Live สถิติหลักสูตรใหม่ (+การแจกแจงความน่าจะเป็น)

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 19

By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.

com

❖ สถิ ติ !! [ปูพืน
้ ฐานบทนี้ ทงั ้ หมด]
** พาร์ทแรก จะบรรยายเยอะหน่ อยน้ า > < **
➢ ความหมายของสถิ ติศาสตร์และข้อมูล
สถิ ติศาสตร์ (statistics) หมายถึง วิชาทีว่ า่ ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูล
และสรุปผลจากข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ นามาตอบคาถาม อธิบายปรากฎการณ์หรือประเด็นทีน่ ่าสนใจ

➢ คาสาคัญในสถิ ติศาสตร์
ประชากร (population) หมายถึง กลุ่มของหน่วยทัง้ หมดในเรือ่ งทีส่ นใจศึกษา หน่วยในทีน่ ้อี าจเป็ นสัตว์หรือสิง่ ของ

ตัวอย่าง (sample) หมายถึง กลุ่มย่อยของประชากรทีถ่ ูกเลือกมาเป็ นตัวแทนของประชากร โดยทัวไปมี


่ วตั ถุประสงค์เพื่อ
ใช้ตวั อย่างในการสรุปผลเกีย่ วกับลักษณะของประชากรทีส่ นใจ

ตัวแปร (variable) หมายถึง ลักษณะบางประการของประชากรหรือตัวอย่างทีส่ นใจศึกษา


เช่น อายุ เพศ ขนาดเครือ่ งยนต์

ข้อมูล (data) หมายถึง ข้อความจริงเกีย่ วกับเรือ่ งใดเรือ่ งหนึ่งทีส่ ามารถใช้ในการสรุปผลในเรื่องทีส่ นใจศึกษา อาจเป็ นได้
ทัง้ ตัวเลขหรือไม่ใช่ตวั เลข หรืออาจหมายถึงค่าของตัวแปรทีส่ นใจศึกษา
เช่น อายุของนักเรียนทีเ่ รียนกับพีป่ ั น้ (17 19 18) คือค่าของข้อมูลแต่ละตัวทีเ่ ก็บได้นนเอง
ั่

พารามิ เตอร์ (parameter) หมายถึง ค่าวัดทีแ่ สดงลักษณะของประชากร ซึง่ เป็ นค่าคงตัวทีค่ านวณหรือประมวลจากข้อมูล
ทัง้ หมดของประชากร
เช่น อายุเฉลีย่ ของผูป้ ่ วยโรคมะเร็งในประเทศไทยในปี 2562
ฐานนิยมของจังหวัดของผูป้ ่ วยมะเร็งในประเทศไทยในปี 2562

ค่าสถิ ติ (statistic) เป็ นค่าคงตัวทีพ่ จิ ารณาจากข้อมูลของตัวอย่าง โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ อธิบายลักษณะของตัวอย่างนัน้


เพือ่ ประมาณค่าของพารามิเตอร์แล้วนาไปใช้ในการอธิบายลักษณะของประชากร
เช่น อายุเฉลีย่ ของผูป้ ่ วยโรคมะเร็งในประเทศไทยในปี 2562 ทีส่ ุ่มตัวอย่างมาจานวน 5,000 คน
ฐานนิยมของจังหวัดของผูป้ ่ วยมะเร็งในประเทศไทยในปี 2562 ทีส่ ุ่มตัวอย่างมาจานวน 5,000 คน

1|Page
By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.com

• ประเภทของข้อมูล
1. การแบ่งประเภทของข้อมูลตามแหล่งทีม่ าของข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) คือข้อมูลทีผ่ ใู้ ช้ดาเนินการเก็บรวบรวมจากเจ้าของข้อมูลหรือต้นกาเนิดของข้อมูล
โดยตรง

ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) คือข้อมูลทีผ่ ใู้ ช้ไม่ได้ดาเนินการเก็บรวบรวมจากเจ้าของข้อมูลหรือต้นกาเนิดของ


ข้อมูลโดยตรง แต่ใช้ขอ้ มูลทีบ่ ุคคลหรือหน่วยงานอื่นเก็บรวบรวมมา ซึง่ ส่วนใหญ่ผใู้ ช้มกั จะใช้ขอ้ มูลทีเ่ ก็บรวบรวมโดย
ภาครัฐซึง่ เป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลตามภารกิจของหน่วยงาน

2. การแบ่งประเภทของข้อมูลตามระยะเวลาทีจ่ ดั เก็บ
ข้อมูลอนุกรมเวลา (time series data) คือชุดข้อมูลทีเ่ กิดขึน้ และจัดเก็บตามลาดับเวลา
ทีต่ ่อเนื่องกันไปตลอดช่วงๆหนึ่ง (เช่น เก็บข้อมูลรายเดือน รายปี เป็ นข้อมูลเดียวกันเพือ่ เทียบกัน)

ข้อมูลตัดขวาง (cross-sectional data) คือข้อมูลทีบ่ อกสถานะหรือสภาพของสิง่ ทีส่ นใจ ณ จุดหนึ่งของเวลา


(เช่น คะแนนสอบ PAT1 ของนักเรียน เมือ่ วันที่ 22 ก.พ. 63)

3. การแบ่งประเภทของข้อมูลตามลักษณะของข้อมูล
ข้อมูลเชิ งปริ มาณ (quantitative data) คือข้อมูลทีไ่ ด้จากการวัดหรือนับค่า โดยแสดงเป็ นตัวเลขหรือปริมาณที่
สามารถนาไปบวก ลบ คูณ หรือหาร และเปรียบเทียบกันได้
(เช่น อายุ ส่วนสูง คะแนนสอบคณิตศาสตร์ ยอดขายร้านซูชริ ายวัน)

ข้อมูลเชิ งคุณภาพ (qualitative data) คือข้อมูลทีแ่ สดงลักษณะ ประเภท สมบัตใิ นเชิงคุณภาพ และอื่นๆ
ทีไ่ ม่สามารถวัดค่าเป็ นตัวเลขทีน่ ามาบวก ลบ คูณ หรือ หารกันได้
(เช่น หมายเลขโทรศัพท์ สายรถเมล์ จังหวัดภูมลิ าเนา)

