Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

ประกาศคณะกรรมการคาจาง

เรื่อง อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ (ฉบับที่ 12)

ดวยคณะกรรมการคาจางชุดที่ 21 ไดมีการประชุมศึกษาและพิจารณาขอเท็จจริงเกี่ยวกับ
อัตราคาจางที่ลูกจางไดรับตามมาตรฐานฝมือ และมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 ใหกำหนด
อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ รวม 17 สาขา โดยใชมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ ตามกฎหมายวาดวยการสงเสริม
การพัฒนาฝมือแรงงานเปนเกณฑวัดคาทักษะฝมือ ความรู ความสามารถ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 79 (4) และมาตรา 88 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน
พ.ศ. 2541 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 25๕1 คณะกรรมการคาจาง
จึงออกประกาศไว ดังตอไปนี้
ขอ ๑ ประกาศนี้ใชบังคับเมื่อพนกำหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป
ขอ 2 ในประกาศนี้
“มาตรฐานฝมือ” หมายความวา มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ ตามกฎหมายวาดวยการสงเสริม
การพัฒนาฝมือแรงงาน
ขอ 3 อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือในแตละสาขาอาชีพและในแตละระดับ ใหเปนดังนี้
(1) สาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาชางระบบสงถายกำลัง ระดับ 1 เปนเงินไมนอยกวา
วันละสี่รอยเกาสิบหาบาท
(2) สาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาชางระบบปมและวาลว ระดับ 1 เปนเงินไมนอยกวา
วันละหารอยสิบหาบาท
(3) สาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาชางประกอบโครงสรางเหล็ก ระดับ 1 เปนเงินไมนอยกวา
วันละหารอยบาท
(4) สาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาชางปรับ ระดับ 1 เปนเงินไมนอยกวาวันละหารอยบาท
(5) สาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาผูควบคุมระบบงานเชื่อมมิก - แม็ก ดวยหุนยนต ระดับ 1
เปนเงินไมนอยกวาวันละหารอยยี่สิบบาท
(6) สาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาชางเมคคาทรอนิกสและหุนยนตอุตสาหกรรม ระดับ 1
เปนเงินไมนอยกวาวันละหารอยสี่สิบหาบาท ระดับ 2 เปนเงินไมนอยกวาวันละหกรอยสามสิบหาบาท และ
ระดับ 3 เปนเงินไมนอยกวาวันละเจ็ดรอยสิบหาบาท
(7) สาขาอาชีพชางเครื่องกล สาขาชางซอมรถแทรกเตอรการเกษตร ระดับ 1 เปนเงิน
ไมนอยกวาวันละสี่รอยหกสิบหาบาท ระดับ 2 เปนเงินไมนอยกวาวันละหารอยสามสิบหาบาท และระดับ 3
เปนเงินไมนอยกวาวันละหกรอยยี่สิบบาท
(8) สาขาอาชีพชางเครื่องกล สาขาพนักงานควบคุมเครื่องจักรรถตักหนาขุดหลัง ระดับ 1
เปนเงินไมนอยกวาวันละหารอยแปดสิบหาบาท
-๒-

(9) สาขาอาชีพชางเครื่องกล สาขาพนักงานควบคุมเครื่องจักรรถขุด ระดับ 1 เปนเงิน


ไมนอยกวาวันละหารอยเจ็ดสิบบาท
(10) สาขาอาชีพชางเครื่องกล สาขาพนักงานควบคุมเครื่องจักรรถลากจูง ระดับ 1 เปนเงิน
ไมนอยกวาวันละ หารอยหาสิบหาบาท
(11) สาขาอาชีพชางเครื่องกล สาขาพนักงานควบคุมเครื่องจักรรถตัก ระดับ 1 เปนเงิน
ไมนอยกวาวันละหารอยยี่สิบบาท
(12) สาขาอาชีพภาคบริการ สาขานักสงเสริมสุขภาพแบบองครวม ไทยสัปปายะ (โภชนบำบัด)
ระดับ 1 เปนเงินไมนอยกวาวันละหารอยบาท และระดับ 2 เปนเงินไมนอยกวาวันละหกรอยบาท
(13) สาขาอาชีพภาคบริการ สาขานักสงเสริมสุขภาพแบบองครวม ไทยสัปปายะ (วารีบำบัด)
ระดับ 1 เปนเงินไมนอยกวาวันละหารอยบาท และระดับ 2 เปนเงินไมนอยกวาวันละหกรอยบาท
(14) สาขาอาชีพภาคบริการ สาขานักสงเสริมสุขภาพแบบองครวม ไทยสัปปายะ (สุคนธบำบัด)
ระดับ 1 เปนเงินไมนอยกวาวันละหารอยบาท และระดับ 2 เปนเงินไมนอยกวาวันละหกรอยบาท
(15) สาขาอาชีพภาคบริการ สาขาพนักงานผสมเครื่องดื่ม ระดับ 1 เปนเงินไมนอยกวาวันละ
สี่รอยเจ็ดสิบหาบาท ระดับ 2 เปนเงินไมนอยกวาวันละหารอยยี่สิบหาบาท และระดับ 3 เปนเงินไมนอยกวา
วันละหกรอยบาท
(16) สาขาอาชีพภาคบริการ สาขาการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย ระดับ 1 เปนเงินไมนอยกวาวันละ
หารอยสามสิบบาท
(17) สาขาอาชีพภาคบริการ สาขาชางเครื่องชวยคนพิการ ระดับ 1 เปนเงินไมนอยกวาวันละ
หารอยยี่สิบบาท และระดับ 2 เปนเงินไมนอยกวาวันละหกรอยบาท
ขอ 4 เพื่อประโยชนตามขอ 3 (1) ถึง (17) คำวา “วัน” หมายถึง เวลาทำงานปกติของลูกจาง
ขอ 5 นายจางที่ใหลูกจางทำงานในตำแหนงงานหรือลักษณะงานที่ตองใชทักษะฝมือ ความรู
ความสามารถตามมาตรฐานฝมือในสาขาอาชีพและระดับใด ไมวาจะครอบคลุมมาตรฐานฝมือนั้นทั้งหมดหรือสวนหนึ่ง
สวนใดก็ตาม ใหนายจางจายคาจางใหแกลูกจางไมนอยกวาอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือในสาขาอาชีพและระดับนั้น
ขอ 6 ภายใตบังคับขอ 5 ลูกจางที่ผานการทดสอบมาตรฐานฝมือในสาขาอาชีพและระดับใด
ไมวากอนหรือหลังประกาศนี้มีผลใชบังคับ หากประสงคจะใชสิทธิใหยื่นหนังสือรับรองวาเปนผูผานการทดสอบ
มาตรฐานฝมือในสาขาอาชีพและระดับนั้นแกนายจางโดยเร็ว
เมื่อนายจางไดรับหนังสือรับรองตามวรรคหนึ่งแลว ใหจายคาจางตามอัตราในประกาศนี้ใหแก
ลูกจางนับแตวันที่ไดหนังสือรับรองเปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ มกราคม พ.ศ. ๒๕66

