Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 16

เอกสารประกอบการสอน

วิชาเคมีสาหรับวิศวกร
รหัสวิชา ST2041103
ประจาภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
จัดทำโดย
อาจารย์อัญชนา ขัตติยะวงศ์

Jens Martensson
อาจารย์ประจา หมวดวิชาวิทยาศาสตร์

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
2
แผนการสอนและการประเมินผล
หน่วย 4 พั นธะเคมี
4.2 แรงยึดเหนี่ยวระหว่ำงโมเลกุล

4.2.1 แรงแวนเดอร์วำลล์

4.2.2 แรงดึงดูดระหว่ำงขั้ว
สัปดาห์ที่ 8 4.2.3 พั นธะไฮโดรเจน
Jens Martensson
5
Jens Martensson
6
แรงยึดเหนี่ยวระหว่ำง
โมเลกุล
แรงยึดเหนี่ยวภำยในโมเลกุล
“พั นธะหรือแรงดึงดูดระหว่าง
 พั นธะไอออนิก โมเลกุล”
 พั นธะโคเวเลนซ์  แรงแวนเดอร์วาลส์
 พั นธะโลหะ  พั นธะไฮโดรเจน

Jens Martensson
7
 แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลอ่อนๆ โดยเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างขัว้
อันเนื่องมาจากประจุไฟฟ้าที่มีขนาดเล็กๆ
 แรงแวนเดอร์วาลส์มีคา่ พลังงานน้อยมาก

Jens Martensson
 แรงแวนเดอร์วาลส์
 แรงไดโพล-ไดโพล
 แรง dipole induced dipole
 แรงลอนดอน

8
แรงไดโพล-ไดโพล
 แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดจากการกระทาระหว่างโมเลกุลที่มีขั้ว
สองโมเลกุลขึ้นไป
 โมเลกุลที่มีไดโพลโมเมนต์แบบถาวรจะเอาด้านที่มีประจุ

Jens Martensson
ตรงข้ามหันเข้าหากันตามแรงดึงดูดทางประจุไฟฟ้า แรงไดโพล-ไดโพล
 โมเลกุลโคเวเลนซ์ที่มีขั้ว (แต่ไม่เกิดพั นธะไฮโดรเจน) ขั้ว
่ ่างกันจะเกิดแรงดึงดูดกันได้อย่างอ่อนๆ เช่น HCl,
ทีต
H2S, CO

9
แรง dipole-induced dipole
 แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดจากโมเลกุลที่มข ี ั้วเหนี่ยวนาให้
โมเลกุลที่ไม่มีขั้ว เกิดมีขั้วขึ้นชั่วคราว

โมเลกุลมีขั้ว โมเลกุลไม่มีขั้ว

Jens Martensson
H2 O O2

แรง dipole-induced dipole ระหว่าง H2O กับ O2

10
แรงลอนดอน
เป็นแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลที่ไม่มีขั้วด้วยกัน

 อิเล็กตรอนมากระจุกตัวกันอยู่บริเวณเดียวกัน ทาให้เกิดประจุลบชั่วคราวบางส่วน (มีค่าประจุ


น้อยมาก -)

Jens Martensson
 บริเวณที่ไม่มีอิเล็กตรอนอยู่เกิดประจุบวกชั่วคราวบางส่วน (มีค่าประจุน้อยมาก +)

 ประจุไฟฟ้าชั่วคราวที่เกิดขึ้นเหนี่ยวนาให้โมเลกุลข้างเคียงเกิดแรงยึดเหนี่ยว
พั นธะไฮโดรเจน
แรงดึงดูดที่เกิดจากระหว่างโมเลกุลที่มี H เป็นองค์ประกอบสองโมเลกุล
อะตอมของ H สามารถสร้างพั นธะโคเวเลนซ์กับอะตอมของธาตุที่มีค่าอิ

Jens Martensson
เล็กโทรเนกาติวิตี (EN) สูงๆ

EN = 3.5

EN = 2.1

โมเลกุล H2O
 โมเลกุลโคเวเลนซ์ที่เกิด
พั นธะไฮโดรเจนได้จะมีจุด
เดือดสูงกว่าที่โมเลกุลที่ไม่
เกิดพั นธะโคเวเลนซ์

Jens Martensson
 โมเลกุลของ H2O เกิด
พั นธะไฮโดรเจนได้ ส่วน
H2S H2Se และ H2Te ไม่
เกิดพั นธะไฮโดรเจน

13
Jens Martensson
14
กิจกรรม
 ทากิจกรรม 4.2 ตอนที่ 1
 ทากิจกรรม 4.2 ตอนที่ 2
 นักศึกษาแบ่งกลุ่มๆ ละ 3 คน ร่วมทากิจกรรม 4.2

Jens Martensson
และอภิปรายตามประเด็นทีก ่ าหนด

 ทาแบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน
Thank
You
Aj.Anchana Kuttiyawong
anchana.k@rmutp.ac.th

You might also like