Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 14

แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเล่มนีจ

้ ัดทำขึน
้ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล
สำหรับศึกษาวิเคราะห์
แยกแยะนักเรียน เพื่อหาความแตกต่างระหว่างบุคคล เกี่ยวกับความ
พร้อมด้านความรู้พ้น
ื ฐาน
และประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ก่อน ที่จะให้ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้วิชาหรือ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ใด ๆ
ของแต่ละระดับชัน
้ ตลอดทัง้ ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับความพร้อมด้าน
พฤติกรรม และองค์ประกอบ
ความพร้อมด้านต่าง ๆ ดังนี ้
1. ด้านความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์
2. ความพร้อมด้านสติปัญญา
3. ความพร้อมด้านพฤติกรรม
4. ความพร้อมด้านร่างกาย
5. ความพร้อมด้านสังคม
การวิเคราะห์ผู้เรียนมีการดำเนินการ ดังนี ้
1. เก็บรวบรวมข้อมูลในวิชาที่ต้องการวิเคราะห์จากครูคนเดิมในปี
การศึกษา
ที่ผ่านมา หรือจัดสร้างเครื่องมือ แบบทดสอบวิชานัน
้ ๆ ขึน
้ ใหม่
แล้วนำมาใช้ทดสอบผู้เรียนทุกคน
2. นำข้อมูลมาศึกษาวิเคราะห์ หรือแยกแยะตามความเป็ น
จริง พร้อมจัดกลุ่มผู้เรียน

คู่มือแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ หน้า 1


ออกเป็ น กลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลาง (หรือผ่านเกณฑ์) และกลุ่มที่
ต้องปรับปรุงแก้ไข
3. การวิเคราะห์ผเู้ รียนจะพิจารณาทัง้ ความพร้อมด้านความรู้
ความสามารถ สติปัญญา
และความพร้อมด้านอื่น ๆ ของผูเ้ รียนควบคู่กันไปด้วย
4. สำหรับนักเรียนที่มีความพร้อมต่ำกว่าเกณฑ์ที่
กำหนด ผู้สอนจะรีบดำเนินการปรับปรุง
แก้ไขให้มีความพร้อมดีขน
ึ ้ ก่อน จึงค่อยดำเนินการจัดการเรียนรู้ใน
ระดับชัน
้ ที่จะทำการสอน
ส่วนความพร้อมด้านอื่น ๆได้พยายามปรับปรุงแก้ไขให้ดีขน
ึ ้ ในลำดับ
ต่อไป

คู่มือแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ หน้า 2


แนวคิด วัตถุประสงค์
และขอบเขตของการวิเคราะห์ผู้เรียน

1. แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียน
์ างการ
1) การจัดการเรียนรู้ให้ประสบความสำเร็จ มีผลสัมฤทธิท
เรียนสูง ผูเ้ รียน
ควรมีความพร้อมที่ดีในทุก ๆ ด้าน ดังนัน
้ ก่อนจะเริ่มดำเนินการ
สอนวิชาใด ๆ ควรมีการศึกษา
วิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล เกี่ยวกับ
- ความพร้อมด้านความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์
- ความพร้อมด้านสติปัญญา
- ความพร้อมด้านร่างกาย
- ความพร้อมด้าน สังคม
2) ก่อนจะเริ่มดำเนินการจัดการเรียนรู้วิชาใด ๆ ผู้สอนควร
ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียน
ให้ร้ถ
ู ึงความแตกต่างระหว่างบุคคลในแต่ละด้าน หากพบผู้เรียนคนใดมี
ข้อบกพร่องด้านใดควร
ปรับปรุงแก้ไขให้มีความพร้อมที่ดีขน
ึ ้ ก่อน
3) การเตรียมความพร้อม หรือการแก้ไขข้อบกพร่อง
สำหรับนักเรียนที่ยังขาด

คู่มือแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ หน้า 3


ความพร้อมในด้านใด ๆ ควรใช้กิจกรรมหลาย ๆ แบบ หรือใช้
เทคนิควิธีการที่เหมาะสม จน
ผู้เรียนมีความพร้อมดีขน
ึ้

2) วัตถุประสงค์การวิเคราะห์ผู้เรียน
1) เพื่อศึกษา วิเคราะห์ แยกแยะเกี่ยวกับความพร้อมของผู้เรียน
ในแต่ละด้านเป็ น
รายบุคคล
2) เพื่อให้ครูผู้สอนรู้จักนักเรียนเป็ นรายบุคคล และหาทางช่วย
เหลือผู้เรียนที่มีข้อ
บกพร่องให้มีความพร้อมที่ดีขน
ึ้
3) เพื่อให้ผู้สอนได้จัดเตรียมการสอน สื่อ หรือนวัตกรรม
สำหรับดำเนินการจัด
การเรียนรู้แก่ผู้เรียนได้สอดคล้องเหมาะสม ตรงตาม
ความต้องการของผู้เรียน
มากยิ่งขึน