(นายบุญชอบ สุทธมนัสวงษ)
ปลัดกระทรวงแรงงาน
ประธานกรรมการคาจาง

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เลม 140 ตอนพิเศษ 32 ง ลงวันที่ 10 กุมภาพันธ 2566


ใหมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 11 พฤษภาคม 2566 เปนตนไป
คำชี้แจง
ประกาศคณะกรรมการคาจาง
เรื่อง อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ (ฉบับที่ 12)

ตามที่คณะกรรมการคาจางไดออกประกาศคณะกรรมการคาจาง เรื่อง อัตราคาจางตามมาตรฐาน


ฝมือ (ฉบับที่ 12) ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2566 เพื่อกำหนดอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ สาขาอาชีพ
ช า งอุ ต สาหการ สาขาอาชี พชางเครื่ องกล และสาขาอาชีพภาคบริการ รวม 17 สาขา โดยใหมีผ ลใชบังคับ
เมื่อพนกำหนด 90 วันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป คือ ตั้งแตวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2566
เป น ต น ไป ดั งนั ้ น เพื ่ อให ผ ู  เ กี ่ ย วข องได มี ความเข าใจเกี่ ย วกับ การกำหนดอัตราค าจา งตามมาตรฐานฝ มื อ
คณะกรรมการคาจางจึงขอชี้แจงใหทราบทั่วกัน ดังนี้
1. การกำหนดอั ตราค า จ างตามมาตรฐานฝมือเปน อำนาจหนาที่ของคณะกรรมการคาจาง
ซึ่งเปนองคกรไตรภาคีตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ประกอบดวย ผูแทนฝายนายจาง ผูแทน
ฝายลูกจาง และผูแทนฝายรัฐบาล ฝายละ ๕ คนเทากัน
2. ในการพิ จ ารณากำหนดอัต ราคาจ างตามมาตรฐานฝมือ คณะกรรมการคาจา งไดศึกษา
และพิจารณาขอเท็จจริงตามหลักเกณฑที่กำหนดในมาตรา 87 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541
ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2560 คือ อัตราคาจางที่ลูกจางไดรับ
ในแตละสาขาอาชีพตามมาตรฐานฝมือที่กำหนดไว โดยวัดคาทักษะฝมือ ความรู และความสามารถ ซึ่งในการจัดทำ
อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ คณะกรรมการคาจางไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ
เพื่อศึกษาและจัดทำรางอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ รวม 17 สาขา โดยคณะกรรมการคาจางมีมติเห็นชอบ
เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2565
3. อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ หมายถึง อัตราคาจางที่คณะกรรมการคาจางกำหนดขึ้น
ในแต ล ะสาขาอาชีพ ในแตละสาขา และในแตละระดับตามมาตรฐานฝมือ ตามมาตรา ๕ แหงพระราชบัญญัติ
คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2551
4. มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาอาชีพชางเครื่องกล และ
สาขาอาชีพภาคบริการ รวม 17 สาขา สรุปไดดังนี้
๔.๑ นิยาม ตามความในพระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545
มาตรฐานฝมือแรงงาน หมายความวา ขอกำหนดทางวิชาการที่ใชเปนเกณฑวัดระดับฝมือ
ความรู ความสามารถ และทัศนคติในการทำงานของผูประกอบอาชีพในสาขาตาง ๆ ตามพระราชบัญญัตินี้
การทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน หมายความวา การทดสอบฝมือ ความรู ความสามารถ
และทัศนคติในการทำงานของผูประกอบอาชีพในสาขาตาง ๆ ตามพระราชบัญญัตินี้
ผูดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน หมายความวา ผูซึ่งไดรับอนุญาตใหดำเนินการ
ทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานตามพระราชบัญญัตินี้
ผูทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน หมายความวา ผูทำหนาที่ทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน
ใหแกผูเขารับการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน
ผูประกอบกิจการ หมายความวา ผูประกอบกิจการอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือ
ธุรกิจอยางอื่น ทั้งที่เปนนายจางและมิใชนายจางของผูรับการฝก
- ๒ -

นายจาง หมายความวา นายจางตามกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน


ลูกจาง หมายความวา ลูกจางตามกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน
นายทะเบียน หมายความวา อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย
อธิบดี หมายความวา อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
๔.๒ คุณสมบัติผูเขารับการทดสอบ และวิธีการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานฯ รายละเอียด
เปนไปตามประกาศคณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงานในแตละสาขาอาชีพ
๕. การพิจารณาของคณะกรรมการคาจางนี้อยูบนพื้นฐานของความเสมอภาค และรับฟงความคิดเห็น
ของทุกฝาย ผลการพิจารณาจะนำไปสูขอยุติที่เปนที่ยอมรับรวมกันของทุกฝาย เพื่อใหนายจางสามารถประกอบธุรกิจ
อยูได ลูกจางสามารถดำรงชีวิตอยูไดอยางเปนสุข ซึ่งเมื่อศึกษาและพิจารณาขอมูล ตามหลักเกณฑจะเห็นไดวา
แตละสาขาอาชีพมีมาตรฐานฝมือที่แตกตางกัน ดังนั้น จึงเปนการเหมาะสมที่จะกำหนดอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ
ที่แตกตางกันตามมาตรฐานฝมือในแตละสาขาอาชีพ ในแตละสาขา และในแตละระดับนั้น ๆ
๖. อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือตามประกาศฉบับนี้ไมมีผลบังคับใชกับราชการสวนกลาง
ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ นายจางที่จาง
ลูกจางทำงานเกี่ยวกับงานบานอันมิไดมีการประกอบธุรกิจรวมอยูดวย นายจางซึ่งจางลูกจางทำงานที่มิไดแสวงหากำไร
ในทางเศรษฐกิจ นายจางที่จางลูกจางในงานบรรทุกหรือขนถายสินคาเรือเดินทะเล นายจางที่ตกลงจางผูรับงาน
ไปทำที่บาน นายจางที่จางลูกจางในงานเกษตรกรรมซึ่งมิไดจางลูกจางทำงานตลอดป หรือมิไดใหลูกจางทำงาน
ในลักษณะที่เปนงานอุตสาหกรรมตอเนื่องจากงานเกษตรกรรม ๑ ดังกลาว 0