• สถิ ติศาสตร์เชิ งพรรณนาและสถิ ติศาสตร์เชิ งอนุมาน


สถิ ติศาสตร์เชิ งพรรณนา (descriptive statistics) เป็ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลทีส่ รุปสาระสาคัญของข้อมูลชุดหนึ่ง
ซึง่ เป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพหรือข้อมูลเชิงปริมาณ เพือ่ อธิบายลักษณะหรือสภาพของข้อมูลชุดนัน้ ว่าเป็ นอย่างไร โดยทัวไป

ข้อมูลเชิงคุณภาพจะใช้การนาเสนอด้วยตารางความถี่ แผนภูมแิ ท่ง ฐานนิยม และอื่นๆ ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณจะใช้การ
นาเสนอด้วยฮิสโทแกรม แผนภาพกล่อง ค่าต่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลีย่ และอื่นๆ
(เช่น คะแนนต่าสุดของผูส้ อบ PAT1 คือ 0 คะแนน)

2|Page
By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.com

สถิ ติศาสตร์เชิ งอนุมาน (inferential statistics) เป็ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลทีใ่ ช้ทฤษฎีทเ่ี กีย่ วกับความน่าจะเป็ น
ในการหาข้อสรุปเกีย่ วกับลักษณะของประชากรโดยใช้ขอ้ มูลจากตัวอย่างทีไ่ ด้มาจากประชากรนัน้
(เช่น สานักโพลแห่งหนึ่งสารวจเกีย่ วกับอาชีพในฝั นของเยาวชนไทย ปี พ.ศ. 2562 โดยสารวจเยาวชนไทยทีอ่ ายุ 12 ปี ขน้ึ
ไป รวม 15,000 คน ซึง่ สรุปผลได้วา่ อาชีพในฝั นของเยาวชนไทยทัง้ ประเทศ 5 อันดับแรก ได้แก่ อันดับที่ 1 ธุรกิจส่วนตัว
ร้อยละ 16.40 อันดับที่ 2 อาชีพครู ร้อยละ 13.65 อันดับที่ 3 อาชีพรับราชการ ร้อยละ 13.36 อันดับที่ 4 อาชีพแพทย์
ร้อยละ 10.80 อันดับที่ 5 อาชีพวิศวกร ร้อยละ 7.53

❖ การวิ เคราะห์และนาเสนอข้อมูลเชิ งคุณภาพ


• การวิ เคราะห์ข้อมูลเชิ งคุณภาพ
ความถี่ (frequency) คือ จานวนครัง้ ของการเกิดข้อมูลข้อมูลหนึ่งและค่าของตัวแปรค่าหนึ่ง
ฐานนิ ยม (mode) คือ ข้อมูลทีม่ จี านวนครัง้ ของการเกิดซ้ากันมากทีส่ ุด หรือข้อมูลทีม่ คี วามถีส่ งู สุดทีม่ ากกว่า 1

• การนาเสนอข้อมูลเชิ งคุณภาพด้วยตารางความถี่
ตารางความถี่จาแนกทางเดียว
เช่น สอบถามกีฬานักเรียนชายห้อง 6/1 ในปี การศึกษา 2562 จานวน 20 คน เกีย่ วกับกีฬาทีช่ อบทีส่ ุด ดังตาราง
กีฬาทีช่ อบ ฟุตบอล เทนนิส บาสเกตบอล อื่นๆ รวม
ความถี่ 10 3 2 5 20

หรือ กีฬาทีช่ อบ ความถี่


ฟุตบอล 10
เทนนิส 3
บาสเกตบอล 2
อื่นๆ 5
รวม 20
ความถี่สมั พัทธ์ (relative frequency) คือ สัดส่วนของความถีข่ องแต่ละข้อมูล เทียบกับผลรวมของความถีท่ งั ้ หมด
ข้อที่ 1. จงเติมข้อมูลลงในช่องว่าง
ความถีส่ มั พัทธ์
กีฬาทีช่ อบ ความถี่
สัดส่วน ร้อยละ
ฟุตบอล 10
เทนนิส 3
บาสเกตบอล 2
อื่นๆ
รวม 20

3|Page
By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.com

ตารางความถี่จาแนกสองทาง
เป็ นตารางทีม่ ตี วั แปรทีส่ นใจศึกษา 2 ตัว เช่น ตารางแสดงความถีข่ องบอร์ดเกมส์ทช่ี อบของนักเรียนรอบสดทีเ่ รียนกับพีป่ ั น้
โดยจาแนกตามเพศ
บอร์ดเกมส์ที่ชอบ Avalon Werewolf สามก๊ก รวม
ชาย 15 5 2 22
หญิง 18 12 8 38
รวม 33 17 10 60

• การวิ เคราะห์และนาเสนอข้อมูลเชิ งคุณภาพด้วยแผนภาพ


แผนภูมิรปู ภาพ (pictogram) เป็ นการนาเสนอข้อมูลโดยใช้รปู ภาพหรือ
สัญลักษณ์แสดงความถีข่ องแต่ละข้อมูล ซึง่ จะต้องกาหนดในแผนภูมวิ า่
รูปภาพหรือสัญลักษณ์หนึ่งรูปนัน้ แทนความถีเ่ ท่าใด
เช่น จานวนลูกอมสีต่างๆทีท่ านในช่วงสัปดาห์ทผ่ี า่ นมา
จากตารางฐานนิยม คือ …

แผนภูมิรปู วงกลม (pie chart of circular chart) เป็ นการนาเสนอข้อมูลโดยใช้พน้ื ทีภ่ ายในของรูปวงกลมแทนความถี่
ของข้อมูลทัง้ หมด และแสดงสัดส่วนของความถีข่ องแต่ละข้อมูลด้วยพืน้ ทีแ่ ต่ละส่วนภายในรูปวงกลมซึง่ แบ่งด้วยรัศมี โดย
สัดส่วนของความถีข่ องแต่ละข้อมูลเท่ากับสัดส่วนของขนาดของมุมทีจ่ ุดศูนย์กลางของรูปวงกลม โดยทัวไปจะแสดงสั
่ ดส่วน
ของความถีข่ องข้อมูลด้วยความถีส่ มั พัทธ์ในรูปร้อยละ

