน้ ได้ โปรดอภัยให้ ฉันด้ วยการอภัยจากพระองค์ด้วยเถิด ได้ โปรดเมตตาฉัน
แท้ จริงแล้ วพระองค์นนเป็ั ้ นผู้ที่ทรงอภัยและทรงเมตตายิ่ง” (อัล-บุคอรี ย์ 799, มุสลิม 2705)
ส่วนหะดีษบทนี ้เป็ นหลักฐานที่บง่ ชี ้ว่าศาสนาได้ กาหนดให้ ขอดุอาอ์ในละหมาดได้ ตลอด ซึ่งหนึ่งใน
ช่วงเวลาที่ให้ ขอก็คือ หลังจากที่อ่านตะชะฮฺฮุด อ่านเศาะละวาตต่อท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
และขอความคุ้มครองต่ออัลลอฮฺให้ พ้นจาก 4 ประการนันเสร็ ้ จแล้ ว จึงขอดุอาอ์อื่นๆ ต่อ เพราะท่านนบีได้
กล่าวในหะดีษของอิบนุ มัสอูดว่า
َ َ ُ َ َ َ ‫ُ َ ََ َ َ َ ي‬
» ‫جبَه إله فيَد ُعو‬‫« ثم لتخي من ادلَعء أع‬
ความว่า “หลังจากนันให้
้ เลือกดุอาอ์ที่เขาชื่นชอบที่สุด แล้ วให้ ขออุอาอ์กับมัน” (อัล-บุคอรี ย์ 5876, มุสลิม
402)
และเนื ้อหาของหะดีษเป็ นหลักฐานที่อนุญาตให้ ขอดุอาอ์ในละหมาด ด้ วยสานวนที่มีรายงานจาก
ท่านนบี หรื อสานวนที่อาจจะไม่มีในรายงานก็ได้ ตราบใดที่มนั ไม่ได้ เป็ นสานวนที่ศาสนาได้ ห้ามไว้ และใน
บางสานวนหะดีษได้ กล่าวว่า
َ
َ ‫خ َي م َن ال َمسألَة َما َش‬
» ‫اء‬
َ ََ َ ُ
‫«ث م ل ت‬
ความว่า “หลังจากนันให้
้ เลือกขอดุอาอ์ตามที่ต้องการ” (มุสลิม 402, อัน-นะสาอีย์ 1298 และดูในอัล-มัจญ์
มูอะฮฺ อัล-ญะลีละฮฺ หน้ า 79-80)

บทที่ 10 สิ่งที่เป็ นสุนัตต่ างๆ ในละหมาด

การดุอาอ์อิสติฟตาหฺ การวางมือขวาทับบนมือซ้ ายบนหน้ าอกในขณะที่ยืน การยกมือทังสองโดยให้ ้


นิ ้วทังหมดอยู
้ ่ระหว่างบ่าหรื อหูในขณะที่กล่าวตักบีรฺ แรก, ในขณะที่รุกอู ฺ, ในขณะที่เงยจากรุกอู ฺ, และในขณะ
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  34 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ที่ ยืนขึน้ มาจากการอ่านตะชะฮฺ ฮุดแรกเพื่ อขึน้ มาร็ อกอะฮฺ ที่สาม การอ่านดุอ าอ์ ตัส บีหฺ ในรุ กูอฺและสุญู ด
มากกว่าหนึ่งครัง้ การอ่านดุอาอ์หลังจากเงยขึ ้นจากรุกอู ฺอื่นจาก ร็อบบะนา วะละกัลหัมดุ การอ่านดุอาอ์ขอ
อภัยโทษในขณะนัง่ ระหว่างสองสุญดู มากกว่าหนึง่ ครัง้ การทาให้ ศีรษะเสมอกับหลังในขณะรุกอู ฺ การยกแขน
ทังสองห่
้ างจากลาตัว และให้ ท้องห่างจากขาทังสองในสุ้ ญูด การยกข้ อศอกทังสองให้
้ อยู่เหนือพืน้ ขณะที่
สุญูด การที่คนละหมาดนัง่ บนเท้ าซ้ ายและปลายเท้ าขวายันพืน้ ในตะชะฮฺฮุดแรกและการนัง่ ระหว่างสอง
สุญดู การนัง่ แบบตะวัรฺรุก (ให้ แผ่เท้ าซ้ ายราบพื ้นยื่นออกมาทางขวา ลอดใต้ ขาและน่องขวา แล้ วนัง่ บนพื ้น)
ในตะชะฮฺฮดุ สุดท้ ายพร้ อมกับให้ ปลายเท้ าขวายันพื ้น การกล่าวเศาะละวาตและความบะเราะกัตแด่ท่านนบี
มุหมั มัด และวงศ์วานของท่าน รวมถึงแด่ท่านนบีอิบรอฮีมและวงศ์วานของท่านในตะชะฮฺฮดุ แรก การอ่านดุ
อาอ์ ในตะชะฮฺฮุดสุดท้ าย การอ่านด้ วยเสียงดังในละหมาดฟั จญ์ รฺ/ศุบห์ และในสองร็ อกอะฮฺแรกของการ
ละหมาดมัฆฺริบและอิชาอ์ การอ่านด้ วยเสียงค่อยในละหมาดซุฮฺริและอัศริ และในร็ อกอะฮฺที่สามของการ
ละหมาดมัฆฺริบ และในสองร็ อกอะฮฺสดุ ท้ ายของการละหมาดอิชาอ์ การอ่านสูเราะฮฺอื่นจากสู เราะฮฺอลั -ฟาติ
หะฮฺ พร้ อมกับการเอาใจใส่ในสิ่งที่เป็ นสุนตั ต่างๆ ในละหมาดนอกเหนือจากที่เราได้ นาเสนอ
สิ่งที่เป็ นสุนตั ต่างๆ ในละหมาดแบ่งออกเป็ นสองประเภท
หนึ่ง สิ่งที่เป็ นสุนตั สาหรับคากล่าวต่างๆ
สอง สิ่งที่เป็ นสุนตั สาหรับการกระทาต่างๆ
ซึ่งผู้ประพันธ์ ได้ ระบุในต้ นฉบับ (มะตัน) ไว้ ว่า สิ่งที่เป็ นสุนัตต่างๆ นันไม่
้ จาเป็ นที่คนละหมาดต้ อง
กระทามัน แต่หากเขาได้ กระทามันทังหมดหรื ้ อทาเพียงบางส่วน เขาก็จะได้ รับผลบุญ แต่ใครก็ตามที่ละทิ ้ง
มันทัง้ หมดหรื อละทิง้ เพี ยงบางส่วน เขาก็จะไม่มีปัญ หาใดๆ เฉกเช่นสิ่ง ที่ สุนัตอื่นๆ อย่างไรก็ตามสมควร
อย่างยิ่งที่มสุ ลิมต้ องกระทามัน และให้ ราลึกถึงคาพูดของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ที่วา่
َ ‫ َع يضوا َعلَي َها ب‬،‫ني‬
»‫انل َواجذ‬ َ ‫ين ال َمهدي‬ َ ‫ َو ُس َنة الُلَ َفاء‬،‫كم ب ُسنَت‬
َ ‫الراشد‬ ُ ََ
‫«علي‬
ความว่า “พวกท่านจงยึดมัน่ กับสุนนะฮฺของฉัน และสุนนะฮฺของบรรดาคุละฟาอ์รอชิดีนที่อยู่ในทางนา ท่าน
ทังหลายจงยึ
้ ดแนวทางนันให้
้ มนั่ คงเถิด” (อัต-ติรมิซีย์ 2676, อิบนุ มาญะฮฺ 44)
วัลลอฮุอะอฺลมั อัลลอฮฺ ตะอาลา ทรงรู้ดียิ่ง

บทที่ 11 สิ่งที่ทาให้ การละหมาดใช้ ไม่ ได้


มี 8 ประการ
1- การพูดโดยเจตนา พร้ อมกับรู้ตวั และรู้เรื่ อง ส่วนคนที่หลงลืมหรือไม่ร้ ูเรื่องนันการละหมาดของเขา

จะไม่เสีย
2- การหัวเราะ
3- การกิน
4- การดื่ม
5- การเปิ ดเผยเอาเราะฮฺ
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  35 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
6- การหันไปยังทิศอื่นจากกิบละฮฺมากจนเกินไป
7- การเคลื่อนไหวโยกย้ ายในละหมาดมากจนเกินไป
8- การเสียน ้าละหมาด
หลังจากที่ผ้ ปู ระพันธ์ ได้ นาเสนอเงื่อนไขและรุก่นของการละหมาด รวมถึงสิ่งที่เป็ นวาญิ บและสิ่งที่
เป็ นสุนตั ต่างๆ ของการละหมาดทังเป็ ้ นคากล่าวและการกระทา ท่านก็ได้ กล่าวถึงสิ่งที่ทาให้ การละหมาดใช้
ไม่ได้ ทังนี
้ ้เพื่อให้ มสุ ลิมได้ ระมัดระวังจากการทาให้ การละหมาดของเขาใช้ ไม่ได้ ด้ วยการทาสิ่งหนึ่งใดที่เป็ น
สิ่งที่ทาให้ การละหมาดใช้ ไม่ได้ ทงั ้ 8 ประการ ดังต่อไปนี ้
หนึ่ง การพูดโดยเจตนา พร้ อมกับรู้ตวั และรู้เรื่ อง ส่วนคนที่หลงลืมหรื อไม่ร้ ูเรื่ องนันการละหมาดของ