งานเกษตรกรรม ไดแก
งานที่เกี่ยวกับการเพาะปลูก เชน การทำนา ทำไร ทำสวน การปลูกพืช การเพาะพันธุ
การตัด เก็บเกี่ยวพืชผล การทำนุบำรุงดินเพื่องานเพาะปลูก
งานที่เกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว เชน การเพาะเลี้ยงสัตว การขยายพันธุสัตว การจับสัตว การเก็บ
บรรดาสิ่งทั้งปวงที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติของสัตว
งานที่เกี่ยวกับการปาไม เชน การตัด ฟน กาน โคน ลิด เลื่อย ผา ถาก ทอน ขุด
ชักลากไมในปา การทำสวนปา การเก็บหาของปา
งานที่เกี่ยวกับการทำนาเกลือสมุทร หมายถึง การใหไดมาซึ่งเกลือโดยการนำน้ำเค็มเขานา
หรือพื้นที่ราบ ซึ่งทำเปนคันกั้นน้ำเปนแปลง ๆ แลวตากใหแหงจนตกผลึกเปนเกลือ
งานที่เกี่ยวกับการประมงที่มิใชการประมงทะเล เชน การเพาะพันธุ การขยายพันธุ การเลี้ยง
จับ ดัก ลอ ทำอันตราย ฆา หรือเก็บสัตวน้ำ รวมถึงการเตรียมและการซอมบำรุงเครื่องมือทำการประมงดวย
๗. อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือนี้มุงที่จะคุมครองลูกจางที่ผานการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน
แหงชาติในแตละสาขาอาชีพและแตละระดับ ใหไดรับคาจางที่เหมาะสมและเปนธรรม
๘. นายจางที่จางลูกจางตามระดับมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ ใหจายคาจางไมนอยกวา
อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือที่กำหนด ไมวาลูกจางนั้นจะมีเชื้อชาติ สัญชาติ วัย หรือเพศใด สำหรับนายจางรายใด
ไดจายคาจางใหแกลูกจางเทากับหรือสูงกวาอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ ถือวานายจางรายนั้นปฏิบัติถูกตอง
ตามกฎหมายค าจา งตามมาตรฐานฝมื อแลว สว นนายจางรายใดที่ยังจายนอยกวาคาจางตามมาตรฐานฝมือ
ใหปรับคาจางใหไมนอยกวาอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ


คำชี้แจงกระทรวงแรงงาน เรื่อง กฎกระทรวงวาดวยการคุมครองแรงงานในงานเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๔๗ กระทรวงแรงงาน เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘
- ๓ -

สรุปมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ (ความรู ทักษะฝมือ และความสามารถที่สำคัญ)


และอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ รวม 17 สาขา

หนวย : บาท/วัน
มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ อัตราคาจางฯ
(ความรู ทักษะฝมือ และความสามารถ) ไมนอยกวา
1. สาขาอาชีพชางอุตสาหการ ไดแก
1.1 สาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาชางระบบสงถายกำลัง
ระดับ 1 หมายถึง ชางที่มีความรูทักษะพื้นฐานในดานความปลอดภัยทั่วไปในการปฏิบัติงาน 495
อุปกรณจับยึดตาง การใชเครื่องมือทั่วไป (Hand Tools) การใชเครื่องมือวัดทั่วไป
(Measuring Tools) การใชคณิตศาสตรพื้นฐาน (บวก ลบ คูณ หาร) การหารอยละ
และการแปลงหน ว ยของมาตราวั ด การอ า นแบบและสั ญ ลั ก ษณ อ ย า งง า ย
โครงสรางและการทำงานของระบบสงถายกำลัง การตรวจสอบและการบำรุงรักษา
ระบบสงถายกำลัง โดยมีผูแนะนำหรือคอยตรวจสอบให
1.2 สาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาชางระบบปมและวาลว
ระดับ 1 หมายถึง ชางที่มีความรูทักษะพื้นฐานในดานความปลอดภัยทั่วไปในการปฏิบัติงาน 515
การใชเครื่องมือวัดทั่วไป (Measuring Tools) การใชเครื่องมือทั่วไป (Hand Tools)
การใชคณิตศาสตรพื้นฐาน (บวก ลบ คูณ หาร) การหารอยละและการแปลงหนวย
ของมาตราวัด การอานแบบและสัญลักษณขั้นพื้นฐาน การจำแนกชนิดการใชงาน
ปมและวาลวรวมถึงอุปกรณประกอบที่เกี่ยวของ การตรวจสอบและการบำรุงรักษา
เบื้องตนของระบบปมและวาลว โดยมีผูแนะนำหรือคอยตรวจสอบให
1.3 สาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาชางประกอบโครงสรางเหล็ก
ระดับ 1 หมายถึง ผูที่มีฝมือและความรูพื้นฐานในการปฏิบัติงานที่ตองมีหัวหนางานชวยให 500
คำแนะนำหรือชวยตัดสินใจในเรื่องสำคัญเมื่อจำเปน และมีความสามารถในการตัด
ดัด พับ เจาะ เจียระไน ตกแตง และประกอบงานดวยการเชื่อมแท็ก
1.4 สาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาชางปรับ
ระดับ 1 หมายถึง ผูที่มีฝมือและความรูพื้นฐานในการปฏิบัติงานที่ตองมีหัวหนางานชวยให 500
คำแนะนำหรือชวยตัดสินใจในเรื่องสำคัญเมื่อจำเปน และเปนชางที่มีความรูและทักษะ
ในการใชเครื่องมือพื้นฐาน สรางชิ้นงานเพื่อนำไปประกอบกับชิน้ งานอื่น ๆ ตามแบบงาน
ที่กำหนดใหและมีเกณฑคลาดเคลื่อนไดไมเกิน ± 0.20 มิลลิเมตร
1.5 สาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาผูควบคุมระบบงานเชื่อมมิก - แม็ก ดวยหุนยนต
ระดับ 1 หมายถึง ชางที่มีความรูและความสามารถในการเตรียมความพรอมดานความปลอดภัย 520
ในการทำงาน สถานที่ปฏิบัติงาน การปองกันอันตรายสวนบุคคล หุนยนตเชื่อม
เครื่องเชื่อมพรอมอุปกรณประกอบ เครื่องมือที่ใชในการปฏิบัติงาน แกสปกคลุม
วัสดุ อุปกรณจับยึดชิ้นงานและทำงานตามแบบสั่งงาน การควบคุมการเคลื่อนที่
หุนยนตเชื่อม การเขียนโปรแกรม (teaching) การเรียกใชโปรแกรมการเชื่อมงานได
การใช เ ครื ่ อ งมื อ อุ ป กรณ ช  ว ยงานได อ ย า งถู ก ต อ งปลอดภั ย การตรวจสอบ
ขอบกพรองของชิ้นงาน การจัดเก็บเครื่องเชื่อมพรอมอุปกรณประกอบเครื่องมือที่ใช
ในการปฏิบัติงานและสถานที่ปฏิบัติงานได
- ๔ -