เช่น กีฬาทีช่ อบ ความถี่


ฟุตบอล 10 25%
ฟุตบอล

เทนนิส 3 เทนนิส
50%
บาสเกตบอล
บาสเกตบอล 2 10%
อื่นๆ
อื่นๆ 5 15%

รวม 20

4|Page
By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.com

แผนภูมิแท่ง (bar chart) เป็ นการนาเสนอข้อมูลด้วยแท่งรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากในแนวตัง้ หรือแนวนอน โดยใช้ความสูงหรือใช้


ความยาวของแท่งรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากแต่ละรูปแสดงความถีข่ องข้อมูลแต่ละตัวแปรทีส่ นใจศึกษา

❖ การวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลเชิ งปริมาณ
• การวิ เคราะห์และนาเสนอข้อมูลเชิ งปริ มาณด้วยตารางความถี่
1. ตารางความถี่แบบไม่ได้แบ่งข้อมูลเป็ นช่วง (เหมาะกับข้อมูลจานวนน้อย)
เช่น คะแนนสอบย่อยวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มหนึ่งจานวน 10 คน โดยคะแนนเต็ม 5 คะแนน มีดงั นี้
คะแนนสอบ 1 2 3 4 5
ความถี่ 1 1 3 4 1

2. ตารางความถี่แบบแบ่งข้อมูลเป็ นช่วง (เหมาะกับข้อมูลจานวนมาก)


เรียกข้อมูลทีถ่ ูกแบ่งออกเป็ นช่วงๆในแต่ละช่วงว่า อันตรภาคชัน้ (class interval)
ค่าสุดท้าย−ค่าเริม่ ต้น
โดยความกว้างอันตรภาคชัน้ คานวณได้จาก โดยค่าทีค่ านวณได้จะปั ดขึน้ เป็ นจานวนเต็มเสมอ
จานวนอันตรภาคชัน้
เริม่ ต้นด้วยค่าเริม่ ต้น บวกด้วยความกว้างอันตรภาคชัน้ ลบด้วย 1 ทาไปเรือ่ ยๆจนถึงชัน้ สุดท้าย

ข้อที่ 2. จานวนอีเมลทีก่ นกวรรณได้รบั ในแต่ละวันตัง้ แต่วนั ที่ 1 – 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 แสดงได้ดงั นี้
28 18 15 23 26 17 9 27 16 24
23 24 11 43 20 17 17 25 18 32
18 15 20 22 18 30 17 13 25 26 20 ตามลาดับ (Cr.หนังสือ สสวท.)
1) จงเขียนตารางแจกแจงความถีข่ องข้อมูลชุดนี้ โดยกาหนดให้จานวนอันตรภาคชัน้ เท่ากับ 6 ชัน้ ค่าเริม่ ต้นเท่ากับ
8 ฉบับ และค่าสุดท้ายเท่ากับ 44 ฉบับ
2) อันตรภาคชัน้ ใดมีความถีส่ งู สุด
3) อันตรภาคชัน้ ที่ 5 มีความถีส่ มั พัทธ์ในรูปร้อยละเป็ นเท่าใด
4) จานวนวันทีก่ นกวรรณได้รบั อีเมลน้อยกว่า 32 ฉบับ คิดเป็ นร้อยละเท่าใดของจานวนวันทัง้ หมดในเดือนกรกฎาคม
พ.ศ. 2561

5|Page
By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.com

• การวิ เคราะห์และนาเสนอข้อมูลเชิ งปริ มาณด้วยแผนภาพ


ฮิ สโทแกรม (histogram) เป็ นการนาเสนอข้อมูลเชิงปริมาณทีส่ ร้างจากตารางแจกแจงความถี่ โดยใช้แท่งสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก
ทีเ่ รียงติดกันบนแกนนอน เมือ่ แกนนอนแทนค่าของข้อมูล ความสูงของแท่งสีเ่ หลีย่ มมุมฉากจะแสดงความถีข่ องข้อมูล ซึง่
การแสดงความถีข่ องข้อมูลอาจนาเสนอความถีข่ องข้อมูลเพียงค่าเดียวหรือข้อมูลในแต่ละอันตรภาคชัน้ โดยความกว้างของ
แท่งสีเ่ หลีย่ มมุมฉากแต่ละแท่งจะสอดคล้องกับความกว้างของแต่ละอันตรภาคชัน้ ของตารางความถี่

ขอบล่างของชัน้ (lower class boundary) คือ ค่ากึง่ กลางระหว่างค่าของข้อมูลทีม่ ากทีส่ ุดในชัน้ ก่อนหน้ากับค่าของข้อมูล
ทีน่ ้อยทีส่ ุดในชัน้ นัน้
ขอบบนของชัน้ (upper class boundary) คือ ค่ากึง่ กลางระหว่างค่าของข้อมูลทีม่ ากทีส่ ุดในชัน้ นัน้ กับค่าของข้อมูลที่
น้อยทีส่ ุดในชัน้ ถัดไป

แผนภาพจุด (dot plot) เป็ นการนาเสนอข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้จุดหรือวงกลมเล็กๆ แทนข้อมูลแต่ละตัว เขียนเรียงไว้


เหนือเส้นแนวนอนทีม่ สี เกล จุดหรือวงกลมเล็กๆ ดังกล่าวจะเรียงกันในแนวตัง้ ตรงกับตาแหน่งซึง่ แสดงค่าของข้อมูล
แต่ละตัว

แผนภาพลาต้นและใบ (stem and leaf plot) เป็ นการนาเสนอข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แผนภาพทีม่ กี ารแสดงข้อมูลโดย