3) ขอบเขตของการวิเคราะห์ผู้เรียน
การวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อแยกแยะหาความแตกต่างระหว่างบุคคลในเรื่อง
ต่าง ๆ ดังต่อไปนี ้
1) ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์
(1) ความรู้พ้น
ื ฐานของวิชาที่จะทำการสอนในระดับชัน
้ นัน
้ ๆ
(2) ความสามารถในการแก้ปัญหา
(3) ความสนใจและสมาธิในการเรียนรู้

คู่มือแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ หน้า 4


2) ความพร้อมด้านสติปัญญา
(1) ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์
(2) ความมีเหตุผล
(3) ความสามารถในการเรียนรู้ / การลำดับความ
3) ความพร้อมด้านพฤติกรรม
(1) การแสดงออก
(2) การควบคุมอารมณ์
(3) ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร อดทน
(4) ความรับผิดชอบ
4) ความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ
(1) ด้านสุขภาพร่างกายสมบูรณ์
(2) การเจริญเติบโตสมวัย
(3) ความสมบูรณ์ด้านสุขภาพจิต
5) ความพร้อมด้านสังคม
(1) การปรับตัวเข้ากับคนอื่น
(2) การช่วยเหลือ เสียสละ แบ่งปั น
(3) การเคารพ ครู กติกา และมีระเบียบวินัย

คู่มือแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ หน้า 5


คู่มือแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ หน้า 6
แบบสรุปผลการวิเคราะห์
ผู้เรียน

คู่มือแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ หน้า 7


สรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล รายวิชาพลศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๖
เกณฑ์การประเมิน ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.49 หมายถึง ปรับปรุง
ค่าเฉลี่ย 1.50 – 1.99 หมายถึง ปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 2.00 – 3.00 หมายถึง ดี
ผลการประเมินวิเคราะห์ผู้ สรุปผล
เรียน
ด้าน
รายการวิเคราะห์ผู้เรียน ปาน ปรับปรุง ความ
ที่ ดี
กลาง แก้ไข หมาย
(3)
(2) (1)
1. ด้านความรู้ความสามารถ
และ
ประสบการณ์ ๒๖ ๑๘ ๖ ๘๐.๐๐ ดี
1. ความรู้พ้น
ื ฐาน
2. ความสามารถในการ ๒๒ ๒๔ ๔ ๗๘.๖๗ ดี
แก้ปัญหา
3. ความสนใจ/สมาธิ ๒๘ ๑๖ ๖ ๘๑.๓๓ ดี
การเรียนรู้
2. ความพร้อมด้านสติปัญญา
1. ความคิดริเริ่ม ๑๖ ๒๒ ๑๒ ๖๙.๓๓ ปาน

คู่มือแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ หน้า 8


สร้างสรรค์ กลาง
2. ความมีเหตุผล ๑๖ ๒๒ ๑๒ ๖๙.๓๓ ปาน
กลาง
3. ความสามารถในการ ๒๐ ๒๐ ๑๐ ๗๓.๓๓ ดี
เรียนรู้
3. ความพร้อมด้านพฤติกรรม
1. การแสดงออก ๑๖ ๒๒ ๑๒ ๖๙.๓๓ ปาน
กลาง
2. การควบคุมอารมณ์ ๑๖ ๒๒ ๑๒ ๖๙.๓๓ ปาน
กลาง
3. ความมุ่งมั่นขยันหมั่น ๒๐ ๒๐ ๑๐ ๗๓.๓๓ ดี
เพียร
4. ความพร้อมด้านร่างกาย
และจิตใจ ๒๖ ๑๘ ๖ ๘๐.๐๐ ดี
1. สุขภาพร่างกาย
สมบูรณ์
2. การเจริญเติบโต ๒๒ ๒๔ ๔ ๗๘.๖๗ ดี
สมวัย
3. ด้านสุขภาพจิต ๒๘ ๑๖ ๖ ๘๑.๓๓ ดี
5. ความพร้อมด้านสังคม
1. การปรับตัวเข้ากับผู้ ๒๖ ๑๘ ๖ ๘๐.๐๐ ดี
อื่น
2. การเสียสละไม่เห็น ๒๒ ๒๔ ๔ ๗๘.๖๗ ดี
แก่ตัว
3. มีระเบียบวินัยเคารพ ๒๘ ๑๖ ๖ ๘๑.๓๓ ดี
กฎกติกา
เฉลี่ยรวม ๗๖.๒๗ ดี