หนวย : บาท/วัน
มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ อัตราคาจางฯ
(ความรู ทักษะฝมือ และความสามารถ) ไมนอยกวา
1.6 สาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาชางเมคคาทรอนิกสและหุนยนตอุตสาหกรรม
ระดับ 1 หมายถึง ชางที่มีความรูและความสามารถในการอานแบบ เตรียมวัสดุอุปกรณ 545
ประกอบติ ดตั ้ ง และตรวจสอบการทำงานของระบบทางกล ระบบนิว แมติกส
ระบบไฟฟาอิเล็กทรอนิกส และการควบคุมหุนยนตอุตสาหกรรมเบื้องตน และ
คำนึงถึงความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
ระดับ 2 หมายถึง ชางที่มีความรูและความสามารถในการอานแบบ เตรียมวัสดุอุปกรณ ประกอบ 635
ติดตั้ง ศึกษาขั้นตอนการทำงานของเครื่องจักรและการเคลื่อนทีข่ องหุนยนต เขียนลำดับ
ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม (Flowchart) กำหนดตำแหนง Input และ Output
และตำแหนงการเคลื่อนที่ของหุนยนต เขียนโปรแกรม และตรวจสอบความถูกตอง
ของโปรแกรมควบคุมการทำงานของเครื่องจักรโดยใช PLC และโปรแกรมควบคุม
การทำงานของหุนยนตอุตสาหกรรม และคำนึงถึงความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
ระดับ 3 หมายถึง ชางที่มีความรูและความสามารถในการเขียนโปรแกรม PLC และ HMI 715
ตามฟงกชั่นการทำงาน เขียนโปรแกรมเพื่อการตรวจสอบการทำงานของระบบ
อัตโนมัติเขียนโปรแกรมเพื่อติดตอสื่อสารของระบบอัตโนมัติ บำรุงรักษาหุนยนต
อุตสาหกรรม ตรวจสอบ และแกไขขอผิดพลาดของระบบอัตโนมัติทางไฟฟา ระบบ
ทางกล และระบบการสื่อสาร และคำนึงถึงความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
2. สาขาอาชีพชางเครื่องกล ไดแก
2.1 สาขาอาชีพชางเครื่องกล สาขาชางซอมรถแทรกเตอรการเกษตร
ระดับ 1 หมายถึง ชางที่มีความรู ทักษะ ทัศนคติและกิจนิสัยอยูในระดับตน ทำหนาที่ถอด ลาง 465
ตรวจสภาพเบื้องตน ประกอบ ติดตั้ง บำรุงรักษา และปฏิบัติตามคำสั่งของหัวหนางาน
ระดับ 2 หมายถึง ชางที่มีความรู ทักษะ ทัศนคติ อยูในระดับ 2 สามารถตรวจวิเคราะหหาสาเหตุ 535
ขอขัดของเบื้องตน กำหนดงานซอมบำรุง ปรับตั้ง ปฏิบัติการซอมบำรุง สามารถใช
เครื่องมือพิเศษไดอยางถูกตอง เขียนรายงาน และทำประวัติรถแทรกเตอรการเกษตร
ตามอาการที่เกิดขึ้นใหหัวหนางานได
ระดับ 3 หมายถึง ชางที่มีความรู ทักษะ ทัศนคติอยูในระดับสูง มีความชำนาญในการตรวจ 620
วิเคราะหหาสาเหตุขอขัดของของระบบตาง ๆ สามารถใชเครื่องมือตรวจสอบและ
วิเคราะหทางอิเล็กทรอนิกสได กำหนดงานบริการ งานซอมบำรุง ปฏิบัติงานซอมบำรุง
ระบบตาง ๆ ของรถแทรกเตอรการเกษตร การจัดการดานเอกสาร และสามารถ
ถายทอดความรูได
2.2 สาขาอาชีพชางเครื่องกล สาขาพนักงานควบคุมเครื่องจักรรถตักหนาขุดหลัง
ระดับ 1 หมายถึง ผูที่มีความรู ความสามารถ ในการบังคับควบคุมเครื่องจักรรถตักหนาขุดหลัง 585
ใหสามารถทำงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และปลอดภัย ตลอดจนการทำงานไดตาม
วัตถุประสงคของงาน เชน ตัก ขุดดิน งานปรับพื้นผิวเอียง งานวางทอได เคลื่อนยาย
เครื่องจักรได รวมถึงการซอมบำรุงเครื่องจักรในเบื้องตนไดมีประสิทธิภาพสูงสุด
ตามมาตรฐานที่ผูผลิตกำหนดไว และมีเจตคติที่ดีในการทำงาน
- ๕ -

