Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 7

ส่วนที่1

-ความหมายของนิติกรรม--> ม. 149

มาตรา 149 นิติกรรม หมายความว่า การใด ๆ อันทำลงโดยชอบด้ วยกฎหมายและด้ วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อ


การผูกนิติสมั พันธ์ขึ ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรื อระงับซึง่ สิทธิ
-การแสดงเจตนา-->ม.168,169(เชื่อมข้ อยกเว้ น 360),170
มาตรา 168 การแสดงเจตนาที่กระทำต่อบุคคลซึง่ อยู่เฉพาะหน้ าให้ ถือว่ามีผลนับแต่ผ้ รู ับการแสดงเจตนาได้
ทราบการแสดงเจตนานัน้ ความข้ อนี ้ให้ ใช้ ตลอดถึงการที่บคุ คลหนึง่ แสดงเจตนาไปยังบุคคลอีกคนหนึง่ โดยทางโทรศัพท์
หรื อโดยเครื่ องมือสื่อสารอย่างอื่น หรื อโดยวิธีอื่นซึง่ สามารถติดต่อถึงกันได้ ทำนองเดียวกัน

มาตรา 169 การแสดงเจตนาที่กระทำต่อบุคคลซึง่ มิได้ อยู่เฉพาะหน้ าให้ ถือว่ามีผลนับแต่เวลาที่การแสดงเจตนา


นันไปถึ
้ งผู้รับการแสดงเจตนา แต่ถ้าได้ บอกถอนไปถึงผู้รับการแสดงเจตนานัน้ ก่อนหรื อพร้ อมกันกับที่การแสดงเจตนานัน้
ไปถึงผู้รับการแสดงเจตนา การแสดงเจตนานันตกเป็
้ นอันไร้ ผล
การแสดงเจตนาที่ได้ สง่ ออกไปแล้ วย่อมไม่เสื่อมเสียไป แม้ ภายหลังการแสดงเจตนานันผู
้ ้ แสดงเจตนาจะถึงแก่
ความตาย หรื อถูกศาลสัง่ ให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถหรื อคนเสมือนไร้ ความสามารถ

มาตรา 170 การแสดงเจตนาซึง่ กระทำต่อผู้เยาว์หรื อผู้ที่ศาลสัง่ ให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถหรื อคนเสมือนไร้ ความ
สามารถ จะยกขึ ้นเป็ นข้ อต่อสู้ผ้ รู ับการแสดงเจตนาไม่ได้ เว้ นแต่ผ้ แู ทนโดยชอบธรรม ผู้อนุบาล หรื อผู้พิทกั ษ์ แล้ วแต่กรณี
ของผู้รับการแสดงเจตนานันได้้ ร้ ูด้วย หรื อได้ ให้ ความยินยอมไว้ ก่อนแล้ ว
ความในวรรคหนึง่ มิให้ ใช้ บงั คับ ถ้ าการแสดงเจตนานันเกี
้ ่ยวกับการที่กฎหมายบัญญัติให้ ผ้ เู ยาว์หรื อคนเสมือนไร้
ความสามารถกระทำได้ เองโดยลำพัง

มาตรา 360 บทบัญญัติแห่งมาตรา 169 วรรคสอง นัน้ ท่านมิให้ ใช้ บงั คับ ถ้ าหากว่าขัดกับเจตนาอันผู้เสนอได้
แสดง หรื อหากว่าก่อนจะสนองรับนัน้ คูก่ รณีอีกฝ่ ายหนึง่ ได้ ร้ ูอยู่แล้ วว่าผู้เสนอตายหรื อตกเป็ นผู้ไร้ ความสามารถ
[เลขมาตรา 169 วรรคสอง แก้ ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติให้ ใช้ บทบัญญัติบรรพ 1 แห่ง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ได้ ตรวจชำระใหม่ พ.ศ. 2535]