คู่มือแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ หน้า 9


จากตารางสรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียน ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๖
จำนวน ๕๐ คน ปรากฏว่า นักเรียนส่วนมากของห้อง (50 % ขึน
้ ไป) มี
ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ทางภาษา ความพร้อม
ด้านสติปัญญา ความพร้อมด้านพฤติกรรม ความพร้อมด้านสังคม ความพร้อม
ด้านสุขภาพ กาย จิตใจ อยู่ในระดับดี

ลงชื่อ....................
......................
(นายถวัลย์
สุวรรณอินทร์)
วันที่ ๒๕ เดือน
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

คู่มือแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ หน้า 10


การสร้างเครื่องมือเพื่อ
การวิเคราะห์ผู้เรียน

คู่มือแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ หน้า 11


แนวทางในการสร้างเครื่องมือเพื่อวิเคราะห์
ผู้เรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……

การสร้างเครื่องมือสำหรับนำมาทดสอบ หรือตรวจสอบผู้เรียน เพื่อใช้เป็ น


ข้อมูลสำหรับวิเคราะห์
ผู้เรียนถือเป็ นเรื่องที่มีความจำเป็ นและมีความสำคัญมาก ซึ่งสามารถทำได้หลาย
แนวทาง แต่ในที่นี ้ ผู้สอน
เลือกปฏิบัติแบบง่าย ๆ 2 แนวทาง ดังนี ้
แนวทางที่ 1 นำผลการประเมินปลายปี การศึกษาที่ผ่านมา
ตลอดทัง้ ข้อมูลด้านต่าง ๆที่ครู
ได้เก็บรวบรวมไว้ นำมาวิเคราะห์แยกแยะตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 3 ระดับ คือ
ระดับที่ 1 ต้องปรับปรุงแก้ไข

คู่มือแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ หน้า 12


ระดับที่ 2 ปานกลาง (ผ่านเกณฑ์)
ระดับที่ 3 ระดับดี – ดีมาก
การดำเนินการแยกแยะข้อมูลของนักเรียนเป็ นรายบุคคลในแต่ละด้าน
แล้วนำมากรอกข้อมูลลง
ในแบบวิเคราะห์ผเู้ รียนรายบุคคล จากนัน
้ ได้ประมวลผลข้อมูลสรุปกรอกลงใน
แบบสรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียน
เมื่อได้ข้อสรุปแล้วนำไปกำหนดแนวทางในการแก้ไขนักเรียนที่ควรปรับปรุงเรื่อง
ต่าง ๆ ในแต่ละด้านต่อไป
แนวทางที่ 2 ครูผู้สอนสร้างเครื่องมือหรือแบบทดสอบเอง ให้
เหมาะสมกับเรื่องที่จะวิเคราะห์
ผู้เรียนในแต่ละด้าน เช่น การวัดความรู้ความสามารถ หรือความพร้อมด้านสติ
ปั ญญา ควรใช้แบบทดสอบ
ส่วนการตรวจสอบความพร้อมพฤติกรรม ด้านร่างกายและจิตใจ ด้านสังคม
ควรใช้แบบสังเกต หรือแบบ
สอบถาม
การสร้างเครื่องมือเพื่อวิเคราะห์ผู้เรียน ยึดหลักที่สำคัญ ดังต่อไป
นี ้
1) ควรให้ครอบคลุมสาระหลัก ๆ ที่จะเรียนรู้ หรือครอบคลุมพฤติกรรม
ด้านต่าง ๆ ของผู้เรียน
2) สอดคล้องกับประเด็นที่จะวัดหรือประเมินผู้เรียนในแต่ละด้าน
3) กำหนดเกณฑ์ให้ชัดเจน เช่น
- ตอบได้ถก
ู ต้องหรือมีตามหัวข้อประเมิน น้อยกว่า ร้อยละ 40
ต้องปรับปรุงแก้ไข

คู่มือแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ หน้า 13


- ตอบได้ถก
ู ต้องหรือมีตามหัวข้อประเมิน ร้อยละ 40 – 60
ปานกลาง
- ตอบได้ถก
ู ต้องหรือมีตามหัวข้อประเมิน ร้อยละ 70 ขึน
้ ไป
ได้ระดับ ดี
4) การวัดหรือการทดสอบผู้เรียนควรดำเนินการก่อนทำการสอน เพื่อผู้
สอนนำผลสรุปการวิเคราะห์
ไปวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อช่วยเหลือ หรือส่งเสริมนักเรียน
ได้อย่างเหมาะสม

คู่มือแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ หน้า 14

You might also like