เรียงลาดับจากน้อยไปมากและแบ่งการแสดงข้อมูลออกเป็ นสองส่วนทีเ่ รียกว่าส่วนลาต้น และส่วนใบ ในทีน่ ้กี าหนดส่วนใบ
เป็ นเลขโดดในหลักหน่วย และตัวเลขทีเ่ หลือเป็ นส่วนลาต้น เช่น 351 จะมี 35 เป็ นส่วนลาต้น และ 1 เป็ นส่วนใบ

แผนภาพกล่อง (box plot) เป็ นการนาเสนอข้อมูลเชิงปริมาณทีแ่ สดงตาแหน่งสาคัญของข้อมูลซึ่งประกอบด้วย ค่าต่าสุด


ค่าสูงสุด และควอไทล์ (quartile) นอกจากนี้ แผนภาพกล่องสามารถใช้ในการตรวจสอบว่ามีขอ้ มูลทีแ่ ตกต่างไปจากข้อมูล
ส่วนใหญ่หรือไม่ โดยจะเรียกข้อมูลดังกล่าวว่า ค่านอกเกณฑ์ (outlier)

6|Page
By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.com

ข้อที่ 3. ความยาวของลาตัว (หน่วยเซนติเมตร)


ของจระเข้จานวน 100 ตัว เป็ นดังแผนภาพกล่อง
ทาให้ได้ขอ้ มูลว่าอย่างไร

ค่านอกเกณฑ์ คานวณโดยนา 𝑄1 − 1.5(𝑄3 − 𝑄1 ) และ 𝑄3 + 1.5(𝑄3 − 𝑄1 )


หากข้อมูลน้อยกว่า 𝑄1 − 1.5(𝑄3 − 𝑄1 ) หรือมากกว่า 𝑄3 + 1.5(𝑄3 − 𝑄1 ) ถือเป็ นค่านอกเกณฑ์
** จากข้อ 4 ลองหาช่วงของค่านอกเกณฑ์ดวู า่ ต้องมากกว่า หรือน้อยกว่าเท่าใด

แผนภาพการกระจาย (scatter plot) คือแผนภาพทีเ่ กิดจากการลงจุดทีแ่ สดงค่าของตัวแปรคูห่ นึ่ง รูปแบบการกระจาย


ของจุดต่างๆ ทีป่ รากฏบนแผนภาพจะแสดงถึงรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสองตัวแปรนัน้

ค่าวัดทางสถิติ [ค่ากลางของข้อมูล ค่าวัดการกระจาย และค่าวัดตาแหน่ งที่ของข้อมูล]


• ค่ากลางของข้อมูล
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต (arithmetic mean) เป็ นค่าทีห่ าได้จากการหารผลรวมของข้อมูลทัง้ หมดด้วยจานวนข้อมูลทีม่ ี

ให้ 𝑥1 + 𝑥2 + 𝑥3 + ⋯ + 𝑥𝑁 แทนข้อมูล เมือ่ 𝑁 แทนขนาดประชากร


ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของประชากร (population mean) เขียนแทนด้วย 𝜇 (อ่านว่า มิว) หาได้จาก
𝑥1 + 𝑥2 + 𝑥3 + ⋯ + 𝑥𝑁
𝜇=
𝑁

ให้ 𝑥1 + 𝑥2 + 𝑥3 + ⋯ + 𝑥𝑛 แทนข้อมูล เมือ่ 𝑛 แทนขนาดตัวอย่าง


ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของตัวอย่าง (sample mean) เขียนแทนด้วย 𝑥̅ (อ่านว่า เอ็กซ์บาร์)
𝑥1 + 𝑥2 + 𝑥3 + ⋯ + 𝑥𝑛
𝑥̅ =
𝑛
รูจ้ กั กับซิกม่า …

7|Page
By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.com

ข้อที่ 4. วันจันทร์ถงึ ศุกร์ แม่บอกว่าพลอยจะได้คา่ ขนมเฉลีย่ วันละ 100 บาท ปรากฏว่าจันทร์ ถึง พฤหัส พลอยได้คา่ ขนม
เท่ากับ 80 60 120 50 ตามลาดับ อยากทราบว่าวันศุกร์พลอยจะได้คา่ ขนมกีบ่ าท

ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตถ่วงน้าหนัก (weighted arithmetic mean) เหมาะสาหรับใช้ในกรณีทข่ี อ้ มูลแต่ละค่ามีความสาคัญไม่


เท่ากัน เช่น การหาค่าเฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบ 4 วิชา ซึง่ แต่ละวิชามีหน่วยกิตไม่เท่ากัน ถ้าใช้วธิ กี ารหาค่าเฉลีย่ เลข
คณิตโดยไม่ถ่วงน้าหนัก อาจทาให้คา่ ทีไ่ ด้นาไปสูข่ อ้ สรุปทีค่ ลาดเคลื่อนจากความเป็ นจริง เพราะข้อมูลแต่ละค่ามี
ความสาคัญไม่เท่ากัน ขึน้ อยูก่ บั น้าหนักของข้อมูล

ให้ 𝑥1 + 𝑥2 + 𝑥3 + ⋯ + 𝑥𝑁 แทนข้อมูล เมือ่ 𝑁 แทนขนาดของประชากร


และให้ 𝑤1 + 𝑤2 + 𝑤3 + ⋯ + 𝑤𝑁 แทนน้าหนักของข้อมูล 𝑥1 + 𝑥2 + 𝑥3 + ⋯ + 𝑥𝑁 ตามลาดับจะได้

𝑤1 𝑥1 +𝑤2 𝑥2 +𝑤3 𝑥3 +⋯+𝑤𝑁 𝑥𝑁 ∑𝑁


𝑖=1 𝑤𝑖 𝑥𝑖
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตถ่วงน้าหนัก = = ∑𝑁
𝑤1 +𝑤2 +𝑤3 +⋯+𝑤𝑁 𝑖=1 𝑤𝑖