เขาจะไม่เสีย เพราะมีรายงานจากท่านซัยดฺ บิน อัล-อัรก็อม ไว้ วา่
ََ ُ ُ ‫ي‬ َ َُ
»‫ َونهينَا َعن اللَكم‬،‫السكوت‬‫«فأمرنا ب‬
ความว่า “ซึ่งพวกเราถูกสัง่ ให้ นิ่งเงียบ และถูกสัง่ ห้ ามไม่ให้ พูด ” (บันทึกโดยอัล -บุคอรี ย์และมุสลิม และอื่น
จากทังสอง)

สอง การหัวเราะ ท่านอิบนุ อัล -มุนซิร ได้ กล่าวว่า “บรรดานักวิชาการมีมติเอกฉันท์ว่าการหัวเราะ
นันท ้ าให้ การละหมาดเสีย”
สาม และ สี่ การกินและการดื่ม ท่านอิบนุ อัล -มุนซิรฺ ได้ กล่าวว่า “บรรดานักวิชาการที่สันทัดใน
เรื่ องนี ้มีมติเอกฉันท์วา่ คนที่กินหรื อดื่มในละหมาดฟั รฎโดยเจตนานั
ู น้ จาเป็ นที่เขาต้ องละหมาดใหม่”
ห้ า การเปิ ดเผยเอาเราะฮฺ เพราะหนึ่งในเงื่อนไขของการละหมาดคือการปกปิ ดเอาเราะฮฺ ดังนัน้ ถ้ า
ไม่ปฏิบตั ติ ามเงื่อนไขนี ้การละหมาดก็จะใช้ ไม่ได้
หก การหันไปยังทิศอื่นจากกิบละฮฺมากจนเกินไป เพราะหนึง่ ในเงื่อนไขของการละหมาดคือ การหัน
หน้ าไปยังทิศกิบละฮฺ ดังที่ได้ นาเสนอมาแล้ ว
เจ็ด การเคลื่อนไหวโยกย้ ายในละหมาดมากจนเกินไป ซึ่งการเคลื่อนไหวโยกย้ ายในละหมาดมาก
จนเกินไปนันจะท ้ าให้ การละหมาดเสีย โดยเป็ นมติเอกฉันท์ของบรรดานักวิชาการ และในหนังสือ “อัล-กาฟี ”
ได้ ระบุไว้ ว่า “ในกรณี ที่เคลื่อนไหวเพียงเล็กน้ อยนัน้ ไม่ เป็ นเหตุให้ การละหมาดใช้ ไม่ได้ เนื่องจากท่านนบี
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยอุ้มอุมามะฮฺในละหมาด ซึ่งเมื่อท่านยืนท่านก็จะอุ้มเธอ และเมื่อท่านลง
สุญดู ท่านก็จะวางเธอลง และท่านนบีเคยก้ าวเท้ าไปข้ างหน้ าและถอยหลังในละหมาดกุสฟู ”
แปด การเสียนา้ ละหมาด เพราะมันเป็ นเงื่อนไขที่จ ะทาให้ การละหมาดใช้ ได้ ดังนัน้ เมื่ อเสี ยนา้
ละหมาด การละหมาดก็จะเสียไปด้ วย
วัลลอฮุอะอฺลมั อัลลอฮฺเท่านันที ้ ่ร้ ูดียิ่ง

บทที่ 12 เงื่อนไขวุฎูอ์

เงื่อนไขวุฎอ์ู หรื อน ้าละหมาดมี 10 ประการ คือ


อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  36 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
1- อิสลาม
2- สติปัญญา
3- ตัมยีซ(อยูใ่ นวัยที่สามารถแยกแยะได้ แล้ ว)
4- เนียต
5- การระลึกหรื อรู้ตวั ว่าทาวุฎอ์ู อยู่ตงแต่ ั ้ ต้นจนจบ โดยที่ไม่ตงเจตนาเพืั้ ่อให้ การอาบน ้าวุฏอนัู นขาด

ตอนช่วงใดช่วงหนึง่
6- การหยุดหรื อสิ ้นสุดของมูลเหตุที่ต้องให้ ทาวุฎอ์ู
7- และการอิสตินญาอ์ (การใช้ น ้าล้ างนะญิ ส) หรื อ อิสติจญ์ มารฺ (การใช้ ของแข็ง เช่น หิน ใบไม้
กระดาษ ชาระนะญิส) ก่อนอาบน ้าวุฎอ์ู
8- น ้าต้ องสะอาดและอนุญาตให้ ใช้ อาบน ้าวุฎอ์ู
9- ชาระล้ างสิ่งที่กีดกันไม่ให้ น ้าสัมผัสถึงผิวหนังได้
10- และการเข้ าเวลาละหมาดสาหรับผู้ที่มีหะดัษฺบอ่ ยๆ สม่าเสมอ
เงื่อนไขของวุฎอ์ู อิสลาม มีสติ มีความสามารถในการแยกแยะ(สาหรับเด็ก) เนียต ดังนัน้ วุฎอ์ู ของผู้
เป็ นกาฟิ รฺ(ผู้ปฏิเสธ)ถือว่าเป็ นโมฆะ เพราะวุฎอ์ู จะไม่ถกู ตอบรับจนกว่าเขาจะรับอิสลาม เช่นเดียวกัน กับคน
บ้ าเพราะเขาไม่ได้ เป็ นมุกัลลัฟ และเด็กน้ อยที่ไม่สามารถแยกแยะเป็ น และผู้ที่ไม่ได้ เนียตว่าจะอาบน ้าวุฎูอ์
ประมาณว่าเขาเนียตเพื่อทาให้ ตวั เย็น หรื อเพื่อชาระล้ างสิ่งสกปรกที่ตดิ ตัวแทน
และหนึง่ ในเงื่อนไขสาหรับการทาวุฎอ์ู คือ น ้าต้ องสะอาด หากน ้าสกปรกไม่สามารถทาวุฎอ์ู ได้ และ
น ้าดังกล่าวจะต้ องเป็ นน ้าที่ได้ รับอนุญาตให้ ทาวุฎูอ์ได้ หากเป็ นน ้าที่ขโมยหรื อได้ รับมาโดยวิธีที่ผิดหลักการ
เช่นนี ้การทาวุฎอ์ู ด้วยน ้าดังกล่าวเป็ นโมฆะ และเช่นเดียวกันกับการอิสตินญาอ์หรื ออิสติจญ์ มารฺ หลังจากทา
ภาระกิจส่วนตัว และจะต้ องชาระสิ่งที่เป็ นตัวขวางไม่ให้ น ้าสัมผัสผิวออกไป ดังนัน้ จาเป็ นอย่างยิ่งสาหรับผู้ที่
จะท าวุ ฎู อ์ ต้ องช าระสิ่ ง ต่ า งๆ ที่ ติ ด กั บ วอัย วะส่ ว นที่ จ ะท าวุ ฎู อ์ ใ ห้ สะอาดไม่ ว่ า จะเป็ น ดิ น แป้ ง ขี ผ้ ึ ง้
เครื่ องสาอางที่ใช้ แต้ มผิว เพื่อให้ น ้าได้ สมั ผัสกับผิวของอวัยวะส่วนที่ต้องทาวุฎูอ์โดยตรงไม่มีสิ่งกีดขวาง (ดู
ใน อัล-มุลคั ค็อศ อัล-ฟิ กฮีย์ เล่ม 1 หน้ า 31)
เช่นเดียวกันกับเงื่อนไขการเข้ าเวลาละหมาดสาหรับผู้ที่มีหะดัษบ่อยอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากท่านนบี
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ สงั่ ใช้ ให้ ผ้ หู ญิงที่มีเลือดอิสติฮาเฎาะฮฺ ให้ นางทาวุฎูอ์ทุกครัง้ ที่จะละหมาด
วัลลอฮุอะอฺลมั