ส่วนที่2
-เหตแห่งโมฆะกรรม -->ม.150,152, 154, 155, 156
มาตรา 150 การใดมีวตั ถุประสงค์เป็ นการต้ องห้ ามชัดแจ้ งโดยกฎหมายเป็ นการพ้ นวิสยั หรื อเป็ นการขัดต่อความ
สงบเรี ยบร้ อยหรื อศีลธรรมอันดีของประชาชน การนันเป็
้ นโมฆะ

มาตรา 152 การใดมิได้ ทำให้ ถกู ต้ องตามแบบที่กฎหมายบังคับไว้ การนันเป็


้ นโมฆะ

มาตรา 154 การแสดงเจตนาใดแม้ ในใจจริ งผู้แสดงจะมิได้ เจตนาให้ ตนต้ องผูกพันตามที่ได้ แสดงออกมาก็ตาม


หาเป็ นมูลเหตุให้ การแสดงเจตนานันเป็
้ นโมฆะไม่ เว้ นแต่คกู่ รณีอีกฝ่ ายหนึง่ จะได้ ร้ ูถึงเจตนาอันซ่อนอยู่ในใจของผู้แสดงนัน้

มาตรา 155 การแสดงเจตนาลวงโดยสมรู้กบั คูก่ รณีอีกฝ่ ายหนึง่ เป็ นโมฆะ แต่จะยกขึ ้นเป็ นข้ อต่อสู้บคุ คล
ภายนอกผู้กระทำการโดยสุจริ ต และต้ องเสียหายจากการแสดงเจตนาลวงนันมิ ้ ได้
ถ้ าการแสดงเจตนาลวงตามวรรคหนึง่ ทำขึ ้นเพื่ออำพรางนิติกรรมอื่น ให้ นำบทบัญญัติของกฎหมายอันเกี่ยวกับ
นิติกรรมที่ถกู อำพรางมาใช้ บงั คับ

มาตรา 156 การแสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในสิ่งซึง่ เป็ นสาระสำคัญแห่งนิติกรรมเป็ นโมฆะ


ความสำคัญผิดในสิ่งซึง่ เป็ นสาระสำคัญแห่งนิติกรรมตามวรรคหนึง่ ได้ แก่ ความสำคัญผิดในลักษณะของ
นิติกรรม ความสำคัญผิดในตัวบุคคลซึง่ เป็ นคูก่ รณีแห่งนิติกรรมและความสำคัญผิดในทรัพย์สินซึง่ เป็ นวัตถุแห่งนิติกรรม
เป็ นต้ น

-เหตุแห่งโมฆียกรรม -- >
O ม.157, 159, 160, 161, 162 (กลฉ้ อกล)
O ม.164, 165, 166 (การแสดงเจตนาเพราะข่มขู่)

มาตรา 157 การแสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรื อทรัพย์สินเป็ นโมฆียะ


ความสำคัญผิดตามวรรคหนึง่ ต้ องเป็ นความสำคัญผิดในคุณสมบัติซงึ่ ตามปกติถือว่าเป็ นสาระสำคัญ ซึง่ หาก
มิได้ มีความสำคัญผิดดังกล่าวการอันเป็ นโมฆียะนันคงจะมิ
้ ได้ กระทำขึ ้น

มาตรา 159 การแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้ อฉลเป็ นโมฆียะ


การถูกกลฉ้ อฉลที่จะเป็ นโมฆียะตามวรรคหนึง่ จะต้ องถึงขนาดซึง่ ถ้ ามิได้ มีกลฉ้ อฉลดังกล่าว การอันเป็ นโมฆียะ
นันคงจะมิ
้ ได้ กระทำขึ ้น
ถ้ าคูก่ รณีฝ่ายหนึง่ แสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้ อฉลโดยบุคคลภายนอก การแสดงเจตนานันจะเป็
้ นโมฆียะต่อเมื่อคู่
กรณีอีกฝ่ ายหนึง่ ได้ ร้ ูหรื อควรจะได้ ร้ ูถึงกลฉ้ อฉลนัน้