ข้อที่ 5. จงคานวณค่าเฉลีย่ เลขคณิตของราคาวัสดุต่อหน่วย


ประเภทวัสดุ ราคาต่อหน่วย จานวน
A 12 20
B 20 30
C 15 10

ข้อที่ 6. เกณฑ์การให้คะแนนวิชาคณิตศาสตร์ และคะแนนของน้องโจ้ เป็ นดังตาราง


ทีม่ าของคะแนน น้าหนัก คะแนน (เต็ม 100)
คะแนนเก็บ 30% 90
โครงงาน 25% X
สอบกลางภาค 20% 75
สอบปลายภาค 25% 70
โจ้พบว่าคะแนนรวมวิชาคณิตศาสตร์เท่ากับ 72 คะแนน แต่โจ้ไม่ทราบคะแนนโครงงานว่าได้เท่าไหร่ จงหาคะแนนโครงงาน
ของโจ้จากข้อมูลดังตาราง

8|Page
By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.com

มัธยฐาน เมือ่ นาข้อมูลทัง้ หมดมาเรียงลาดับจากน้อยไปมากหรือจากมากไปน้อย จะเรียกค่าทีอ่ ยูใ่ นตาแหน่ ง


กึง่ กลางของข้อมูลว่า มัธยฐาน (median)
𝑛+1
มัธยฐานจะอยูต่ าแหน่งที่
2

ข้อที่ 7. ข้อมูลชุดหนึ่งได้แก่ 20 12 𝑥 10 ซึง่ ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดนี้คอื 15 จงหามัธยฐาน

ฐานนิ ยม คือ ข้อมูลทีม่ จี านวนครัง้ ของการเกิดซ้ากันมากทีส่ ุดหรือข้อมูลทีม่ คี วามถีส่ งู สุดมากกว่า 1


ข้อมูลบางชุดอาจไม่มฐี านนิยม เช่น ในกรณีทข่ี อ้ มูลมีความถีเ่ ป็ น 1 เท่ากันหมด นอกจากนี้ขอ้ มูลบางชุดอาจมีฐานนิยม
มากกว่า 1 ค่า เช่น ในกรณีทม่ี ขี อ้ มูลมากกว่า 1 ข้อมูล ทีม่ คี วามถีส่ งู สุดเท่ากัน

• ค่าวัดการกระจาย
1. การวัดการกระจายสัมบูรณ์ (absolute variation) คือ การวัดการกระจายของข้อมูลด้วยค่าวัดทางสถิตทิ ม่ี ี
หน่วยเช่นเดียวกับข้อมูลหรือเป็ นกาลังสองของหน่วยของข้อมูล
มี 4 ชนิด คือ
• พิ สยั (range)

• พิ สยั ระหว่างควอไทล์ (interquartile range)

• ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation)

• ความแปรปรวน (variance)

9|Page
By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.com

2. การกระจายสัมพัทธ์ (relative variation) คือ การวัดการกระจายของข้อมูลด้วยค่าวัดทางสถิตทิ ไ่ี ม่มหี น่วย ซึง่


เป็ นค่าทีใ่ ช้ในการเปรียบเทียบการกระจายระหว่างข้อมูลมากกว่า 1 ชุด ในหลักสูตรใหม่มเี พียงตัวเดียว คือ …
• สัมประสิ ทธิ์ ของการแปรผัน (coefficient of variation)

ข้อที่ 8. ราคาของเล่นทีต่ นั ้ ซื้อมา คือ 16 18 12 15 และ 14 บาท


จงหาพิสยั พิสยั ระหว่างควอไทล์ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ความแปรปรวน และสัมประสิทธิของการแปรผั
์ น

ข้อที่ 9. สุ่มตัวอย่างคนทีอ่ าศัยในกรุงเทพมหานครมา 5 คน พบว่ามีรายได้ต่อวันเท่ากับ 500 800 700 1200 บาท


ตามลาดับ จงหาค่าความแปรปรวนของรายได้ต่อวัน

• ค่าวัดตาแหน่ งที่ของข้อมูล
ควอไทล์ (Quartile)
𝑖(𝑛+1)
𝑄𝑖 =
4

เปอร์เซ็นไทล์ (Percentile)
𝑖(𝑛+1)
𝑃𝑖 =
4

*หลักสูตรใหม่ไม่มเี ดไซล์แล้ว

10 | P a g e
By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.com

ข้อที่ 10. จากแผนภาพต้น – ใบ ของข้อมูลชุดหนึ่งเป็ นดังนี้


2 0 2 5 5 6 7 7 8 9 9
3 1 3 3 3 4 4 5 8 8 9
4 0 0 0 1 2 2 3 3 4 7
5 0 1 1 2 3 4 5 6 7
เปอร์เซ็นไทล์ท่ี 86 ของข้อมูลชุดนี้เท่ากับเท่าใด (ONET 58)

ข้อที่ 11. จากข้อที่ 10. จงหา …


1) ควอไทล์ท่ี 1

2) เปอร์เซ็นไทล์ท่ี 63

ข้อที่ 12. ชมรมหมากรุก มีสมาชิกทีอ่ ายุดงั ต่อไปนี้ 45 46 40 48 42 50 และ 6 ขวบ จงหาค่าเฉลีย่ เลขคณิตของอายุ
สมาชิกในชมรมหมากรุก โดยไม่รวมค่านอกเกณฑ์

ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่ าจะเป็ น
ข้อที่ 13. พิจารณาการทดลองสุม่ ซึง่ ได้จากการโยนเหรียญเทีย่ งตรง 1 เหรียญ 3 ครัง้ กาหนดให้ 𝐻 คือหัว 𝑇 คือก้อย
จงหา
1) ปริภมู ติ วั อย่างของการทดลองสุ่มนี้

2) 𝑛(𝑆) = _____

3) ให้ 𝐸0 , 𝐸1 , 𝐸2 และ 𝐸3 แทนเหตุการณ์ทเ่ี หรียญขึน้ หัว 0 , 1 , 2 และ 3 ครัง้ ตามลาดับ จงหา


𝑃(𝐸0 ) , 𝑃(𝐸1 ) , 𝑃(𝐸2 ) และ 𝑃(𝐸3 )

𝑋(𝐻𝐻𝐻 ) = 3 , 𝑋(𝐻𝐻𝑇) = 2 ซึง่ จะเรียก 𝑋 ว่าตัวแปรสุ่ม


ตัวแปรสุ่ม (random variable) คือฟั งก์ชนั จากปริภมู ติ วั อย่างของการทดลองสุม่ ไปยังเซตของจานวนจริง