บทที่ 13 ฟั รฎูของวุฎูอ์
มี 6 ประการ คือ
1- ล้ างใบหน้ า รวมถึงการบ้ วนปากและน ้าเข้ าจมูกแล้ วขับออก
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  37 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
2- ล้ างมือจนถึงข้ อศอก
3- เช็ดศีรษะทังหมด
้ รวมถึงหูทงสองข้
ั้ าง
4- ล้ างเท้ าจนถึงตาตุม่
5- เรี ยงลาดับ
6- อัล-มุวาลาต(การทาต่อเนื่องไม่ขาดตอน)
เกี่ยวกับฟั รฎการท
ู าวุฎอ์ู นนั ้ อัลลอฮฺ สุบฮานะฮุวะตะอาลา ตรัสว่า
َ ُ َ َ ُ ُ َ ۡ َ َ ۡ ُ َ ُ ُ ُ ۡ َ ِ َٰ َ ‫ذ‬ َ َ
ُ ‫ك ۡم إ َل ٱل ۡ َم َرا فِق َوٱ ۡم َس‬
‫حوا ب ِ ُر ُء وسِك ۡم َوأ ۡر ُجلك ۡم إِل‬
َ ُ َ َ ‫يأ ُّي َها ٱ ذ َِّل‬
‫ين َء َام ُن ٓوا إِذا ق ۡم ُت ۡم إِ ل ٱلصلوة فٱ غسِلوا وجوهكم وأيدِي‬ َٰٓ ﴿
ِ ِ
َۡۡ َ ۡ
]٨ :‫ ﴾ [املائدة‬٦ ِۚ‫ي‬ ِ ‫ٱلكعب‬
ความว่า “ผู้ศรัทธาทังหลาย!
้ เมื่อพวกเจ้ ายืนขึ ้นจะไปละหมาด ก็จงล้ างหน้ าของพวกเจ้ า และมือของพวก
เจ้ าถึงข้ อศอก และจงลูบศีรษะของพวกเจ้ า และล้ างเท้ าของพวกเจ้ าถึงตาตุม่ ทังสอง”
้ (อัล-มาอิดะฮฺ 6)

หนึ่ง ล้ างใบหน้ า ปากและจมูก อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า


ُ َ ُ ۡ َ
]٨ :‫ ﴾ [املائدة‬٦ ‫﴿ فٱغسِلوا ُو ُجوهك ۡم‬
ความว่า “ก็จงล้ างหน้ าของพวกเจ้ า” (อัล-มาอิดะฮฺ 6)

ส่วนหลักฐานที่บง่ บอกว่าจาเป็ นที่จะต้ องบ้ วนปากและอิสตินชาก(น ้าเข้ าจมูก)นัน้ เพราะทังสองเป็


้ น
ส่วนหนึ่งของใบหน้ า และรายงานทัง้ หมดที่ พูดถึง เรื่ องราวการทาวุฎูอ์ ของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะสัลลัม นัน้ ล้ วนแล้ วกล่าวถึงการบ้ วนปากและอิสตินชาก(น ้าเข้ าจมูกแล้ วขับออก) โดยมี หะดีษที่รายงาน
โดย อบู ฮุร็อยเราะฮฺ จากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า
ُ ُ ً َ َ َ ُ َ َ َ َ َ
»‫اء ث َم لَنث ُه‬‫«إذا ت َوضأ أ َح ُدكم فليَج َعل يف أنفه م‬
ความว่า “เมื่ อคนหนึ่งในหมู่พ วกท่านทาวุฎูอ์ ให้ เขาทาให้ นา้ เข้ าไปในจมูกของเขาหลังจากนัน้ ให้ พ้ นมัน
ออกมา” (บันทึกโดยมุสลิม, อัน-นะสาอีย์, อบู ดาวูด และอิมามอะห์มดั )

สอง ล้ างสองมือ อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า


ۡ َ ُ َ
]٨ :‫ ﴾ [املائدة‬٦ ‫﴿ َوأيۡدِيَك ۡم إِل ٱل َم َراف ِِق‬
ความว่า “และมือของพวกเจ้ าถึงข้ อศอก” (อัล-มาอิดะฮฺ 6)

หมายความว่า รวมไปถึงข้ อศอก ดังนันจ ้ าเป็ นที่จะต้ องล้ างข้ อศอกด้ วย เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอ
ฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ท่านได้ ทาการล้ างข้ อศอกของท่านในการทาวุฎอ์ู

สาม เช็ดศีรษะทังหมดรวมถึ
้ งหูทงสองข้
ั้ าง อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า

ُ ُ ‫﴿ َوٱ ۡم َس‬
]٨ :‫ ﴾ [املائدة‬٦ ‫حوا ب ِ ُر ُءوسِك ۡم‬
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  38 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ความว่า “และจงลูบศีรษะของพวกเจ้ า” (อัล-มาอิดะฮฺ 6)

และท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า


ُ
َ ‫األ ُذنَان م َن‬
»‫الرأس‬ «
ความว่า “หูทงสองข้
ั้ างนันเป็
้ นส่วนหนึง่ ของศีรษะ” (อัต-ติรมีซีย์ 37, อบู ดาวูด 134)

และเพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ท่านจะทาการเช็ดศีรษะและหูทงสองข้


ั้ างของท่าน
ในการทาวุฎอ์ู

สี่ ล้ างสองเท้ าพร้ อมกับตาตุม่ อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า


َۡۡ َ ۡ َ ۡ ُ َ ُ ََۡ
]٨ :‫ ﴾ [املائدة‬٦ ِۚ‫ي‬
ِ ‫﴿ وأرجلكم إِل ٱلكعب‬
ความว่า “และล้ างเท้ าของพวกเจ้ าถึงตาตุม่ ทังสอง”
้ (อัล-มาอิดะฮฺ 6)

ห้ า การทาตามลาดับ
เพราะอัลลอฮฺได้ กล่าววิธีทาไว้ ตามลาดับ โดยได้ นาเอาส่วนที่ต้องเช็ดแทรกระหว่างส่วนที่ต้องล้ าง
เป็ นการตัดส่วนที่เหมือนกัน(หมายถึงส่วนที่ต้องล้ าง)ให้ แยกจากกัน ประโยชน์ที่ได้ จากสิ่งนี ้ คือ การลาดับ
ตามขันตอน
้ และท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮะวะสัลลัม ได้ ลาดับการทาวุฎอ์ู ตามวิธีการนี ้ ด้ วยการบอกกับ
ปากและการปฏิบตั ิจริ งของท่าน เป็ นการอธิบายถึงสิ่งที่อลั กุรอานต้ องการจะสื่อถึง ให้ ประชาชาติของท่าน
เข้ าใจ

หก : อัล-มุวาลาต (ความต่อเนื่อง) คือ การที่ไม่เว้ นช่วงการล้ างอวัยวะใดๆ กระทัง่ อวัยวะที่ล้างก่อน


แล้ วนันแห้
้ งจากการเปี ยกน ้าวุฎอ์ู หลักฐานคือ ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม คือผู้ที่กาหนดกฎเกณท์
และให้ ความกระจ่างแก่ประชาชาติของท่านในเรื่ องหุก่มต่างๆ ของศาสนา และในทุกรายงานที่กล่าวถึงเวลา
ท่านนบีได้ ทาวุฎูอ์ ก็จะระบุว่าท่านได้ กระทามันอย่างต่อเนื่อง (ดูในอัส -สัลสะบีล เล่ม 1 หน้ า 51-53 และ
อัล-มุลคั ค็อศ อัล-ฟิ กฮีย์ เล่ม 1 หน้ า 32-33)

บทที่ 14 สิ่งที่ทาให้ วุฎูอ์ เสีย


มี 6 ประการ
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  39 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
1- การหลัง่ ของออกมาจากสองทวาร
2- สิ่งสกปรกที่เป็ นนะญิสที่ขบั ออกจากร่างกาย
3- หมดสติด้วยการนอนหรื ออื่นๆ
4- การสัมผัสอวัยวะเพศและทวารหนักด้ วยมือโดยปราศจากผ้ ากัน้
5- การทานเนื ้ออูฐ
6- การออกจากอิสลาม(ริดดะฮฺ) ขออัลลอฮฺทรงให้ เราและบรรดามุสลิมห่างไกลจากสิ่งนี ้
บทเรี ยนก่อนหน้ านี ผ้ ้ ูเขี ยนได้ ก ล่าวถึ งเรื่ องราวเกี่ ยวกับ วุฎู อ์ ในบทนี ท้ ่านต้ องการที่ จ ะให้ ความ
กระจ่างในเรื่ องราวที่จะทาให้ เสียวุฎอ์ู เพื่อให้ มสุ ลิมได้ รับรู้เกี่ยวกับเรื่ องราวศาสนาของเขา จึงได้ บอกให้ เรา
ทราบในที่นี ้ว่า สิ่งที่ทาให้ วฎุ อ์ู เสียนันก็
้ คือ
หนึ่ง การหลัง่ สิ่งของออกมาจากทังสองทวาร้ ไม่วา่ จะน้ อยหรื อมาก ซึง่ มีสองประเภท
1. แบบปกติ เช่น ปั สสาวะหรื ออุจจาระ เช่นนี ้แล้ วจะทาให้ เสีย วุฎูอ์โดยความเห็นเป็ นเอกฉันท์ของ
เหล่าผู้ร้ ู ตามที่อิบนุ อับดิลบัร ได้ กล่าวยืนยันไว้ อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
َٓۡ ُ َ ٓ َ
]٨ :‫ ﴾ [املائدة‬٦ ‫﴿ أ ۡو َجا َء أ َحد مِنكم م َِن ٱلغائ ِ ِط‬
ความว่า “หรื อคนหนึง่ คนใดในพวกเจ้ ามาจากที่ถ่ายทุกข์” (อัล-มาอิดะฮฺ 6)
2. แบบไม่ป กติ เช่น พยาธิ เส้ น ผม และกรวด ซึ่ง จะท าให้ วุฎู อ์ เสี ย เช่น เดี ย วกัน เพราะท่า นนบี
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวแก่ หญิงที่มีเลือดอิสติหาเฎาะฮฺวา่
َ ُ َ َ
»‫«ت َوضئ لك َصالة‬
ความว่า “เธอจงอาบน ้าวุฎอ์ู ในทุกๆ ครัง้ ที่ต้องการจะละหมาด” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ 266, มุสลิม 333)
เนื่องจากเลือดอิสติหาเฎาะฮฺไม่ได้ ออกเป็ นประจา ไม่เหมือนกรณีเลือดประจาเดือนปกติ แต่เพราะ
มันออกมาจากทวารจึงนับว่าเป็ นกรณีเดียวกันกับเลือดปกตินนั่ เอง