หนวย : บาท/วัน
มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ อัตราคาจางฯ
(ความรู ทักษะฝมือ และความสามารถ) ไมนอยกวา
2.3 สาขาอาชีพชางเครื่องกล สาขาพนักงานควบคุมเครื่องจักรรถขุด
ระดับ 1 หมายถึง ผูที่มีฝมือ ความรู ความสามารถ ทักษะ ในการใชเครื่องมืออุปกรณไดดี 570
สามารถวิ เ คราะห วิ นิ จ ฉัย ปญ หา การตัดสิน ใจ รูขั้น ตอนกระบวนการของงาน
เปนอยางดี สามารถชวยแนะนำงานฝมือผูใตบังคับบัญชาไดดี สามารถใชหนังสือคูมือ
นำความรูและทักษะมาประยุกตใชกับเทคโนโลยีใหมไดโดยเฉพาะการตัดสินใจ
และเลือกใชวิธีการที่เหมาะสม
2.4 สาขาอาชีพชางเครื่องกล สาขาพนักงานควบคุมเครื่องจักรรถลากจูง
ระดับ 1 หมายถึง ผูที่มีฝมือ ความรู ความสามารถ ทักษะ ในการใชเครื่องมืออุปกรณไดดี 555
สามารถวิ เ คราะห วิ นิ จ ฉัย ปญ หา การตัดสิน ใจ รูขั้น ตอนกระบวนการของงาน
เปนอยางดี สามารถชวยแนะนำงานฝมือผูใตบังคับบัญชาไดดี สามารถใชหนังสือคูมือ
นำความรูและทักษะมาประยุกตใชกับเทคโนโลยีใหมไดโดยเฉพาะการตัดสินใจ
และเลือกใชวิธีการที่เหมาะสม
2.5 สาขาอาชีพชางเครื่องกล สาขาพนักงานควบคุมเครื่องจักรรถตัก
ระดับ 1 หมายถึง ผูที่มีฝมือ ความรู ความสามารถ ทักษะ ในการใชเครื่องมืออุปกรณไดดี 520
สามารถวิเคราะหวินิจฉัยปญหา การตัดสินใจ รูขั้นตอนกระบวนการของงานเปน
อยางดี สามารถชวยแนะนำงานฝมือผูใตบังคับบัญชาไดดี สามารถใชหนังสือคูมือ
นำความรูและทักษะมาประยุกตใชกับเทคโนโลยีใหมได โดยเฉพาะการตัดสินใจ
และเลือกใชวิธีการที่เหมาะสม
3. สาขาอาชีพภาคบริการ ไดแก
3.1 สาขาอาชีพภาคบริการ สาขานักสงเสริมสุขภาพแบบองครวม ไทยสัปปายะ (โภชนบำบัด)
ระดับ 1 หมายถึง การสงเสริมสุขภาพแบบองครวม แบบพื้นฐานที่บุคคลทั่วไปสามารถดูแล 500
ตนเอง ผูอื่นไดภายใตคำแนะนำ และการสนับสนุนของผูที่มีความรู ความสามารถ
ระดับ 2 หมายถึง การดูแลสงเสริมสุขภาพแบบองครวม ที่ตองมีความรู ความสามารถและ 600
ความชำนาญในระดับที่สามารถบรรเทาอาการ และใหคำแนะนำเบื้องตนได ทั้งนี้
มิใชเปนการประกอบโรคศิลปะ
3.2 สาขาอาชีพภาคบริการ สาขานักสงเสริมสุขภาพแบบองครวม ไทยสัปปายะ (วารีบำบัด)
ระดับ 1 หมายถึง การสงเสริมสุขภาพแบบองครวม แบบพื้นฐานที่บุคคลทั่วไปสามารถดูแล 500
ตนเอง ผูอื่นไดภายใตคำแนะนำ และการสนับสนุนของผูที่มีความรู ความสามารถ
ระดับ 2 หมายถึง การดูแลสงเสริมสุขภาพแบบองครวม ที่ตองมีความรู ความสามารถและ 600
ความชำนาญในระดับที่สามารถบรรเทาอาการเจ็บปวยเบื้องตน และใหไปรักษา
ตนเองตอได ทั้งนี้มิใชเปนการประกอบโรคศิลปะ
3.3 สาขาอาชีพภาคบริการ สาขานักสงเสริมสุขภาพแบบองครวม ไทยสัปปายะ (สุคนธบำบัด)
ระดับ 1 หมายถึง การสงเสริมสุขภาพแบบองครวม แบบพื้นฐานที่บุคคลทั่วไปสามารถดูแล 500
ตนเอง ผูอื่นไดภายใตคำแนะนำ และการสนับสนุนของผูที่มีความรู ความสามารถ
ระดับ 2 หมายถึง การดูแลสงเสริมสุขภาพแบบองครวม ที่ตองมีความรู ความสามารถและ 600
ความชำนาญในระดับที่สามารถบรรเทาอาการ และใหคำแนะนำเบื้องตนได ทั้งนี้
มิใชเปนการประกอบโรคศิลปะ
- ๖ -