มาตรา 160 การบอกล้ างโมฆียะกรรมเพราะถูกกลฉ้ อฉลตามมาตรา 159 ห้ ามมิให้ ยกเป็ นข้ อต่อสู้บคุ คล
ภายนอกผู้กระทำการโดยสุจริ ต

มาตรา 161 ถ้ ากลฉ้ อฉลเป็ นแต่เพียงเหตุจงู ใจให้ คกู่ รณีฝ่ายหนึง่ ยอมรับข้ อกำหนดอันหนักยิ่งกว่าที่คกู่ รณีฝ่าย
นันจะยอมรั
้ บโดยปกติ คูก่ รณีฝ่ายนันจะบอกล้
้ างการนันหาได้
้ ไม่ แต่ชอบที่จะเรี ยกเอาค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหาย
อันเกิดจากกลฉ้ อฉลนันได้

มาตรา 162 ในนิติกรรมสองฝ่ าย การที่คกู่ รณีฝ่ายหนึง่ จงใจนิ่งเสียไม่แจ้ งข้ อความจริ งหรื อคุณสมบัติอนั คูก่ รณี
อีกฝ่ ายหนึง่ มิได้ ร้ ู การนันจะเป็
้ นกลฉ้ อฉล หากพิสจู น์ได้ วา่ ถ้ ามิได้ นิ่งเสียเช่นนัน้ นิติกรรมนันก็
้ คงจะมิได้ กระทำขึ ้น
+++++++การแสดงเจตนาเพราะข่ มขู่ +++++++
มาตรา 164 การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขู่เป็ นโมฆียะ
การข่มขู่ที่จะทำให้ การใดตกเป็ นโมฆียะนัน้ จะต้ องเป็ นการข่มขู่ที่จะให้ เกิดภัยอันใกล้ จะถึง และร้ ายแรงถึงขนาด
ที่จะจูงใจให้ ผ้ ถู กู ข่มขู่มีมลู ต้ องกลัว ซึง่ ถ้ ามิได้ มีการข่มขู่เช่นนัน้ การนันก็
้ คงจะมิได้ กระทำขึ ้น
มาตรา 165 การขูว่ า่ จะใช้ สิทธิตามปกตินิยม ไม่ถือว่าเป็ นการข่มขู่
การใดที่กระทำไปเพราะนับถือยำเกรง ไม่ถือว่าการนันได้
้ กระทำเพราะถูกข่มขู่
มาตรา 166 การข่มขู่ย่อมทำให้ การแสดงเจตนาเป็ นโมฆียะแม้ บคุ คลภายนอกจะเป็ นผู้ข่มขู่
-ผลแห่งโมฆะกรรม -- > ม.172
มาตรา 172 โมฆะกรรมนันไม่ ้ อาจให้ สตั ยาบันแก่กนั ได้ และผู้มีสว่ นได้ เสียคนหนึง่ คนใดจะยกความเสียเปล่า
แห่งโมฆะกรรมขึ ้นกล่าวอ้ างก็ได้
ถ้ าจะต้ องคืนทรัพย์สินอันเกิดจากโมฆะกรรม ให้ นำบทบัญญัติวา่ ด้ วยลาภมิควรได้ แห่งประมวลกฎหมายนี ้มาใช้
บังคับ