สอง สิ่งสกปรกที่เป็ นนะญิสที่ขบั ออกจากร่างกาย


กรณี เช่น นี ว้ ุฎูอ์ จ ะเสี ย ก็ ต่อเมื่ อมี การออกมาในจ านวนมาก แต่ถ้ าออกมาเพี ยงเล็กน้ อยก็ ไม่ท า
ให้ วุฎู อ์ เสี ย แต่อย่างใด เช่น เลื อด ถ้ า มัน ออกมาในปริ ม าณมากก็ จ ะทาให้ วุฎูอ์ เสี ยและถ้ าออกมาเพี ย ง
เล็กน้ อยไม่ทาให้ เสียวุฎูอ์ ท่านอิบนุ อับบาส ได้ กล่าวเกี่ยวกับเลือดไว้ ว่า ถ้ าหากว่ามีการหลั่งออกมามาก
เช่นนี ้แล้ วเขาต้ องอาบน ้าวุฎอ์ู ใหม่ ครัง้ หนึ่ง อิบนุ อุมรั ฺ มีสิวเกิดขึ ้นที่ใบหน้ าและมีเลือดออกมาเล็กน้ อย ท่าน
ทาการละหมาดโดยไม่ได้ อาบนา้ วุฎูอ์ ใหม่ และทัง้ สองกรณี นีไ้ ม่ปรากฏความขัดแย้ งในหมู่ เศาะหาบะฮฺ
ดังนัน้ มันจึงกลายเป็ นประเด็นอิจญ์มาอฺที่เห็นพ้ องต้ องกัน

สาม หมดสติ ด้ วยการนอนหลับหรื ออื่นๆ เช่น เป็ นบ้ า มึนเมา เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะสัลลัมกล่าวว่า
َ َ َ َ ََ َ ُ َ ُ َ
»‫ام فليَتَ َوضأ‬ ‫ فمن ن‬، ‫«العني وَكء السه‬
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  40 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ความว่า “ดวงตาคือสิ่งที่ ผูกสติ ดังนัน้ ผู้ใดที่นอนหลับก็ ให้ เขาอาบนา้ วุฎูอ์เสียใหม่” (บันทึกโดยอบู ดาวูด
203, อิบนุ มาญะฮฺ 477)

แน่นอนว่า อาการเป็ นลม เป็ นบ้ า หรื อการมึนเมานันมี ้ ผลทาให้ หมดสติมากกว่าการนอนหลับเสีย


อีก เพราะฉะนันมั
้ นจึงควรเป็ นเหตุให้ เสียวุฎอ์ู มากกว่าด้ วยซ ้า

สี่ สัม ผัสอวัยวะเพศทัง้ ทวารเบาและทวารหนักด้ วยมื อเปล่า เพราะท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ


วะสัลลัมกล่าวว่า
َ َ ُ َ
»‫« َمن َم َس فر َجه فليَتَ َوضأ‬
ความว่า “ผู้ใดที่สมั ผัสอวัยวะของเขาให้ เขาอาบน ้าวุฎูอ์เสียใหม่” (บันทึกโดยอัต-ติรมีซีย์ 82, อัน-นะสาอีย์
444)

ห้ า ทานเนื ้ออูฐ มีรายงานจาก ญาบิรฺ บิน สะมุเราะฮฺ ชายผู้หนึง่ ได้ ถามท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะสัลลัม ว่า ฉันต้ องอาบน ้าวุฏฺอจากที่ทานเนื ้ออูฐหรื อไม่? ท่านตอบว่า
ُ َ َ َ
»‫ ت َوضأ من ل ُوم اإلبل‬،‫«ن َعم‬
ความว่า “ใช่ ท่านจงอาบน ้าวุฎอ์ู จาก(การทาน)เนื ้ออูฐ” (บันทึกโดยมุสลิม 360, อิบนุ มาญะฮฺ 495)

หก การออกจากอิสลาม (ริดดะฮฺ) ขออัลลอฮฺทรงทาให้ เราออกห่างจากสิ่งนี ด้ ้ วยเถิด อัลลอฮฺได้ ตรัส


ว่า
َ ُ َ َ َ َۡ َۡ ۡ َ
]٨٤ :‫ ﴾ [الزمر‬٦٥ ‫ت َلَ ۡح َب َط ذن ع َملك‬ ‫﴿ لئِن أِشك‬
ความว่า “หากแม้ นว่าเจ้ าได้ ตงภาคี
ั ้ เช่นนี ้แล้ ว การงานของเจ้ า(ทังหมด)ก็
้ จะสูญสลาย” (อัซ-ซุมรั ฺ 65 และดู
ใน อัล-อุดดะฮฺ ชัรหฺ อัล-อุมดะฮฺ หน้ า 53-57)

หมายเหตุ:
ส่วนการอาบน ้าให้ มยั ยิต ทัศนะที่ถูกต้ องคือ ไม่เป็ นเหตุทาให้ เสียน ้าวุฎูอ์ ตามทัศนะของอุละมาอ์
ส่วนใหญ่ เนื่องจากไม่มีหลักฐานในเรื่ องดังกล่าว ทว่า ถ้ ามือของผู้ทาการอาบไปสัมผัสกับอวัยวะเพศของ
มัยยิตโดยปราศจากผ้ ากัน้ เช่นนี ้แล้ วจาเป็ นที่เขาจะต้ องอาบน ้าวุฎูอ์ใหม่ และวาญิ บสาหรับเขาที่จะต้ องไม่
สัมผัสอวัยวะเพศของมัยยิตเว้ นแต่ต้องมีผ้ากันเท่
้ านัน้
และในทานองเดียวกันนี ้การสัมผัสถูกผู้หญิง(หรื อการสัมผัสเพศตรงข้ าม)ก็ไม่ได้ ทาให้ น ้าวุฎอ์ู เสียใน
ทุกกรณี ไม่ว่าจะมี ชะฮฺวะฮฺ(อารมณ์)หรื อไม่ก็ตาม อันเป็ นทัศนะที่ถูกต้ องที่สุดในทัศนะต่างๆ ของอุละมาอ์
ตราบที่ไม่มีการหลัง่ ใดๆ ออกมา เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ท่านได้ จบู ภรรยาของท่านบาง
คน หลังจากนันท่
้ านทาการละหมาดโดยที่ทา่ นไม่ได้ อาบน ้าวุฎอ์ู ใหม่แต่อย่างใด
ส่วนอายะฮฺที่อลั ลอฮฺได้ ตรัสว่า
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  41 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป ٓ َ َ
]٨ :‫ ﴾ [املائدة‬٦ ‫﴿ أ ۡو ل َٰ َم ۡس ُت ُم ٱلن َِسا َء‬
ความว่า “หรื อเมื่อพวกท่านได้ สมั ผัสกับสตรี ” (อัล-มาอิดะฮฺ 6)

อายะฮฺดงั กล่าวหมายความถึงการญิ มาอฺ(ร่วมหลับนอน) ซึ่งเป็ นทัศนะที่ถูกต้ องที่สุดในสองทัศนะ


ของอุละมาอ์ มันเป็ นทัศนะของอิบนุ อับบาส และคนอื่นๆ
ในส่วนของรายละเอียดเกี่ยวกับประเด็นอาบน ้ามัยยิตและสัมผัสผู้หญิง ท่านเชคของเราได้ ทาการ
อธิบายทัศนะต่างๆ ของนักวิชาการในบทเดิมของต้ นฉบับ พร้ อมกับได้ ตรั ญีห์แล้ วด้ วย