11 | P a g e
By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.com

โดยทัวไปตั
่ วแปรสุ่มสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ชนิด ตามลักษณะทีเ่ ป็ นไปได้ของค่าตัวแปรสุ่ม ดังนี้
1. ตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่ อง (discreate random variable) คือตัวแปรสุม่ ทีค่ า่ ทีเ่ ป็ นไปได้ทงั ้ หมดอยู่ในเซตทีส่ ามารถ
นับจานวนสมาชิกได้ หรือค่าทีเ่ ป็ นไปได้ทงั ้ หมดของตัวแปรสุ่มสามารถเขียนเรียงลาดับจากน้อยไปมากได้ ทัง้ นี้
เซตของค่าทีเ่ ป็ นไปได้ทงั ้ หมดของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่องอาจเป็ นเซตจากัดหรือเซ็ตอนันต์กไ็ ด้
เช่น ผลบวกของแต้มบนหน้าลูกเต๋าทีถ่ ูกทอย 2 ลูก จานวนครัง้ ทีโ่ ยนเหรียญแล้วออกหัว
จานวนครัง้ ทีอ่ อกหัว เมือ่ โยนเหรียญ 3 เหรียญ

2. ตัวแปรสุ่มต่อเนื่ อง (continuous random variable) คือตัวแปรสุม่ ทีเ่ ซตของค่าทีเ่ ป็ นไปได้ทงั ้ หมดเป็ นช่วงที่
เป็ นสับเซตของ 𝑅
เช่น ส่วนสูงของนักเรียนในห้อง น้าหนักของนักเรียนทีเ่ รียนกับพีป่ ั น้

ข้อที่ 14. จงพิจารณาว่าตัวแปรสุ่มต่อไปนี้เป็ นตัวแปรสุม่ ไม่ต่อเนื่องหรือตัวแปรสุม่ ต่อเนื่อง


1) ตัวแปรสุม่ 𝑋1 คือ คะแนนสอบ PAT1 (คะแนน) ของนักเรียนทีเ่ รียนกับพีป่ ั น้

2) ตัวแปรสุม่ 𝑋2 คือ จานวนพีน่ ้อง (คน) ทัง้ หมด ของนักเรียนในห้อง

3) ตัวแปรสุม่ 𝑋3 คือ เวลา (วินาที) ทีน่ กั กีฬาใช้ในการวิง่ รอบสนาม 400 เมตร

4) ตัวแปรสุม่ 𝑋4 คือ ปริมาณน้าตาล (กรัม) ในเครือ่ งดื่มทีข่ ายในเซเว่นอีเลฟเว่น

• การแจกแจงความน่ าจะเป็ นของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่ อง


ข้อที่ 15. เกรดเฉลีย่ วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน ม.6 ห้องหนึ่ง จานวน 100 คน เป็ นดังตารางความถี่
เกรด ความถี่
1 15
2 20
3 35
4 30
ถ้าสุ่มนักเรียน 1 คนจากห้องนี้ และให้ตวั แปรสุม่ 𝑋 คือ เกรดของนักเรียนทีส่ ุ่มได้ จงหาความน่าจะเป็ นทีจ่ ะสุ่มได้เกรด 𝑥
เมือ่ 𝑥 = {1,2,3,4} (เพิม่ !! ลองหาค่าคาดหมายด้วย)

12 | P a g e
By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.com

ข้อที่ 16. ให้ตวั แปรสุม่ 𝑌 คือผลบวกของแต้มบนหน้าลูกเต๋า จากการทอดลูกเต๋าเทีย่ งตรง 2 ลูก พร้อมกัน 1 ครัง้ จงเขียน
แสดงการแจกแจงความน่าจะเป็ นของตัวแปรสุ่ม 𝑌 ในรูปตารางและกราฟ (โจทย์จากหนังสือ สสวท.)

• ค่าคาดหมายและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่ อง
ค่าคาดหมาย (expected value) ของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง 𝑋 เขียนแทนด้วย 𝜇𝑋 นิยามโดย
𝜇𝑋 = ∑𝑛𝑖=1 𝑥𝑖 𝑃(𝑋 = 𝑥𝑖 )
เมือ่ 𝑛 แทนจานวนค่าทีเ่ ป็ นไปได้ทงั ้ หมดของตัวแปรสุ่ม 𝑋 และ 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥𝑛
แทนค่าทีเ่ ป็ นไปได้ทงั ้ หมดของตัวแปรสุม่ 𝑋

ข้อที่ 17. ตารางพยากรณ์กาไรในปี หน้า ของร้านกุ๊กกิก๊ คาดการณ์ออกมาได้ 4 แบบ เป็ นดังตาราง


กาไร (บาท) โอกาสเกิดขึน้
-20,000 20%
10,000 10%
50,000 50%
100,000 20%
ให้ตวั แปรสุม่ 𝑋 คือ กาไรของร้านกุ๊กกิก๊ จงหาค่าคาดหมายของตัวแปรสุม่ 𝑋

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่ อง 𝑋 เขียนแทนด้วย 𝜎𝑋 นิยามโดย


𝜎𝑋 = √∑𝑛𝑖=1(𝑥𝑖 − 𝜇𝑋 )2 𝑃(𝑋 = 𝑥𝑖 )
และเรียก 𝜎𝑋2 ว่า ความแปรปรวนของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง 𝑋
เมือ่ 𝑛 แทนจานวนค่าทีเ่ ป็ นไปได้ทงั ้ หมดของตัวแปรสุ่ม 𝑋 และ 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥𝑛
แทนค่าทีเ่ ป็ นไปได้ทงั ้ หมดของตัวแปรสุม่ 𝑋