-ผลแห่งโมฆียกรรม -- > ม.175, 176, 177, 178, 179, 180, 181


มาตรา 175 โมฆียะกรรมนัน้ บุคคลต่อไปนี ้จะบอกล้ างเสียก็ได้
(1) ผู้แทนโดยชอบธรรมหรื อผู้เยาว์ซงึ่ บรรลุนิติภาวะแล้ ว แต่ผ้ เู ยาว์จะบอกล้ างก่อนที่ตนบรรลุนิติภาวะก็ได้ ถ้าได้
รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรม
(2) บุคคลซึง่ ศาลสัง่ ให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถหรื อคนเสมือนไร้ ความสามารถ เมื่อบุคคลนันพ้
้ นจากการเป็ นคน
ไร้ ความสามารถหรื อคนเสมือนไร้ ความสามารถแล้ ว หรื อผู้อนุบาลหรื อผู้พิทกั ษ์ แล้ วแต่กรณี แต่คนเสมือนไร้ ความสามารถ
จะบอกล้ างก่อนที่ตนจะพ้ นจากการเป็ นคนเสมือนไร้ ความสามารถก็ได้ ถ้าได้ รับความยินยอมของผู้พิทกั ษ์
(3) บุคคลผู้แสดงเจตนาเพราะสำคัญผิด หรื อถูกกลฉ้ อฉล หรื อถูกข่มขู่
(4) บุคคลวิกลจริ ตผู้กระทำนิติกรรมอันเป็ นโมฆียะตามมาตรา 30 ในขณะที่จริ ตของบุคคลนันไม่
้ วิกลแล้ ว
ถ้ าบุคคลผู้ทำนิติกรรมอันเป็ นโมฆียะถึงแก่ความตายก่อนมีการบอกล้ างโมฆียะกรรม ทายาทของบุคคลดังกล่าว
อาจบอกล้ างโมฆียะกรรมนันได้

มาตรา 176 โมฆียะกรรมเมื่อบอกล้ างแล้ ว ให้ ถือว่าเป็ นโมฆะมาแต่เริ่ มแรก และให้ ผ้ เู ป็ นคูก่ รณีกลับคืนสูฐ่ านะ
เดิม ถ้ าเป็ นการพ้ นวิสยั จะให้ กลับคืนเช่นนันได้
้ ก็ให้ ได้ รับค่าเสียหายชดใช้ ให้ แทน
ถ้ าบุคคลใดได้ ร้ ูหรื อควรจะได้ ร้ ูวา่ การใดเป็ นโมฆียะ เมื่อบอกล้ างแล้ ว ให้ ถือว่าบุคคลนันได้
้ ร้ ูวา่ การนันเป็
้ นโมฆะ
นับแต่วนั ที่ได้ ร้ ูหรื อควรจะได้ ร้ ูวา่ เป็ นโมฆียะ
ห้ ามมิให้ ใช้ สิทธิเรี ยกร้ องอันเกิดแต่การกลับคืนสูฐ่ านะเดิมตามวรรคหนึง่ เมื่อพ้ นหนึง่ ปี นับแต่วนั บอกล้ างโมฆียะ
กรรม

มาตรา 177 ถ้ าบุคคลผู้มีสิทธิบอกล้ างโมฆียะกรรมตามมาตรา 175 ผู้หนึง่ ผู้ใด ได้ ให้ สตั ยาบันแก่โมฆียะกรรม
ให้ ถือว่าการนันเป็
้ นอันสมบูรณ์มาแต่เริ่ มแรก แต่ทงนี
ั ้ ้ย่อมไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิของบุคคลภายนอก

มาตรา 178 การบอกล้ างหรื อให้ สตั ยาบันแก่โมฆียะกรรม ย่อมกระทำได้ โดยการแสดงเจตนาแก่คกู่ รณีอีกฝ่ าย
หนึง่ ซึง่ เป็ นบุคคลที่มีตวั กำหนดได้ แน่นอน