บทที่ 15 อัคลาก(มารยาท)ที่ถูกบัญญัตใิ ช้ ต่อมุสลิมทุกคน


อัคลาก(มารยาท)ที่ถูกบัญญัติใช้ ต่อมุสลิมทุกคน คือ ซื่อสัตย์ อะมานะฮฺ รักนวลสงวนตัว มีความ
ละอาย กล้ าหาญ เอื ้ออาทร มีสจั จะ หลีกห่างจากทุกๆ สิ่งที่อลั ลอฮฺได้ ห้ามไว้ มีไมตรี กบั เพื่อนบ้ าน ช่วยเหลือ
ผู้ยากไร้ ตามความสามารถ และอื่นๆ จากอัคลากที่มีปรากฏอยูใ่ นอัลกุรอานและซุนนะฮฺซงึ่ ได้ ถกู บัญญัตไิ ว้

บทที่ 16 มารยาทตามคาสอนของอิสลาม
มารยาทที่ดีงามในอิสลามมีดงั นี ้ ให้ สลาม ยิ ้มแย้ มกับผู้อื่น รับประทานอาหารด้ วยมือขวา และดื่ม
ด้ วยมือขวา มารยาทขณะเข้ า ออกมัสยิด และเข้ าออกบ้ านเรื อน ยามเดินทาง ทาความดีต่อพ่อแม่ ญาติพี่
น้ อง เพื่อนบ้ าน ผู้ใหญ่ เด็กเล็ก ให้ อวยพรแด่เด็กแรกเกิด เยี่ยมเยียนผู้เจ็บป่ วย และอื่นๆ จากมารยาทที่
อิสลามได้ กาหนดไว้
หลังจากที่ผ้ เู ขียนได้ อธิบายถึงหลักการศาสนาทังที ้ ่เป็ นหลักและปลีกย่อยในบทเรี ยนที่ผ่านมา ใน
บทนี ้ผู้เรี ยนประสงค์ที่จะอธิบายให้ ผ้ คู นทัว่ ไปได้ ทราบถึงมารยาทที่ดีงามในอิสลามส่วนหนึ่งที่ถกู บัญญัติไว้
ให้ มุสลิมทุกคนต้ องปฏิบตั ิ ดังนัน้ เป็ นหน้ าที่ของท่าน โอ้ พี่น้องมุสลิม (ขออัลลอฮฺทรงทาให้ ท่านและเราได้
บรรลุถึงทุกๆ การงานที่ดีงาม) ที่จะต้ องปฏิบตั ิตามบทบัญญัตินี ้เพื่อเป็ นแบบอย่างที่ดีเลิศและสวยงามที่สดุ
ด้ วยอัคลากอันสูงส่งและมารยาทอันดีงามที่อิสลามได้ กาหนดไว้ ได้ ปรากฏบทบัญญัติมากมายจากทังอั ้ ลกุ
รอานและซุ น นะฮฺ เรี ยกร้ องเชิญ ชวนให้ ยึดมั่นกั บมารยาทที่ ดีงามเหล่านี ้ และถ้ าเพราะไม่กลัวว่าเนื อ้ หา
เกี่ยวกับเรื่ องเหล่านีจ้ ะยืดยาวก็คงจะนามาเสนอ ณ ที่นี ้ ดังนัน้ ท่านจงนาเอาแบบอย่างจากผู้ที่ได้ ปฏิบตั ิ
เรื่ อ งเหล่ า นี ไ้ ว้ แ ก่ เ รา นั่น คื อ ท่ า นนบี ศ็ อ ลลัล ลอฮุอ ะลัย ฮิ ว ะสัล ลัม ซึ่ ง ได้ มี ผ้ ู ถามท่ า นหญิ ง อาอิ ช ะฮฺ
เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา ถึงมารยาทของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ท่านหญิงอาอิชะฮฺตอบว่า
ُ ُ ُُ ُ َ َ
»‫«َكن خلقه القرآن‬
ความว่า “แท้ จริงมารยาทของท่าน(นบี)คืออัลกุรอาน”
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  42 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
เป็ นที่รับรู้ กันว่า ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เป็ นผู้ซื่อสัตย์ มี อะมานะฮฺ กล้ าหาญ โอบ
อ้ อมอารี หลีกห่างจากทุกสิ่งที่อลั ลอฮฺได้ ห้ามไว้ และบรรดาเศาะหาบะฮฺตา่ งก็ได้ เดินตามแบบอย่างของท่าน
อย่างดี เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุม อัจญ์มะอีน
ในช่วงเริ่ มต้ นของการขยายอิสลามสู่ทั่วสารทิศ นัน้ เกิดมาจากการสนทนาแลกเปลี่ยนของเหล่า
พ่อค้ ามุสลิมกับผู้คนต่างๆ โดยพวกเขามีความซื่อสัตย์สุจริ ตและซื่อตรง ดังนัน้ ข้ าพเจ้ าจึงใคร่ ขอวิงวอน
ต่ออัลลอฮฺ หลังจากนันก็ ้ ขอความร่วมมือจากท่าน โอ้ พี่น้องมุสลิม ให้ ท่านจงเป็ นบุคคลที่มีคณ ุ ลักษณะที่ดี
งามเหล่านี ้เถิด จงเป็ นบุคคลที่ซื่อสัตย์ในคาพูดและการกระทา มีอะมานะฮฺในสิ่งที่ได้ รับมาและถ่ายทอดไป
มีความบริสทุ ธ์ใจและพอเพียงกับสิ่งที่มีอยู่ในครอบครอง และจงเป็ นคนที่ความละอาย มารยาทดี กล้ าหาญ
ให้ เกียรติและมีความเอื ้ออาทร ไม่ปองร้ ายต่อคนอื่น มีเมตตา ปฏิบตั ิตอ่ เพื่อนบ้ านของท่านด้ วยดีเพราะสิทธิ
ของเขานันยิ ้ ่งใหญ่นกั และจงให้ ความช่วยเหลือต่อผู้ยากไร้ แท้ จริ งอัลลอฮฺจะทรงช่วยเหลือบ่าวของพระองค์
ตราบที่บา่ วของพระองค์คอยช่วยเหลือพี่น้องของเขา จงให้ สลามต่อผู้ใดก็ตามไม่ว่าท่านจะรู้ จกั เขาหรื อไม่
รู้ จัก เพราะสิ่ งเหล่านี ค้ ือแบบอย่างของท่านนบี ท่านได้ ถ่ายทอดซึ่งความรักและผลักไสความเกลียดชัง
ก้ าวร้ าวและการแบ่งพรรคแบ่งพวก จงยิ ้มให้ กบั พี่น้องของท่านอย่างสม่าเสมอเพราะสิ่งนี ้เป็ นส่วนหนึ่งของ
การให้ ทาน จงปฏิบตั ิตามสิ่งที่ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ ชี ้นา ไม่ว่าจะเป็ นการรับประทาน
อาหารอาหารและดื่มน ้าด้ วยมือขวา และจงปฏิบตั ิ ตามซุนนะฮฺด้วยการก้ าวด้ วยเท้ าขวาทุกครัง้ ที่เข้ ามัสยิด
อ่านดุอาอ์มะษูรฺ (ดุอาอ์ที่ปรากฏจากหะดีษของท่านนบี) และออกจากมัสยิดด้ วยเท้ าซ้ าย จงหมัน่ รักษาอ่าน
ดุอาอ์เวลาเข้ าและออกจากบ้ าน เช่นนี ้แล้ วท่านจะถูกปกป้องด้ วยการปกป้องของอัลลอฮฺ และจะได้ รับการ
ดูแลจากพระองค์ ท่านอย่าได้ ลืมดุอาอ์ ทกุ ครัง้ ที่ท่านจะเดินทาง และจงทาดีตอ่ บิดามารดาของท่าน โดยการ
ปฏิบตั ิกบั ท่านทังสองด้
้ วยสิ่งทีดีงาม จงรู้ไว้ เถิดว่าสิทธิของทังสองที
้ ่มีตอ่ ท่านยิ่งใหญ่ซงึ่ อัลกุรอานและหะดีษ
ของท่านนบีได้ ชี ้นาไว้ ท่านอย่าได้ ปล่อยปะละเลยต่อสิ่งนี ้ ไม่เช่นนันแล้ ้ วท่านจะเสียใจ และท่านอย่าได้ ลืมที่
จะทาดีตอ่ ญาติพี่น้องและเพื่อนบ้ าน ผู้หลักผู้ใหญ่และผู้น้อยเพราะมันเป็ นสิ่งที่อลั ลอฮฺและท่านนบีได้ ชี ้นาไว้
อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
َ ‫﴿ َوأَ ۡحس ُِن ٓوا إ ذن ٱ ذ‬
َ ‫ّلل ُُي ُِّب ٱل ۡ ُم ۡحسِ ن‬
]٢١١ :‫ ﴾ [ابلقرة‬١٩٥ ‫ِي‬ ِ
ความว่า “และจงทาดีเถิด แท้ จริงอัลลอฮฺนนทรงรั
ั้ กผู้ทาความดีทงหลาย”
ั้ (อัล-บะเกาะเราะฮฺ 195)

ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า


ُ َ َ َ
ُ
»‫كم ب َس ُط ال َوجه ُو ُحس ُن ال ُلق‬ ُ
‫اس بأم َوالكم َولكن ليَ َسع ُهم من‬ َ ‫كم ل ت َ َس ُعو َن‬
َ ‫انل‬ ُ َ
‫« إن‬
ความว่า “แท้ จริ ง พวกท่านไม่สามารถที่จะทาให้ ผ้ คู นพอใจด้ วยทรัพย์สินของพวกท่านดอก ทว่า พวกท่าน
สามารถที่จะทาให้ ผ้ คู นพอใจท่านได้ ด้วยใบหน้ าที่ยิ ้มแย้ มและนิสยั ที่ดีงาม”

ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวแก่ทา่ นมุอาซว่า


ُُ َ ‫ َوأَتبع‬،‫ت‬
ُ ‫السيئَ َة ال َ َسنَ َة ََم‬
َ ‫ َو َخالق‬،‫ح َها‬
»‫انلاس ِبلق َح َسن‬ َ ‫اهلل َحيثُ َما ُكن‬
َ ‫«اتَق‬
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  43 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ความว่า “จงยาเกรงต่ออัลลอฮฺ ณ ที่ใดก็ตามที่ท่านอยู่ และจงลบล้ างความชัว่ ด้ วยความดี และจงคลุกคลี
กับผู้คนด้ วยมารยาทที่ดีงาม” (อัล-ติรมีซีย์ 1987, อะห์มดั 5/153)

นักกวีทา่ นหนึง่ ได้ กล่าวว่า


‫فطاملــــــا اســــــتعبد اإلحســــــان إحســــــان‬ ‫أحســـــن إل انلـــــاس تســـــتعبد قلـــــوبهم‬

ความว่า “จงทาดีตอ่ ผู้คนเถิด แล้ วท่านก็จะผูกมัดหัวใจของพวกเขาได้ เพราะหลายครัง้ แล้ ว ที่ความดีงามได้
ผูกมัดหัวใจผู้คนไว้ ”

จงแสดงความยินดีต่อทารกที่เกิดใหม่ และขอดุอาอ์ให้ เด็กน้ อยด้ วยกับดุ อาอ์ที่ปรากฏจากท่านนบี


ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จงเยี่ยมเยียนพี่น้องของท่านที่ได้ รับความทุกข์ยากท่านจะได้ ผลบุญในสิ่งนัน้
และจะได้ รับดังเช่นที่ พ วกเขาได้ รับ ในผลบุญ และจงยึดมั่นด้ วยกับอัคลาคที่ ถูกบัญ ญัติไว้ และมารยาท
อิสลามและออกห่างจากมารยาทที่ไม่ดีงามทังหลาย ้ ขออัลลอฮฺทรงทาให้ เราและท่านเป็ นหนึ่งในผู้ที่ยึดมัน่
กับอัคลากที่ศาสนาได้ บญ ั ญัติไว้ และออกห่างจากมารยาทที่ไม่ดีงามทังหลาย
้ แท้ จริ งพระองค์ทรงมีความ
ปรี ชาสามารถในทุกๆ สิ่ง และทรงคูค่ วรยิ่งในการตอบรับดุอาอ์ของปวงบ่าว
ขอพระองค์ประทานเศาะละวาตแก่ท่านนบีของเรา และบรรดาเศาะหาบะฮฺของท่านทุกคนด้ วย
เทอญ

บทที่ 17 เตือนให้ ระวังจากการตัง้ ภาคีและความชั่วต่ างๆ


การระวังจากการตังภาคี ้ หรื อชิริก และความชัว่ ต่างๆ ดังนี ้
ความหายนะทัง้ 7 ประการ คือ การตังภาคี ้ ตอ่ อัลลอฮฺ ไสยศาตร์ การฆ่าชีวิตที่อลั ลอฮฺได้ ทรงห้ ามไว้
เว้ นแต่ด้วยความชอบธรรม รับประทานทรัพย์สินดอกเบี ้ย รี ดทรัพย์เด็กกาพร้ า การหนีทพั ในยามทาสงคราม
การใส่ร้ายมุสลิมะฮฺที่บริ สทุ ธิ์และเป็ นผู้ศรัทธา
และในจานวนความผิดอื่นๆ อาทิ อกตัญญูตอ่ บิดามารดา ตัดขาดความสัมพันธ์กบั ญาติพี่น้อง เป็ น
พยานเท็ จ สาบานด้ วยกับ สิ่ ง มดเท็ จ ท าร้ ายเพื่ อ นบ้ า น อธรรมต่อ คนอื่ น และละเมิ ด ในเรื่ อ งเลื อ ดเนื อ้
ทรัพย์สิน เกียรติ และอื่นๆ จากที่กล่าวมา ซึง่ อัลลอฮฺและท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ ห้ามไว้
หลังจากที่ผ้ เู ขียนได้ กล่าวถึงเรื่ องราวเกี่ยวคุณลักษณะนิสยั ที่อิสลามได้ บญ ั ญัติไว้ ให้ กับมุสลิมทุก
คนและจรรยามารยาทในอิสลามไปแล้ ว ในบทนี ้ผู้เขียนต้ องการที่จะกล่าวถึงอันตรายของการตังภาคี ้ และ
เตือนให้ รับ รู้ ถึง พิ ษ ภัยของมัน รวมถึง ความชั่ว อื่ น ๆ ทัง้ หมด ส่วนหนึ่ง ก็ คือ ความหายนะทัง้ เจ็ ดประการ
เพื่อที่จะได้ เตือนประชาชาติมสุ ลิมมิให้ ล้วงล ้าเข้ าไป หรื ออาจจะไปกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งจากที่กล่าวไป
ทังหมด
้ จากท่านอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เล่าว่าท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า
ُ َ َ َُ َ َ َ َ َ ‫ َو َقت ُل‬،‫ َوالسح ُر‬،‫اّلل‬
َ ُ َ َ َ َ َ َ َُ َ َ َ َ ‫«اجتَنبُوا‬
‫ َوأكل‬،‫اّلل إل بالَق‬ ‫انلفس الت حرم‬ ‫ «الِّشك ب‬: ‫ه ؟ قال‬ ‫ يا رسول اّلل ما‬: ‫ قيل‬، »‫السب َع ال ُموبقات‬
َ َ ُ َ
»‫ َوقذف ال ُمح َصنَات الغافالت ال ُمؤمنَات‬،‫الزحف‬ َ ‫ َو‬،‫ َوأَك ُل َمال الَتيم‬،‫الر َبا‬
َ ‫اتل َوّل يَو َم‬
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  44 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ความว่า “พวกท่านจงออกห่างจาก อัล-มูบิกอต(ความหายนะ) ทังเจ็ ้ ด” พวกเขากล่าวว่า โอ้ รอซูลลุ ลอฮฺ มัน
มีอะไรบ้ าง? ท่านกล่าวว่า “การตังภาคี
้ ต่ออัลลอฮฺ ไสยศาตร์ การฆ่าชีวิตที่อลั ลอฮฺได้ ทรงห้ ามไว้ เว้ นแต่ด้วย
ความชอบธรรม กินดอกเบี ้ย รี ดทรัพย์เด็กกาพร้ า การหนีทพั ในยามทาสงคราม ใส่ร้ายมุสลิ มะฮฺที่บริ สทุ ธิ์ ไร้
เดียงสา และมีศรัทธา” (อัล-บุคอรี ย์ 2615, มุสลิม 89)

ที่ได้ ชื่อว่า อัล-มูบิกอต(ความหายนะ) เพราะมันจะนามาซึง่ ความหายนะให้ กบั ผู้ที่กระทามันในโลก


นี ้ และในวันอาคิเราะฮฺก็จะมีบทลงโทษอีกรอบ
ส่วนประเด็นเกี่ยวกับชิริกนัน้ เราได้ กล่าวอธิบายไปแล้ วในบทที่สี่ ซึง่ ผู้อา่ นสามารถย้ อนกลับไปดูได้
ในส่วนของไสยศาสตร์ นนั ้ คือ การทาของและปลุกเสก ซึ่งการกระทาดังกล่าวนี ้ส่งผลต่อจิตใจและ
ร่างกาย บางอย่างทาให้ ป่วยและถึงชีวิต และทาให้ สามีภรรยาหย่าร้ าง และส่วนหนึ่งเป็ นไปในลักษณะการ
สร้ างภาพลวงตาให้ คนเชื่อโดยไม่ได้ มีอยูจ่ ริง ดังเช่นที่อลั ลอฮฺได้ ตรัสในสูเราะฮฺ ฏอฮา ว่า
َ َ ُ ۡ ُ ُّ َ ۡ ُ ُ َ َ َ ُ ۡ َ ۡ َ َ َ
ۡ ‫َي ذي ُل إ َ َۡلهِ مِن س‬ َۡ َ َ َ ُ ‫ذَٓ ذ‬ ۡ َ
َٰ َ ‫ِح ِره ِۡم أ ذن َها ت َ ۡس‬
‫ع‬ ِ ‫ِصيهم‬ َٰ َ ‫ون أ ذول َم ۡن أل‬
ِ ‫ قال بل ألق هوا فإِذا حِبالهم وع‬٦٥ ‫ق‬ ‫ق ِإَوما أن نك‬ َٰٓ َ ‫﴿ قَالُوا َي َٰ ُم‬
َ ِ ‫وس إ ِ ذما ٓ أن تُل‬
]٨٨ ،٨١ :‫ ﴾ [طه‬٦٦
ความว่า “พวกเขากล่าวว่า โอ้ มซู าเอ๋ย ท่านจะเป็ นผู้โยนหรื อว่าพวกเราจะเป็ นผู้โยนก่อน มูซากล่าวว่า พวก
ท่านจงโยนก่อนเถิด ณ บัดนัน้ เชือกและไม้ เท้ าของพวกเขาดูประหนึ่งว่ามันเลื ้อยคลานไปมาเพราะเล่ห์กล
ของพวกเขา” (ฏอฮา 65-66)