หนวย : บาท/วัน
มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ อัตราคาจางฯ
(ความรู ทักษะฝมือ และความสามารถ) ไมนอยกวา
3.4 สาขาอาชีพภาคบริการ สาขาพนักงานผสมเครื่องดื่ม
ระดับ 1 หมายถึ ง ผู ช ว ยบาร (Bar Helper) หมายถึ ง พนักงานที่เปน ผูชว ยงานในบาร 475
โดยยังไมมีหนาที่ผสมเครื่องดื่มหรือเสิรฟเครื่องดื่ม
ระดับ 2 หมายถึง พนักงานผสมเครื่องดื่ม (Bartender) หมายถึง พนักงานที่มีหนาที่เตรียม 525
และผสมเครื่องดื่มขึ้นอยูกับมาตรฐานและเทคนิคตาง ๆ
ระดับ 3 หมายถึง หัวหนาบาร (Bar Supervisor/Captain) หมายถึง หัวหนาผูควบคุมดูแล 600
พนักงานผสมเครื่องดื่ม โดยมีหนาที่ประสานกิจกรรมทั้งหมดที่เกี่ยวกับการเตรียม
และการผสมเครื่องดื่มตามที่กำหนด
3.5 สาขาอาชีพภาคบริการ สาขาการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย
ระดับ 1 หมายถึง บุคคลที่มี ความรู ความสามารถ ทักษะ มีคุณธรรมในการทำหน า ที่ 530
ชวยเหลือบิดา มารดา หรือครู ในการอบรมเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กอายุต่ำกวา 6 ป
3.6 สาขาอาชีพภาคบริการ สาขาชางเครื่องชวยคนพิการ
ระดับ 1 หมายถึง ชางที่มีความรู ความสามารถระดับพื้นฐาน การตัดสินใจปานกลาง มีหัวหนางาน 520
ช ว ยให คำแนะนำ หรื อตัดสิน ใจ หรือคอยตรวจสอบในเรื่องสำคัญ เมื่อจำเปน
ปฏิบัติงานดานผลิต ประดิษฐ ตกแตงและแกไขขาเทียมระดับใตเขาและระดับ
เหนือเขา ชนิดตอขามาตรฐาน ซอมบำรุงรถนั่ง คนพิการซึ่งบำรุงเครื่องชวยเดิน
ทำอุปกรณพยุงสนเทาและฝาเทาสำหรับปองกันแผลกดทับที่ฝาเทาสำหรับผูปวย
ที่เปนโรคเบาหวานและผูปวยที่มีปญหาที่เทา
ระดับ 2 หมายถึง ชางที่มีความรู ความสามารถสูง ใชเครื่องมือ และอุปกรณไดดี การตัดสินใจ 600
สูงกวาชางระดับ 1 และสามารถใหคำแนะนำชางระดับ 1 ได ปฏิบัติงานดานผลิต
ประดิษฐ ตกแตง และแกไขขาเทียมระดับใตเขาและระดับเหนือเขาชนิดตอขามีปญหา
ซับซอน ทำอุปกรณพยุงสนเทาและฝาเทาสำหรับรักษาเทาผูปวยโรคเบาหวานและ
ผูปวยที่มีปญหาที่เทาชนิดที่มีแผลกดทับ ซอมแซม บำรุงรักษาเครื่องมือพื้นฐาน
เครื่องมือกล และเครื่องจักรกล และใชเครื่องมือไดถูกตอง
หมายเหตุ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมไดดังนี้
1. เรื่อง มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ คุณสมบัติผูเขารับการทดสอบ และวิธีการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานฯ ที่
เว็บไซตของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน www.dsd.go.th หรือ www.dsd.go.th/standard หรือ สอบถามไดที่ กรมพัฒนาฝมือ
แรงงาน สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝมือแรงงาน กลุมงานกำหนดมาตรฐานฝมือแรงงาน โทรศัพท ๐ ๒๖๔๓ ๔๙๘๗
กลุมงานสงเสริมการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน โทรศัพท 0 2245 4837
2. เรื่อง อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ ที่เว็บไซตของกระทรวงแรงงาน www.mol.go.th หัวขออัตราคาจางขั้นต่ำ
หรือสอบถามไดที่สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน กองเศรษฐกิจการแรงงาน สำนักงานคณะกรรมการคาจาง โทรศัพท
0 2232 1137-39, 0 2232 1245
จึงชี้แจงมาเพื่อทราบ และขอความรวมมือเจาของสถานประกอบกิจการปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการ
คาจาง เรื่อง อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ (ฉบับที่ 12) ดังกลาวโดยทั่วกัน
กระทรวงแรงงาน
10 มกราคม 2566
ตารางสรุปอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ 129 สาขา
ไมมีมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติตามระดับนั้น ๆ มีมาตรฐานฝมือฯ แตไมมีการกําหนดอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ เนื่องจากยังไมมีวิธีการทดสอบฯ
(หนวย : บาท ตอ วัน)
ประกาศคณะกรรมการคาจาง เรื่อง อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ
ฉบับที่ 9 ฉบับที่ 10 ฉบับที่ 11 ฉบับที่ 12
ลําดับ สาขาอาชีพ/กลุมอุตสาหกรรม

(สาขา)
มีผลใชบังคับวันที่ 1 พ.ค. 63 มีผลใชบังคับวันที่ 15 ก.ค. 64 มีผลใชบังคับวันที่ 7 ก.ย. 65 มีผลใชบังคับวันที่ 11 พ.ค. 66
ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3
1. สาขาอาชีพชางเครื่องกล
1 1.1 ชางสีรถยนต 440 515 585
2 1.2 ชางเคาะตัวถังรถยนต 465 560 650
3 1.3 ชางซอมรถยนต 400 490 585
4 1.4 ชางบํารุงรักษารถยนต 375 440
5 1.5 ชางซอมเครื่องยนตดีเซล 400 490 585
6 1.6 ชางเครื่องปรับอากาศรถยนตขนาดเล็ก 400 490 585
7 1.7 พนักงานควบคุมเครื่องจักรรถยกไฟฟา 430
8 1.8 พนักงานควบคุมเครื่องจักรรถยกใชเครื่องยนต 430
9 1.9 ชางตั้งศูนยและถวงลอรถยนต 415
10 1.10 ชางซอมรถจักรยานยนต 415
11 1.11 ชางซอมรถแทรกเตอรการเกษตร 465 535 620
12 1.12 พนักงานควบคุมเครื่องจักรรถตักหนาขุดหลัง 585
13 1.13 พนักงานควบคุมเครื่องจักรรถขุด 570
14 1.14 พนักงานควบคุมเครื่องจักรรถลากจูง 555
15 1.15 พนักงานควบคุมเครื่องจักรรถตัก 520

หนา 1 / 6
ประกาศคณะกรรมการคาจาง เรื่อง อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ
ฉบับที่ 9 ฉบับที่ 10 ฉบับที่ 11 ฉบับที่ 12
ลําดับ สาขาอาชีพ/กลุมอุตสาหกรรม

(สาขา)
มีผลใชบังคับวันที่ 1 พ.ค. 63 มีผลใชบังคับวันที่ 15 ก.ค. 64 มีผลใชบังคับวันที่ 7 ก.ย. 65 มีผลใชบังคับวันที่ 11 พ.ค. 66
ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3
2. สาขาอาชีพภาคบริการ
16 2.1 ผูประกอบอาหารไทย 440 565
17 2.2 พนักงานนวดไทย 485 640 795
18 2.3 นักสงเสริมสุขภาพแบบองครวม สปาตะวันตก (หัตถบําบัด) 540 715
19 2.4 นักสงเสริมสุขภาพแบบองครวม สปาตะวันตก (สุคนธบําบัด) 595 790
20 2.5 นักสงเสริมสุขภาพแบบองครวม สปาตะวันตก (วารีบําบัด) 625 825
21 2.6 นักสงเสริมสุขภาพแบบองครวม สปาตะวันตก (โภชนบําบัด) 680 900
22 2.7 นักสงเสริมสุขภาพแบบองครวม ไทยสัปปายะ (หัตถบําบัด) 460 575
23 2.8 ผูประกอบขนมอบ 400 505
24 2.9 พนักงานตอนรับสวนหนา 440 565
25 2.10 พนักงานแผนกบริการอาหารและเครื่องดื่มในธุรกิจโรงแรมและภัตตาคาร 440
26 2.11 ชางแตงผมสตรี 440 510 650
27 2.12 ชางแตงผมบุรุษ 430 500 630
28 2.13 การดูแลผูสูงอายุ 500
29 2.14 นักสงเสริมสุขภาพแบบองครวม ไทยสัปปายะ (โภชนบําบัด) 500 600
30 2.15 นักสงเสริมสุขภาพแบบองครวม ไทยสัปปายะ (วารีบําบัด) 500 600
31 2.16 นักสงเสริมสุขภาพแบบองครวม ไทยสัปปายะ (สุคนธบําบัด) 500 600
32 2.17 พนักงานผสมเครื่องดื่ม 475 525 600
33 2.18 การเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย 530
34 2.19 ชางเครื่องชวยคนพิการ 520 600
3. สาขาอาชีพชางไฟฟา อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร
35 3.1 ชางซอมไมโครคอมพิวเตอร 440 550 660
36 3.2 ชางไฟฟาภายในอาคาร 440 550 660
37 3.3 ชางไฟฟาอุตสาหกรรม 440 550 660
38 3.4 ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก 440 550 660
39 3.5 ชางอิเล็กทรอนิกส (โทรทัศน) 440 550
40 3.6 ชางไฟฟาภายนอกอาคาร 450
41 3.7 ชางโทรคมนาคม
ุ (ไมโครเวฟและการสื่อสารดาวเทียม) 450
42 (Programmable Logic Controller : PLC) 450 540
43 3.9 ชางไฟฟาสําหรับอุตสาหกรรมการจัดประชุม การเดินทางเพื่อเปนรางวัล
440
และการแสดงสินคา (MICE : Meetings Incentives Conventions Exhibitions)
44 3.10 ชางติดตั้งระบบโซลารเซลล หนา 2 / 6 450
ประกาศคณะกรรมการคาจาง เรื่อง อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ
ฉบับที่ 9 ฉบับที่ 10 ฉบับที่ 11 ฉบับที่ 12
ลําดับ สาขาอาชีพ/กลุมอุตสาหกรรม