มาตรา 179 การให้ สตั ยาบันแก่โมฆียะกรรมนัน้ จะสมบูรณ์ตอ่ เมื่อได้ กระทำภายหลังเวลาที่มลู เหตุให้ เป็ น
โมฆียะกรรมนันหมดสิ
้ ้นไปแล้ ว
บุคคลซึง่ ศาลได้ สงั่ ให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถ คนเสมือนไร้ ความสามารถหรื อบุคคลวิกลจริ ต ผู้กระทำนิติกรรม
อันเป็ นโมฆียะตามมาตรา 30 จะให้ สตั ยาบันแก่โมฆียะกรรมได้ ต่อเมื่อได้ ร้ ูเห็นซึง่ โมฆียะกรรมนันภายหลั
้ งที่บคุ คลนันพ้
้ น
จากการเป็ นคนไร้ ความสามารถ คนเสมือนไร้ ความสามารถ หรื อในขณะที่จริ ตของบุคคลนันไม่ ้ วิกล แล้ วแต่กรณี
ทายาทของบุคคลผู้ทำนิติกรรมอันเป็ นโมฆียะ จะให้ สตั ยาบันแก่โมฆียะกรรมได้ นบั แต่เวลาที่ผ้ ทู ำนิติกรรมนัน้
ถึงแก่ความตาย เว้ นแต่สิทธิที่จะบอกล้ างโมฆียะกรรมของผู้ตายนันได้
้ สิ ้นสุดลงแล้ ว
บทบัญญัติวรรคหนึง่ และวรรคสองมิให้ ใช้ บงั คับ ถ้ าการให้ สตั ยาบันแก่โมฆียะกรรมกระทำโดยผู้แทนโดยชอบ
ธรรม ผู้อนุบาลหรื อผู้พิทกั ษ์
มาตรา 180 ภายหลังเวลาอันพึงให้ สตั ยาบันได้ ตามมาตรา 179 ถ้ ามีพฤติการณ์อย่างหนึง่ อย่างใดดังต่อไปนี ้เกิด
ขึ ้นเกี่ยวด้ วยโมฆียะกรรมโดยการกระทำของบุคคลซึง่ มีสิทธิบอกล้ างโมฆียะกรรมตามมาตรา 175 ถ้ ามิได้ สงวนสิทธิไว้ แจ้ ง
ชัดประการใดให้ ถือว่าเป็ นการให้ สตั ยาบัน
(1) ได้ ปฏิบตั ิการชำระหนี ้แล้ วทังหมดหรื
้ อแต่บางส่วน
(2) ได้ มีการเรี ยกให้ ชำระหนี ้นันแล้
้ ว
(3) ได้ มีการแปลงหนี ้ใหม่
(4) ได้ มีการให้ ประกันเพื่อหนี ้นัน้
(5) ได้ มีการโอนสิทธิหรื อความรับผิดทังหมดหรื
้ อแต่บางส่วน
(6) ได้ มีการกระทำอย่างอื่นอันแสดงได้ วา่ เป็ นการให้ สตั ยาบัน

มาตรา 181 โมฆียะกรรมนันจะบอกล้


้ างมิได้ เมื่อพ้ นเวลาหนึง่ ปี นับแต่เวลาที่อาจให้ สตั ยาบันได้ หรื อเมื่อพ้ นเวลา
สิบปี นับแต่ได้ ทำนิติกรรมอันเป็ นโมฆียะนัน้
ส่วนที่3
-ระยะเวลา – > ม.193/1-193/8

มาตรา 193 ในกรณีดงั ต่อไปนี ้ ฝ่ ายลูกหนี ้จะถือเอาประโยชน์แห่งเงื่อนเวลาเริ่ มต้ นหรื อเงื่อนเวลาสิ ้นสุดมิได้
(1) ลูกหนี ้ถูกศาลสัง่ พิทกั ษ์ ทรัพย์เด็ดขาดตามกฎหมายว่าด้ วยล้ มละลาย
(2) ลูกหนี ้ไม่ให้ ประกันในเมื่อจำต้ องให้
(3) ลูกหนี ้ได้ ทำลาย หรื อทำให้ ลดน้ อยถอยลงซึง่ ประกันอันได้ ให้ ไว้
(4) ลูกหนี ้นำทรัพย์สินของบุคคลอื่นมาให้ เป็ นประกันโดยเจ้ าของทรัพย์สินนันมิ
้ ได้ ยินยอมด้ วย

มาตรา 193/1 การนับระยะเวลาทังปวง้ ให้ บงั คับตามบทบัญญัติแห่งลักษณะนี ้ เว้ นแต่จะมีกฎหมาย คำสัง่ ศาล
ระเบียบข้ อบังคับ หรื อนิติกรรมกำหนดเป็ นอย่างอื่น