การทาไสยศาสตร์ หรื อมายากลนี ้ถือเป็ นสิ่งต้ องห้ าม เพราะเป็ นการกุฟรุ ต่ออัลลอฮฺ และเป็ นสิ่งที่ตรง
ข้ ามกับการศรัทธาและการเชื่อในเอกภาพของอัลลอฮฺ
อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
ُ ۡ َ ََ ۡ َ ‫ۡ َ َ َ ذ َٰ ُ َ ٓ ذ‬
]٢٠١ :‫ ﴾ [ابلقرة‬١٠٢ ‫ّت َيقول إِن َما ن ُن ف ِۡت َنة فل تكف ۡر ه‬ ‫ان مِن أح رد ح‬ َ َُ ََ
ِ ‫﴿ وما يعل ِم‬
ความว่า “และเขาทังสองจะไม่
้ สอนให้ แก่ผ้ ใู ด จนกว่าทังสองจะกล่
้ าวว่า แท้ จริงเราเป็ นเพียงผู้ทดสอบเท่านัน้
ดังนัน้ เจ้ าจงอย่าได้ ปฏิเสธศรัทธา” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ 102)

และบทลงโทษของผู้กระทาไสยศาตร์ ก็คือ ประหารชีวิต


และทุกสิ่งที่มีกล่าวไว้ ในหะดีษนี ้และสิ่งที่เชคได้ กล่าวเพิ่มเติมจากเนื ้อหาในหะดีษ ล้ วนแล้ วเป็ นสิ่งที่
ต้ องห้ ามด้ วยหลัก ฐานจากอัล กุรอานและสุน นะฮฺ จ าเป็ นอย่างยิ่งที่ มุสลิ ม ทุกคนจะต้ องออกห่างอย่าง
เด็ดขาด และหากได้ เข้ าไปเกี่ยวข้ องแม้ เพียงเล็กน้ อยก็จงละทิ ้งและสานึกเสียใจพร้ อมกับตังมั ้ น่ ว่าจะไม่กลับ
ไปสู่สิ่งเหล่านีอ้ ีกเป็ นครัง้ ที่สอง หรื อกลับไปทาทุกๆ สิ่งที่ เป็ นสิ่งต้ องห้ ามและชั่วร้ าย ผู้ ปกครองหรื อผู้ที่มี
อานาจก็จะต้ องห้ ามปรามผู้ที่อยู่ภายใต้ การปกครองของตน และตักเตือนพี่น้องมุสลิม ของเขาไม่ให้ เข้ าไป
เกี่ยวข้ อง โดยการบอกให้ ร้ ูถึงภัยสิ่งเหล่านี ้ว่ามีอนั ตรายต่อศาสนาอย่างไร เพราะสิ่งนี ้เป็ นส่วนหนึ่งของการ
ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่ องความดีและความยาเกรง และการส่งเสริ ม ในเรื่ องการทาดีและห้ ามปราม
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  45 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ความชัว่ และเป็ นการเชิญชวนสูแ่ นวทางของอัลลอฮฺ เป็ นแบบอย่างแนวทางของบรรดานบี อะลัยฮิมสุ สลาม
อัลลอฮฺได้ ประกาศผ่านท่านนบีมหุ มั มัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ว่า
‫ذ‬ َ َ َ َ َٰ َ َ ‫َ ٓ َ ۡ ُ ٓ َ ذ‬ َٰ َ ۡ ُ
]٢٠٠ :‫ ﴾ [يوسف‬١٠٨ ‫ري رة أنا َو َم ِن ٱت َب َع ِن‬ ‫يل أدعوا إِل ٱّللِ َع ب ِص‬
ِ ِ ‫﴿ قل ه ِذه ِۦ سب‬
ความว่า “จงกล่าวเถิดมุหมั มัด นี่คือแนวทางของฉัน ฉันเรี ยกร้ องไปสู่อลั ลอฮฺ บนแนวทางอันประจักษ์ แจ้ ง
ทังตั
้ วฉันและผู้ปฏิบตั ติ ามฉัน” (ยูสฟุ 108)

ขออัลลอฮฺ ทรงทาให้ เราและท่าน รวมไปถึงมุสลิม ทุกคนออกห่างจากความผิดบาปและสิ่งไม่ดี


ทังหลาย
้ และทาให้ เรายืนหยัดด้ วยถ้ อยคาแห่งพระองค์อลั ลอฮฺด้วยความยัง่ ยืนในการใช้ ชีวิตทังบนโลกดุ
้ น
ยาและในวันอาคิเราะฮฺ แท้ จริง พระเจ้ าของฉันนันทรงได้
้ ยินและตอบรับดุอาอ์ทงหลาย
ั้
ขอพระองค์ประทานเศาะละวาตแก่ท่านนบีของเรา และบรรดาเศาะหาบะฮฺของท่านทุกคนด้ วย
เทอญ