(สาขา)
มีผลใชบังคับวันที่ 1 พ.ค. 63 มีผลใชบังคับวันที่ 15 ก.ค. 64 มีผลใชบังคับวันที่ 7 ก.ย. 65 มีผลใชบังคับวันที่ 11 พ.ค. 66
ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3
4. สาขาอาชีพชางอุตสาหการ
45 4.1 ชางเขียนแบบเครื่องกลดวยคอมพิวเตอร 510 585 740
46 4.2 ชางเชื่อมแม็ก 440 550 660
47 4.3 ชางเชื่อมทิก 505 680 855
48 4.4 ชางเชื่อมทอพอลิเอทีลีนความหนาแนนสูง 510
49 4.5 ชางประกอบทอ 440
50 4.6 ชางทําแมพิมพฉีดโลหะ 530
51 4.7 ชางกลึง 460 540 630
52 4.8 ชางควบคุมเครื่องกลึง CNC 470 555 675
53 4.9 ชางควบคุมเครื่อง Wire Cut 480
54 4.10 ชางเชื่อมอารกโลหะดวยมือ 465 550 630
55 1.11 ชางระบบสงถายกําลัง 495
56 1.12 ชางระบบปมและวาลว 515
57 1.13 ชางประกอบโครงสรางเหล็ก 500
58 1.14 ชางปรับ 500
59 1.15 ผูควบคุมระบบงานเชื่อมมิก - แม็ก ดวยหุนยนต 520
60 1.16 ชางเมคคาทรอนิกสและหุนยนตอุตสาหกรรม 545 635 715
5. สาขาอาชีพชางกอสราง
61 5.1 ชางไมกอสราง 425 545 670
62 5.2 ชางกออิฐ 380 515 645
63 5.3 ชางฉาบปูน 425 545 670
64 5.4 ชางอะลูมิเนียมกอสราง 405 525 645
65 5.5 ชางหินขัด 440
66 5.6 ชางฉาบยิปซัม 440
67 5.7 ชางมุงหลังคากระเบื้องคอนกรีต 440 565 685
68 5.8 ชางติดตั้งยิปซัม 450 595
69 5.9 ชางเขียนแบบกอสรางดวยคอมพิวเตอร 645
70 5.10 ชางปูกระเบื้องผนังและพื้น 450 550 650
71 5.11 ชางสีอาคาร 465 600
72 5.12 ชางกอและติดตั้งคอนกรีตมวลเบา 475 575

หนา 3 / 6
ประกาศคณะกรรมการคาจาง เรื่อง อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ
ฉบับที่ 9 ฉบับที่ 10 ฉบับที่ 11 ฉบับที่ 12
ลําดับ สาขาอาชีพ/กลุมอุตสาหกรรม

(สาขา)
มีผลใชบังคับวันที่ 1 พ.ค. 63 มีผลใชบังคับวันที่ 15 ก.ค. 64 มีผลใชบังคับวันที่ 7 ก.ย. 65 มีผลใชบังคับวันที่ 11 พ.ค. 66
ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3
6. สาขาอาชีพชางอุตสาหกรรมศิลป
73 6.1 ชางเย็บ 345 410 550
74 6.2 ชางเครื่องประดับ (ประดับอัญมณี) 440 605 825
75 6.3 ชางเครื่องเรือนไม 370 425 480
76 6.4 ชางบุครุภัณฑ 355 410 465
77 6.5 ชางสีเครื่องเรือน 385 495
78 6.6 ชางเครื่องประดับ (รูปพรรณ) 450 550 650
79 6.7 ชางประกอบติดตั้งเฟอรนิเจอร 430 550
80 6.8 ชางฝมือเครื่องประดับแนวอนุรักษ (เทคนิคโบราณ) 525
81 6.9 ชางเครื่องถม 625
7. กลุมอุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส
82 7.1   พนักงานประกอบอุปกรณไฟฟาแสงสวาง 400 475
83 7.2   พนักงานประกอบมอเตอรสําหรับเครื่องใชไฟฟา 410 490
84 7.3 ชางเทคนิคบํารุงรักษาเครื่องจักรกลสําหรับอุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิก 455 540
85 7.4   ชางเทคนิคระบบรักษาความปลอดภัย 440 530
8. กลุมอุตสาหกรรมชิ้นสวนและอะไหลยานยนต
86 8.1   ชางกลึงสําหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวนยานยนต 440 530
87 8.2 ชางเชื่อมมิก-แม็กสําหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวนยานยนต 440 530
88 8.3 ชางเทคนิคบํารุงรักษาเครื่องจักรกลสําหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวนยานยนต 440 530
89 8.4 ชางเทคนิคเครื่องกลึงอัตโนมัติสําหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวนยานยนต 440 530
9. กลุมอุตสาหกรรมยานยนต
90 9.1   ชางเทคนิคพนสีตัวถังสําหรับอุตสาหกรรมผลิตรถยนต 440 530
91 9.2   ชางเทคนิคพนซีลเลอรตัวถังสําหรับอุตสาหกรรมผลิตรถยนต 440 530
92 9.3  พนักงานประกันคุณภาพผลิตภัณฑยานยนต (ขั้นสุดทาย) 440 530
93 9.4   ชางเทคนิคเชื่อมสปอตตัวถังสําหรับอุตสาหกรรมผลิตรถยนต 440 530
10. กลุมอุตสาหกรรมอัญมณี
94 10.1   ชางเจียระไนพลอย 465 605
95 10.2    ชางหลอเครื่องประดับ 465 605
96 10.3   ชางตกแตงเครื่องประดับ 465 605
97 10.4    ชางฝงอัญมณีบนเครื่องประดับ 465 605

