Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

หนวยการเรียนรูที่ 1 หนวยการเรียนรูที่ 2 หนวยการเรียนรูที่ 3 หนวยการเรียนรูที่ 4 หนวยการเรียนรูที่ 5

หนวยการเรียนรูที่ 6 หนวยการเรียนรูที่ 7 หนวยการเรียนรูที่ 8 หนวยการเรียนรูที่ 9 หนวยการเรียนรูที่ 10

หนวยการเรียนรูที่ 11 หนวยการเรียนรูที่ 12 หนวยการเรียนรูที่ 13

Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน

บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200


Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศัพท : 02 622 2999 โทรสาร : 02 622 1311-8 webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com
3
หนวยการเรียนรูที่

เหตุการณและการเปลี่ยนแปลงสำคัญ
ของระบอบการปกครองไทย

สาระการเรียนรูแกนกลาง
• เหตุการณและการเปลี่ยนแปลงสำคัญของระบอบการปกครองของไทย
• หลักการเลือกข้อมูล ข่าวสาร เพื่อนำมาวิเคราะห
เหตุการณและการเปลี่ยนแปลงสำคัญของระบอบการปกครองไทย

การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมือง เหตุการณมหาวิปโยค
เหตุการณ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
การปกครอง พ.ศ. 2475 (14 ตุลาคม 2516)

การเลือกรับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ
เหตุการณพฤษภาทมิฬ เหตุการณยึดอำนาจการปกครอง
การเมืองการปกครองของไทย
พ.ศ. 2535 19 กันยายน พ.ศ. 2549
ในสังคมปจจุบัน
เหตุการณและการเปลี่ยนแปลงสำคัญของระบอบการปกครองไทย
การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง พ.ศ. 2475 คำถาม
คณะราษฎร ไดยึดอำนาจเปลี่ยนแปลง มีพิธีเปดประชุมสภา เหตุการณและการเปลี่ยนแปลงสำคัญ
การปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยสู ผูแทนราษฎร ของระบอบการปกครอง สงผลตอการ
“การปกครองภายใตรัฐธรรมนูญที่มีพระมหากษัตริย เปนครั้งแรก โดยมี ดำเนินชีวิตประจำวันของเราอยางไร
ทรงเปนพระประมุขของชาติ” พระยามโนปกรณนิตธิ าดา
(ก้อน หุตะสิงห) เปนนายกรัฐมนตรี

คณะราษฎรไดนำ “พระราชบัญญัติธรรมนูญ รัฐสภาไดจัดตั้งคณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญ


การปกครองแผนดินสยาม ชั่วคราว พุทธศักราช 2475” โดยนำทูลเกลาฯ เพื่อใหพระบาทสมเด็จ
ขึ้นทูลเกลาฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจ้าอยูหัว พระปกเกลาเจ้าอยูหัว ทรงลงพระปรมาภิไธย
เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย เรียกวา “รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม
พุทธศักราช 2475”
ผลจากเหตุการณ ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
โดยมีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ
เหตุการณและการเปลี่ยนแปลงสำคัญของระบอบการปกครองไทย
เหตุการณมหาวิปโยค 14 ตุลาคม 2516
รัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร เกิดกระแสตอตานรัฐบาล มีการรวมตัว เกิดการรวมตัวของนิสิตนักศึกษา
ไดทำการยึดอำนาจของตนเอง ของนิสิตนักศึกษาและนักกฎหมาย เพื่อเรียกรองใหปลอยตัว
ยกเลิกรัฐธรรมนูญ และใช้อำนาจ จำนวน 13 คน เพื่อประกาศเรียกรอง บุคคลทั้ง 13 คน
เผด็จการปกครอง รัฐธรรมนูญ แตทั้งหมดถูกจับกุม
และถูกตั้งข้อหาวาเปนกบฏ การชุมนุมขยายตัวอยางกวางขวาง
รัฐบาลใช้กำลังปราบปรามดวยวิธีรุนแรง
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทำใหกลุมผูชุมนุมเสียชีวิตจำนวนมาก
ไดมีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ
แตงตั้งใหนายสัญญา ธรรมศักดิ์ ดำรงตำแหนง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย จอมพลถนอม กิตติขจร ลาออกจาก
นายกรัฐมนตรี และมีการเสนอรางรัฐธรรมนูญ เดช ตำแหนงนายกรัฐมนตรีและเดินทาง
แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 ทรงมีกระแสพระราชดำรัสแก่ชาวไทยทั้งประเทศ ออกนอกประเทศ
ขอใหทุกฝายระงับเหตุรุนแรงดวยการตั้งสติ
ผลจากเหตุการณ ประชาชนเกิดความตื่นตัวทางการเมือง มีการจัดตั้งกลุมรณรงค์เรียกรองสิทธิของตน
และมีการรวมตัวเพื่อตอรองผลประโยชน
เหตุการณและการเปลี่ยนแปลงสำคัญของระบอบการปกครองไทย
เหตุการณ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 สาเหตุ จอมพล ถนอม กิตติขจร เดินทางกลับมาประเทศไทย
เกิดการแบงแยกเปนฝาย
วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 นิสิตนักศึกษา
ฝายซ้าย คือ ขบวนการนิสิตนักศึกษา เกิดเหตุการณสลายการชุมนุม
รวมตัวชุมนุมประทวงการกลับมาของอดีตผูนำ
ถูกโจมตีวาฝกใฝคอมมิวนิสต ทำใหมีผูเสียชีวิตจำนวนมาก
ที่บริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ฝายขวา คือ กลุมลูกเสือชาวบาน