บทที่ 18 การจัดการญะนาซะฮฺและละหมาดให้ กับญะนาซะฮฺ


มีรายละเอียดดังนี ้
การจัดการกับญะนาซะฮฺ
1. เมื่อมัน่ ใจว่าบุคคลหนึ่งเสียชีวิตแล้ ว ให้ ทาการปิ ดดวงตาทังสองข้
้ างของผู้ตาย และใช้ ผ้ามัดเพื่อ
ดึงกรามทังสองเข้
้ ากับศรี ษะ
2. ขณะอาบน ้าให้ ศพ ให้ ปกปิ ดร่ างกายของเขา หลังจากนันให้ ้ ยกขึ ้นเล็กน้ อย แล้ วลูบกดหน้ าท้ อง
ของเขาเบาๆ หลังจากนันให้ ้ ผ้ อู าบนาเศษผ้ าหรื ออื่นๆ ที่ทาจากผ้ าไว้ ในมือของตน เพื่อเช็ดทาความสะอาด
นะญิสให้ เรี ยบร้ อย หลังจากนันก็ ้ อาบน ้าละหมาดให้ กับศพ แล้ วจึงล้ างศีรษะและเคราด้ วยน ้าสะอาดและ
น ้าพุทรา หรื อน ้ายาทาความสะอาดเช่น สบู่ เป็ นต้ น หลังจากนันให้ ้ ล้างแขนขวา แขนซ้ าย หลังจากนัน้ ให้
อาบเช่นนันอี ้ ก สอง สามครัง้ โดยในทุกๆ ครัง้ ให้ ใช้ มือกดและลูบหน้ าท้ องของผู้ตายเบาๆ หากมีสิ่งสกปรก
ออกจากทวารให้ ล้างออกแล้ วทาการอุดปิ ดด้ วยสาลี และหากสาลีไม่สามารถปิ ดกันได้ ้ ให้ ใช้ ดิน หรื ออุปกรณ์
ทางการแพทย์ปัจจุบนั เช่นเทปกาวปิ ดเอาไว้ เป็ นต้ น
เสร็ จแล้ ว ให้ อาบน ้าละหมาดให้ ศพใหม่อีกครัง้ ถ้ าหากยังไม่สะอาดด้ วยการอาบสามครัง้ ให้ เพิ่ม
เป็ นห้ า หรื อเจ็ดครัง้ หลังจากนันให้ ้ เช็ดตัวด้ วยผ้ า และใส่น ้าหอมตรงตาแหน่งที่สง่ กลิ่น(ใต้ รักแร้ ข้ อพับต่างๆ
เป็ นต้ น) และตาแหน่งสูญดุ และหากสามารถใส่ทวั่ ทังร่้ างได้ ก็เป็ นการดี ให้ อบผ้ าห่อศพของเขาด้ วยธูปหอม
และหากหนวดหรื อเล็บของเขายาวก็ให้ ตดั เล็ม และไม่ต้องปิ ดผมของเขา แต่ถ้าเป็ นผู้หญิงให้ รวบมัดผมเป็ น
สามส่วน แล้ วก็ปล่อยไว้ ด้านหลังของนาง
3. การห่อศพ สาหรับผู้ชาย ดีที่สุดควรห่อด้ วยผ้ าสามผืนสีขาวโดยปราศจากการสวมเสื ้อหรื อแต่ง
กายใดๆ ทังสิ ้ ้น โดยการพับเข้ าหาศพทีละผืน และหากห่อศพด้ วยผ้ าที่ตดั เป็ นเสื ้อ กับผ้ าถุง และผ้ าห่ออีกชิ ้น
ก็ไม่มีปัญหาใดๆ ส่วนผู้หญิ งให้ ทาการห่อศพด้ วยผ้ าห้ าชิ ้น ประกอบด้ วย เสื ้อ ผ้ าคลุมหัว ผ้ าถุง และผ้ าห่อ
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  46 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ศพอีกสองผืน ถ้ าเป็ นเด็กผู้ชายให้ ห่อศพด้ วยผ้ าหนึ่งผืนถึงสามผืน และห่อทารกหญิงด้ วยเสื ้อหนึ่งชิ ้นและผ้ า
สองผืน
4. บุคคลที่ค่คู วรที่สดุ ในการอาบน ้าและนาละหมาดศพให้ กับผู้ตายที่เป็ นผู้ชาย คือบุคคลที่ผ้ ตู าย
ได้ สงั่ เสียไว้ หลังจากนันก็้ เป็ นบิดา ปู่ และญาติที่มีสิทธิรับมรดกแบบอะเศาะบะฮฺตามลาดับ
และบุคคลที่คคู่ วรที่สดุ ที่จะทาการอาบน ้าให้ กบั ศพผู้หญิง ก็คือ ผู้ที่นางได้ สงั่ เสียไว้ หลังจากนัน้ ก็
เป็ นมารดา ยาย และญาติๆ ที่ใกล้ ชิดตามลาดับของฝั่ งหญิง
และสาหรับสามีภรรยา แต่ละคนสามารถอาบน ้าให้ กับอีกฝ่ ายได้ เพราะตอนที่ท่านอบู บักรฺ อัศ-ศิ
ดดีก เสี ยชีวิต ภรรยาของท่านเป็ นผู้อาบนา้ ญะนาซะฮฺ ให้ กับ ท่าน และท่านอะลี ย์ก็ได้ อาบนา้ ญะนาซะฮฺ
ให้ กบั ท่านหญิงฟาฏิมะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา
5. การละหมาดญะนาซะฮฺ ให้ เริ่ มด้ วยการตักบีรฺและให้ อ่านหลังจากตักบีรฺครัง้ แรกด้ วยสูเราะฮฺอลั -
ฟาติหะฮฺ และหากตามด้ วยสูเราะฮฺสนๆ ั ้ หรื ออายะฮฺสองอายะฮฺก็เป็ นการดี เนื่องจากมีหะดีษได้ ระบุเอาไว้
จากอิบนุ อับบาส เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮฺ หลังจากนัน้ ให้ ทาการตักบีรฺครัง้ ที่สองและกล่าวเศาะละวาตต่อท่านน
บี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ดังเช่นที่เขากล่าวเศาะละวาตในตะชะฮุดเวลาละหมาด หลังจากนันให้ ้ ตกั
บีรฺครัง้ ที่สาม และกล่าวดุอาอ์
َ ُ َ َ َ َ َ َ َ َ ُ َ َ َ َ َ َ َ َ َ َ َ َ َ
‫ الل ُه َم َمن أحيَيتَه منا‬،‫ َوشاهدنا َواغئبنا‬،‫ َوذكرنا َوأنثانا‬،‫ َو َصغينا َوكبينا‬،‫ َوشاهدنا َواغئبنا‬،‫الل ُه َم اغفر لَينا َو َميتنا‬
َ ُ َ ُ َ ُ ُ َ َ َ َ َُ َ َ ُ َ َ َ ََ
، ‫ َوأكرم ن ُز ُهل‬، ‫ الل ُه َم اغفر ُهل َوارَحه َو ََعفه َواعف عنه‬،‫ َو َمن ت َوفيتَه منا فتَ َوفه َىلع اإليمان‬, ‫فأ حيه َىلع اإلسالم‬
َ َ َ ُ َ َ ‫اذلنُوب والَ َطايَا َك َما ُينَ َّق‬‫َ ي‬ َ َ ‫ َواغسل ُه بال َماء َو‬، ‫َو َوسع ُمد َخلَ ُه‬
، ‫ادلحس‬ ‫اثلو ُب األبيَض من‬ ‫ َونقه من‬، ‫بد‬ َ َ ‫اثللج َوال‬
َ َ ‫ َو َع َذاب‬،‫اب ال َقب‬
‫ َواف َسح ُهل يف‬،‫انلار‬
َ ‫ َوأَعذه من َع َذ‬،‫ َوأَدخل ُه الَنَ َة‬،‫يا من أَهله‬ ً ‫ َوأَه ًال َخ‬، ‫يا من َداره‬ ً ‫َوأَبد ُهل َد‬
ً ‫ارا َخ‬
َ ََ ُ َ َ َ َ َ
.‫ الل ُه َم ل ترمنا أج َر ُه َول تضلنا َبعد ُه‬،‫قبه َونَور ُهل فيه‬
َ

หลังจากนันให้
้ ตกั บีรครัง้ ที่สี่ และให้ สลามหนึง่ ครัง้ โดยหันไปทางขวา
ส่งเสริ มให้ ยกมือทัง้ สองข้ างขณะตักบีรฺ ทุกครัง้ และหากญะนาซะฮฺเป็ นผู้หญิ งให้ กล่าวดุอาอ์ด้วย
การปรับเปลี่ยนเฎาะมีรฺหรื อสรรพนามเป็ น
َ
(‫) امهلل اغفر ل َها‬
และหากญะนาซะฮฺมีสองคน ให้ กล่าว
َ
(‫) امهلل اغفر ل ُه َما‬
และให้ กล่าวแบบรวมหากญะนาซะฮฺมีหลายศพ

กรณีที่ผ้ ตู ายเป็ นเด็ก (เสียชีวิตก่อนบิดามารดา) ให้ กล่าวแทนจากการขออภัยโทษเป็ นดุอาอ์ที่วา่


ُ
‫ واج َعله يف‬،‫نني‬ َ ‫ وأعظم به أُ ُج‬،‫ اللَ ُه َم َثقل به َم َوازينَ ُه َما‬،ً‫وشفيعا ً َُمَابا‬
ُ ‫ وألق ُه ب َصالح‬،‫ور ُه َما‬
َ ‫الـمؤم‬ َ َ ‫اللَ ُه َم اج َعل ُه فَ َر َطا ً َو ُذخرا ً ل َو‬
،‫ادليه‬
.‫اب الَحيم‬ َ ‫ك َع َذ‬ َ َ َ َ
‫ وقه برَحت‬،‫ عليه السالم‬،‫يم‬ َ ‫َك َفالَة إب َراه‬

ตามแบบอย่างสุนนะฮฺนนั ้ ให้ อิมามยืนอยู่ ณ ตาแหน่งตรงกับศีรษะของญะนาซะฮฺที่เป็ นชาย และ


ตรงกลางญะนาซะฮฺที่เป็ นหญิ ง และให้ วางญะนาซะฮฺชายต่อจากอิมามในกรณี ที่มีญะนาซะฮฺหลายๆ ศพ
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่  47 
สาคัญสาหรับคนทั่วไป
ส่วนญะนาซะฮฺ หญิ งให้ วางถัดจากศพแรกไปทางกิ บลัต และหากกรณี ที่มี ญ ะนาซะฮฺ ที่เป็ นเด็กผู้ชายให้
วางญะนาซะฮฺศพเด็กก่อนแล้ วตามด้ วยศพผู้หญิ งและเด็กผู้หญิ งตามลาดับ โดยศีรษะของเด็ก ชายอยู่ใน
ระดับเดียวกับศีรษะของญะนาซะฮฺ ผ้ ูชาย และส่วนกลางของญะนาซะฮฺผ้ ูหญิ งให้ อยู่ในตาแหน่งเดียวกับ
ศีรษะของญะนาซะฮฺชาย ให้ ศีรษะของเด็กหญิ งให้ อยู่ในระดับเดียวกับศีรษะของญะนาซะฮฺที่เป็ นผู้หญิ ง
และส่วนกลางของเธอให้ อยู่ในระดับเดียวกับศีรษะของญะนาซะฮฺผ้ ชู าย แล้ วผู้ที่มาร่วมละหมาดทังหมดให้ ้
อยูด่ ้ านหลังของอิมาม เว้ นเสียแต่วา่ ในกรณีที่คนคนหนึง่ ไม่มีที่ให้ ละหมาด ก็ให้ ไปยืนอยูฝ่ ั่ งขวาของอิมาม

‫والمد هلل وحده والصالة والسالم ىلع نبينا حممد وآهل وصحبه‬
อธิบายหนังสือบทเรี ยนต่ างๆ ที่ 1
สาคัญสาหรับคนทั่วไป

You might also like