หนา 4 / 6
ประกาศคณะกรรมการคาจาง เรื่อง อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ
ฉบับที่ 9 ฉบับที่ 10 ฉบับที่ 11 ฉบับที่ 12
ลําดับ สาขาอาชีพ/กลุมอุตสาหกรรม

(สาขา)
มีผลใชบังคับวันที่ 1 พ.ค. 63 มีผลใชบังคับวันที่ 15 ก.ค. 64 มีผลใชบังคับวันที่ 7 ก.ย. 65 มีผลใชบังคับวันที่ 11 พ.ค. 66
ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3
11. กลุมอุตสาหกรรมโลจิสติกส
98 11.1   นักบริหารการขนสงสินคาทางถนน 460 550
99 11.2   ผูควบคุมรถยกสินคาขนาดไมเกิน 10 ตัน 400 475
100 11.3   ผูควบคุมสินคาคงคลัง 385 465
101 11.4   ผูปฏิบัติการคลังสินคา 375 455
12. กลุมอุตสาหกรรมจักรกลและโลหะการ
102 12.1 ชางเทคนิคเขียนแบบเครื่องกล 510 605
103 12.2  ชางเชื่อมทิกสําหรับอุตสาหกรรมจักรกลและโลหะการ 550 660
104 12.3   ชางเทคนิคระบบสงกําลัง 495 595
105 12.4   ชางเทคนิคระบบไฮโดรลิก 510 605
13. กลุมอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและเครื่องทําความเย็น
106 13.1 ชางเชื่อมระบบทอในอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและเครื่องทําความเย็น 440 535
107 13.2   ชางเทคนิคเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ 425 520
108 13.3   ชางเทคนิคหองเย็นขนาดเล็ก 425 520
109 13.4   พนักงานประกอบเครื่องปรับอากาศ 410 505
14. กลุมอุตสาหกรรมแมพิมพ
110 14.1    ชางเทคนิคเครื่องกัดอัตโนมัติ 495 595
111 14.2 ชางเทคนิคเครื่องอีดีเอ็ม 475 570
112 14.3  ชางเทคนิคเครื่องไวรคัทอีดีเอ็ม 475 570
113 14.4  ชางขัดเงาแมพิมพ 420 505
15. กลุมอุตสาหกรรมเหล็ก
114 15.1   พนักงานหลอมเหล็กเตาอารคไฟฟา 515 620
115 15.2   พนักงานปรุงแตงน้ําเหล็กในเตาปรุงน้ําเหล็ก (Ladle Furnace) 535 640
116 15.3   พนักงานหลอเหล็ก 490 600
117 15.4   พนักงานควบคุมการอบเหล็ก 470 575
16. กลุมอุตสาหกรรมพลาสติก
118 16.1   ชางเทคนิคเครื่องฉีดพลาสติก 405 480
119 16.2   ชางเทคนิคเครื่องเปาถุงพลาสติก 405 480
120 16.3   ชางเทคนิคเครื่องเปาภาชนะกลวง 405 480
121 16.4   ชางเทคนิคการซอมเครื่องเปาถุงพลาสติก 440 515

หนา 5 / 6
ประกาศคณะกรรมการคาจาง เรื่อง อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ
ฉบับที่ 9 ฉบับที่ 10 ฉบับที่ 11 ฉบับที่ 12
ลําดับ สาขาอาชีพ/กลุมอุตสาหกรรม

(สาขา)
มีผลใชบังคับวันที่ 1 พ.ค. 63 มีผลใชบังคับวันที่ 15 ก.ค. 64 มีผลใชบังคับวันที่ 7 ก.ย. 65 มีผลใชบังคับวันที่ 11 พ.ค. 66
ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3
17. กลุมอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร
122 17.1 พนักงานเตรียมวัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรไมจริง 350 380
123 17.2   พนักงานผลิตชิ้นสวนเฟอรนิเจอรไมจริงดวยเครื่องจักรอัตโนมัติ 395 455
124 17.3   พนักงานประกอบเฟอรนิเจอรไมจริง 365 415
125 17.4   ชางทําสีเฟอรนิเจอรไมจริง 375 415
18. กลุมอุตสาหกรรมรองเทา
126 18.1 พนักงานตัดวาดรองเทา 395 435
127 18.2 พนักงานอัดพื้นรองเทา 405 450
128 18.3 ชางเย็บรองเทา 405 450
129 18.4 พนักงานประกอบรองเทา (เย็น) 385 415

หมายเหตุ
1. อัตราคาจางตามประกาศคณะกรรมการคาจาง เรื่อง อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ (ฉบับที่ 9) ลงวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2563 มีผลใชบังคับในวันที่ 1 พฤษภาคม 2563
2. อัตราคาจางตามประกาศคณะกรรมการคาจาง เรื่อง อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ (ฉบับที่ 10) ลงวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2564 มีผลใชบังคับในวันที่ 15 กรกฎาคม 2564
3. อัตราคาจางตามประกาศคณะกรรมการคาจาง เรื่อง อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ (ฉบับที่ 11) ลงวันที่ 11 กุมภาพันธ พ.ศ. 2565 มีผลใชบังคับในวันที่ 7 กันยายน 2565
4. อัตราคาจางตามประกาศคณะกรรมการคาจาง เรื่อง อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ (ฉบับที่ 12) ลงวันที่ 10 มกราคม 2566 มีผลใชบังคับในวันที่ 11 พฤษภาคม 2566
5. สามารถดาวนโหลดประกาศคณะกรรมการคาจาง ไดทางเวบไซตกระทรวงแรงงาน "www.mol.go.th" หัวขอ "อัตราคาจางขั้นต่ํา"

หนา 6 / 6

You might also like