13 | P a g e
By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.com

ข้อที่ 18. ให้ตวั แปรสุม่ 𝑋 คือแต้มทีเ่ ด็กชายป๋ องลูกดอกใส่กระดานปาเป้ า 10 ครัง้ ซึง่ คะแนนทีไ่ ด้เป็ นดังตาราง
คะแนน ความถี่
0 5
1 2
2 0
3 2
4 1
5 0
จงหาค่าคาดหมาย ความแปรปรวน และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของตัวแปรสุ่ม 𝑋

• การแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่ อง
ให้ 𝑋 เป็ นตัวแปรสุม่ ไม่ต่อเนื่อง ถ้าค่าทีเ่ ป็ นไปได้ทงั ้ หมดของ 𝑋 คือ 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥𝑛 แล้ว
การแจกแจงความน่าจะเป็ นของตัวแปรสุม่ 𝑋 เป็ น การแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่ อง
1
(discrete uniform distribution) เมือ่ 𝑃(𝑋 = 𝑥𝑖 ) = สาหรับทุก 𝑖 ∈ {1,2,3, … , 𝑛}
𝑛
[ค่าแต่ละค่าทีเ่ ป็ นไปได้ มีโอกาสเกิดขึน้ เท่าๆกัน]
เช่น แต้มของลูกเต๋าทีท่ อด การโยนเหรียญเทีย่ งตรง 1 เหรียญ

ข้อที่ 19. กระเป๋ าตังของขนุนมีธนบัตร 20 , 50 , 100 , 1000 บาท หากขนุนสุ่มหยิบธนบัตรมา 1 ใบ


จงหาค่าคาดหมายของตัวแปรสุ่ม 𝑋

การแจกแจงทวิ นาม (binomial distribution)


คือ การแจกแจงความน่าจะเป็ นของตัวแปรสุ่ม 𝑋 ซึง่ คือจานวนครัง้ ของการเกิดผลสาเร็จจากการทดลองสุม่ 𝑛
ครัง้ ทีเ่ ป็ นอิสระกัน โดยในแต่ละครัง้ มีโอกาสเกิดผลสาเร็จด้วยความน่าจะเป็ นเท่ากับ 𝑝 และไม่เกิดผลสาเร็จด้วย
ความน่าจะเป็ นเท่ากับ 1 − 𝑝
1. ให้เรียก 𝑛 และ 𝑝 ว่า พารามิเตอร์ของการแจกแจงทวินาม และเขียนสัญลักษณ์ 𝑋~𝐵(𝑛, 𝑝) เพือ่ แสดงว่า
การแจกแจงความน่าจะเป็ นของตัวแปรสุม่ 𝑋 เป็ นการแจกแจงทวินามทีม่ ี 𝑛 และ 𝑝 เป็ นพารามิเตอร์
2. การทดลองสุม่ 1 ครัง้ ทีม่ ผี ลลัพธ์ทเ่ี ป็ นไปได้ 2 แบบ คือ สาเร็จ หรือ ไม่สาเร็จ เรียกว่า การลองแบร์นูลลี
(Bernoulli trail) เช่น การโยนเหรียญ 1 เหรียญ 1 ครัง้

14 | P a g e
By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.com

ทฤษฎีบทที่ 1
ถ้าการแจกแจงความน่าจะเป็ นของตัวแปรสุ่ม 𝑋 เป็ นการแจกแจงทวินาม จะได้วา่
1. 𝑃(𝑋 = 𝑥 ) = (𝑛𝑥)𝑝 𝑥 (1 − 𝑝)𝑛−𝑥 สาหรับทุก 𝑥 ∈ {0,1,2, … , 𝑛}
2. 𝜇𝑋 = 𝑛𝑝
3. 𝜎𝑋 = √𝑛𝑝(1 − 𝑝)
เมือ่ 𝑛 แทนจานวนครัง้ ของการทดลองสุม่ และ 𝑝 แทนความน่าจะเป็ นทีจ่ ะเกิดผลสาเร็จในการทดลองสุ่มแต่ละครัง้

ข้อสังเกต จากทฤษฎีบทที่ 1
𝑛
จะได้วา่ ∑𝑛𝑥=0 𝑃(𝑋 = 𝑥 ) = ∑𝑛𝑥=0(𝑛𝑥)𝑝 𝑥 (1 − 𝑝)𝑛−𝑥 = (𝑝 + (1 − 𝑝)) = 1

ข้อที่ 20. นันซื้อส้มมาจากร้านค้าในตลาด เมือ่ ดูภายนอกจะดูปกติมาก แต่เมือ่ แกะมาทาน พบว่าจะมีสม้ ประมาณ 20% ที่
เน่าและจะทานไม่ได้ หากนันซือ้ ส้มมาทาน 4 ลูก จงหา …

1) โอกาสทีน่ นั จะเจอส้มเน่า 3 ลูก

2) ค่าคาดหมายของส้มเน่า (มันคือ ซือ้ ส้มมาทาน 4 ลูก จะเจอเน่าเฉลีย่ ประมาณกีล่ ูก

3) ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน

ข้อที่ 21. กาหนดให้ 𝑋~𝐵(5,0.3) จงหา


1) 𝑃(𝑋 = 2)

2) 𝑃(𝑋 < 3)

3) 𝑃(𝑋 = 4)

15 | P a g e
By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.com

• การแจกแจงความน่ าจะเป็ นของตัวแปรสุ่มต่อเนื่ อง


ใช้เส้นโค้งความหนาแน่ น (density curve) แทนการเขียนตารางแจกแจงความน่าจะเป็ น โดยความน่าจะเป็ นทีต่ วั แปรสุม่
จะมีคา่ อยูใ่ นช่วงใดช่วงหนึ่งจะเท่ากับพืน้ ทีป่ ิ ดล้อมด้วยเส้นโค้งความหนาแน่นกับแกน 𝑋 ในช่วงนัน้ จะเรียกพืน้ ทีบ่ ริเวณ
ดังกล่าวว่า พืน้ ทีใ่ ต้เส้นโค้งความหนาแน่น

• กราฟเบ้ซ้าย

• กราฟเบ้ขวา

• การแจกแจงปกติ (normal distribution)