มาตรา 193/2 การคำนวณระยะเวลา ให้ คำนวณเป็ นวัน แต่ถ้ากำหนดเป็ นหน่วยเวลาที่สนกว่


ั ้ าวัน ก็ให้ คำนวณ
ตามหน่วยเวลาที่กำหนดนัน้

มาตรา 193/3 ถ้ ากำหนดระยะเวลาเป็ นหน่วยเวลาที่สนกว่


ั ้ าวันให้ เริ่ มต้ นนับในขณะที่เริ่ มการนัน้
ถ้ ากำหนดระยะเวลาเป็ นวัน สัปดาห์ เดือนหรื อปี มิให้ นบั วันแรกแห่งระยะเวลานันรวมเข้
้ าด้ วยกัน เว้ นแต่จะเริ่ ม
การในวันนันเองตั
้ งแต่
้ เวลาที่ถือได้ วา่ เป็ นเวลาเริ่ มต้ นทำการงานกันตามประเพณี

มาตรา 193/4 ในทางคดีความ ในทางราชการ หรื อทางธุรกิจการค้ าและอุตสาหกรรม วัน หมายความว่า เวลา
ทำการตามที่ได้ กำหนดขึ ้นโดยกฎหมาย คำสัง่ ศาล หรื อระเบียบข้ อบังคับ หรื อเวลาทำการตามปกติของกิจการนัน้ แล้ วแต่
กรณี
มาตรา 193/5 ถ้ ากำหนดระยะเวลาเป็ นสัปดาห์ เดือนหรื อปี ให้ คำนวณตามปี ปฏิทิน
ถ้ าระยะเวลามิได้ กำหนดนับแต่วนั ต้ นแห่งสัปดาห์ วันต้ นแห่งเดือนหรื อปี ระยะเวลาย่อมสิ ้นสุดลงในวันก่อนหน้ า
จะถึงวันแห่งสัปดาห์ เดือนหรื อปี สุดท้ ายอันเป็ นวันตรงกับวันเริ่ มระยะเวลานัน้ ถ้ าในระยะเวลานับเป็ นเดือนหรื อปี นันไม่
้ มี
วันตรงกันในเดือนสุดท้ าย ให้ ถือเอาวันสุดท้ ายแห่งเดือนนันเป็
้ นวันสิ ้นสุดระยะเวลา

มาตรา 193/6 ถ้ าระยะเวลากำหนดเป็ นเดือนและวัน หรื อกำหนดเป็ นเดือนและส่วนของเดือน ให้ นบั จำนวน
เดือนเต็มก่อน แล้ วจึงนับจำนวนวันหรื อส่วนของเดือนเป็ นวัน
ถ้ าระยะเวลากำหนดเป็ นส่วนของปี ให้ คำนวณส่วนของปี เป็ นเดือนก่อนหากมีสว่ นของเดือน ให้ นบั ส่วนของเดือน
เป็ นวัน
การคำนวณส่วนของเดือนตามวรรคหนึง่ และวรรคสอง ให้ ถือว่าเดือนหนึง่ มีสามสิบวัน

มาตรา 193/7 ถ้ ามีการขยายระยะเวลาออกไปโดยมิได้ มีการกำหนดวันเริ่ มต้ นแห่งระยะเวลาที่ขยายออกไป ให้


นับวันที่ตอ่ จากวันสุดท้ ายของระยะเวลาเดิมเป็ นวันเริ่ มต้ น

มาตรา 193/8 ถ้ าวันสุดท้ ายของระยะเวลาเป็ นวันหยุดทำการตามประกาศเป็ นทางการหรื อตามประเพณี ให้ นบั


วันที่เริ่ มทำการใหม่ตอ่ จากวันที่หยุดทำการนันเป็
้ นวันสุดท้ ายของระยะเวลา

-อายุความ – >193/9-193/35

ส่วนที่4

- สัญญา

You might also like