20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 คณะปฏิรูป


การปกครองแผนดิน ไดทำการ
เกิดการทำรัฐประหาร “คณะปฏิรูป
สถานการณตาง ๆ เริ่มคลี่คลาย รัฐประหารอีกครั้ง และแตงตั้ง
การปกครองแผนดิน” โดยมีพลเรือเอก
เมื่อรัฐบาลออกกฎหมายนิรโทษกรรม พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันท
สงัด ชลออยู เปนหัวหนาคณะ
เปนนายกรัฐมนตรี และประกาศใช้
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2521 (ฉบับที่ 13)
ผลจากเหตุการณ รัฐบาลไดมีนโยบายปราบปรามคอมมิวนิสตอยางหนัก นิสิต
นักศึกษาบางสวน หลบหนีออกนอกประเทศ
เหตุการณและการเปลี่ยนแปลงสำคัญของระบอบการปกครองไทย
เหตุการณพฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535
23 กุมภาพันธ พ.ศ. 2534 รัฐบาลถูกยึดอำนาจจากคณะรักษาความสงบ
เรียบรอยแหงชาติ (รสช.) มีพลเอกสุนทร คงสมพงษ เปนหัวหนาคณะ
คณะ รสช. ประกาศใช้ ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2534
(ฉบับที่ 14) พรอมแตงตั้งนายอานันท ปนยารชุน เปนนายกรัฐมนตรี

การเลือกตั้งโดยทั่วไปเกิดขึ้นวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 เกิดความ


วุนวายทางการเมือง สงผลใหมีการสืบทอดอำนาจของคณะ รสช. นิสิตนักศึกษาและประชาชนไดรวมตัวกันบริเวณถนนราชดำเนิน
โดยมอบหมายใหพลเอกสุจินดา คราประยูรดำรงตำแหนง เพื่อประทวงรัฐบาล ตั้งแตเดือนเมษายน พ.ศ. 2535 ถึงวันที่
17 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 รัฐบาลไดใช้กำลังปราบปราม
เหตุการณไดยุติลงเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
ทำใหมีผูเสียชีวิตและสูญหายจำนวนมาก
พลเอกสุจินดา คราประยูร ไดขอลาออกจากตำแหนงนายกรัฐมนตรี
ผลจากเหตุการณ บรรดาผูนำทางการเมืองและนักวิชาการไดรวมกันแก้ไขและเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ
แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2535 ใหมีบทบัญญัติเพื่อเปนแนวทางสูการปฏิรูป
การเมืองไทย และนำไปสูการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2540 (ฉบับที่ 16)
เหตุการณและการเปลี่ยนแปลงสำคัญของระบอบการปกครองไทย
เหตุการณยึดอำนาจการปครอง 19 กันยายน พ.ศ. 2549

เกิดความขัดแยงทางการเมืองในคณะรัฐบาลของ พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร

คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
(คปค.) โดยมีพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน เปนหัวหนาคณะ ทำการยึดอำนาจการปกครอง
จากคณะรัฐบาล

ไดมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)
พุทธศักราช 2549 (ฉบับที่ 17)

ผลจากเหตุการณ ปญหาการเมืองของไทยยังคงไมยุติ เช่น นักการเมืองแบงเปนฝาย มีการชุมนุมประทวง


การเรียกรองใหมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
การเลือกรับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการเมืองการปกครองของไทยในสังคมปจจุบัน
แนวทางการเลือกรักข้อมูลข่าวสาร
เลือกรับข่าวสารจากแหลงที่เชื่อถือได
ใช้วิจารณญาณในการอานและรับฟงข่าวสาร

การวิเคราะหข้อมูลข่าวสาร
กิจกรรม รวบรวมข้อมูลข่าวสารจากแหลงข้อมูลตาง ๆ ทีน่ าเชื่อถือ
จัดประเภทของข้อมูลข่าวสาร แลวจำแนกแบงกลุมยอย
นักเรียนเลือกรับข่าวสารที่นาสนใจ 1 เรื่อง เพื่อใหง่ายตอการวิเคราะห
จากช่องทางใดก็ได แลวอนำมาวิเคราะหวาข่าวสาร
วิเคราะหข้อมูลข่าวสารตามประเด็น และเปรียบเทียบ
ข้อมูลนั้น มีความนาเชื่อถือมากนอยเพียงใด หาความแตกตางของข้อมูลข่าวสาร
และนักเรียนไดประโยชนจากข่าวสารข้อมูลอยางไร
ถายทอดข้อมูลข่าวสารอยางถูกตองและชัดเจน
สรุปสาระสำคัญ
เหตุการณและการเปลี่ยนแปลงสำคัญของระบอบการเมืองการปกครองของไทย
การเปลี่ยนแปลงของระบอบการเมืองการปกครองไทย สงผลใหเกิด
ความเปลี่ยนแปลงทั้งดานการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ
ประชาชนเปนพลังสำคัญที่จะช่วยใหการเมืองการปกครองมีความเข้มแข็ง
และพัฒนาไปไดอยางก้าวหนา

การเลือกรับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการเมืองการปกครองของไทยในสังคมปจจุบัน
แหลงข้อมูลข่าวสารมีหลากหลายช่องทาง เราควรใช้วิจารณญาณในการรับรูข้อมูลข่าวสาร
ไมวาจะเปนการเลือกรับข้อมูล การวิเคราะห และการตรวจสอบความถูกตองของข้อมูลข่าวสาร

You might also like