คือ การแจกแจงความน่าจะเป็ นของตัวแปรสุม่ ต่อเนื่อง 𝑋 ทีม่ ฟี ั งก์ชนั ความหนาแน่นความน่าจะเป็ น คือ
1 𝑥−𝜇 2
1 − ( )
𝑓 (𝑥 ) = 𝑒 2 𝜎 เมือ่ − ∞ < 𝑥 < ∞
𝜎 √2𝜋
เส้นโค้งปกติ (normal curve) เป็ นเส้นโค้งรูประฆังทีม่ สี มบัตดิ งั ต่อไปนี้
1. เส้นโค้งมีเส้นตัง้ ฉากกับแกน 𝑋 ทีล่ ากผ่านค่าเฉลีย่ เป็ นแกนสมมาตร ทาให้พน้ื ทีใ่ ต้เส้นโค้งทางด้านซ้ายของ
ค่าเฉลีย่ เท่ากับพืน้ ทีใ่ ต้เส้นโค้งทางด้านขวาของค่าเฉลีย่
2. ปลายเส้นโค้งทัง้ สองด้านเข้าใกล้แกน 𝑋 แต่จะไม่ตดั แกน 𝑋 หรือกล่าวได้วา่ แกน 𝑋 เป็ นเส้นกากับแนวนอน
3. ค่าเฉลีย่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (หรือความแปรปรวน) จะเป็ นตัวกาหนดลักษณะเฉพาะของเส้นโค้งว่าแกน
สมมาตรอยูท่ ใ่ี ด และมีคา่ การกระจายจากค่าเฉลีย่ มากน้อยเพียงใด
ข้อที่ 22. จงวาดเส้นโค้งปกติ เมือ่ กาหนดค่าดังต่อไปนี้ [𝜎 ยิง่ มาก ยิง่ กว้าง]
1) 𝜇 = 2 , 𝜎 = 1

2) 𝜇 = 2 , 𝜎 = 2

3) 𝜇 = 4 , 𝜎 = 2

16 | P a g e
By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.com

• การแจกแจงปกติ มาตรฐาน
การแจกแจงปกติมาตรฐาน (standard normal distribution) คือ การแจกแจงปกติทม่ี คี า่ เฉลีย่ เท่ากับ 0
(𝜇 = 0) และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 1 (𝜎 = 1)
จะได้วา่ ฟั งก์ชนั ความหนาแน่นความน่าจะเป็ นของตัวแปรสุ่ม 𝑍 ทีม่ กี ารแจกแจงปกติมาตรฐาน คือ
1 −𝑧 2
𝑓 (𝑧 ) = 𝑒 2 เมือ่ − ∞ < 𝑧 < ∞
√2𝜋
เรียกเส้นโค้งปกติซง่ึ ได้จากตัวแปรสุม่ ปกติทม่ี คี า่ เฉลีย่ เป็ น 0 และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเป็ น 1 ว่า
เส้นโค้งปกติ มาตรฐาน (standard normal curve)

เรียกตัวแปรสุ่มทีม่ กี ารแจกแจงปกติมาตรฐานว่า ตัวแปรสุ่มปกติ มาตรฐาน (standard normal random variable)

ข้อที่ 23. เด็กทีด่ ู Youtube พีป่ ัน้ มีคะแนนเฉลีย่ คณิต 1 เท่ากับ 60 คะแนน และมีส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 20
หากคะแนนเด็กทีด่ ู Youtube พีป่ ั น้ มีการแจกแจงแบบปกติ จงหาค่าตัวแปรสุม่ ปกติมาตรฐาน (𝑧) เมือ่ น้องได้คะแนน
ดังต่อไปนี้
1) 50 คะแนน

2) 72 คะแนน

3) 80 คะแนน

17 | P a g e
By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.com

ข้อที่ 24. ให้ 𝑍 เป็ นตัวแปรสุม่ ปกติมาตรฐาน จงหา (ดูตารางด้านล่าง)


1) 𝑃(𝑍 ≤ 1.2)

2) 𝑃(−0.4 ≤ 𝑍 ≤ 0.5)

ตารางแสดงพื้นฐานใต้เส้นโค้งปกติ มาตรฐาน

การอ่านค่า 𝑋~𝑁(𝜇, 𝜎 2 ) เป็ นการบอกค่าพารามิเตอร์ของการแจกแจงปกติ เช่น 𝑋~𝑁(5,4) แปลว่า …


𝑋−𝜇
และสูตรสาคัญในการหาตัวแปรสุม่ ปกติมาตรฐาน คือ !!! 𝑍 =
𝜎

18 | P a g e
By P’ปั้น บัญชี มธ. Line : @pan_smartmathpro www.smartmathpro.com

ข้อที่ 25. กาหนดให้ 𝑋~𝑁(8,9) จงหา 𝑃(5 ≤ 𝑋 ≤ 9.5)

ข้อที่ 26. เด็กนักเรียนทีเ่ รียนกับพีป่ ั น้ มีคะแนนกระจายตัวแบบปกติ และมีคะแนนเฉลีย่ PAT1 เท่ากับ 150 คะแนน และมี
ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 20 จงหาความน่าจะเป็ นทีจ่ ะสุ่มได้นกั เรียนทีม่ คี ะแนนสอบในช่วง …

1) ระหว่าง 128 - 164 คะแนน

2) คะแนนของน้องทีต่ รงกับเปอร์เซ็นไทล์ท่ี 88.49

** นอกจากนี้คา่ 𝑍 ยังใช้เทียบระหว่างข้อมูล 2 ได้ ว่าข้อมูลไหนมีคา่ มากกว่ากัน เช่น


ข้อที่ 27. เต้ได้วชิ าภาษาไทย 15 คะแนน โดย 𝜇 = 11 และ 𝜎 = 5 และได้วชิ าภาษาอังกฤษ 12 คะแนน โดย
𝜇 = 8 และ 𝜎 = 2 เต้ได้คะแนนวิชาใดดีกว่ากัน

จบแล้วว กับสถิ ติหลักสูตรใหม่ ไปลองฝึ กทากันน้ า


เป็ นเนื้ อหาภาพทัง้ หมด ให้เห็นภาพรวมของบทนี้

19 | P a g e

You might also like