Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

การออกแบบนั่งร้ าน

1. ออกแบบโครงสร้ างนั่งร้ าน (Scaffold) และคํา้ ยัน (Bracing)

m
co
รูปแสดง กรณี ใช้ไม้เป็ นแบบนัง่ ร้าน
il.
iv
C
m
Tu

รูปแสดง กรณี ใช้เหล็กเป็ นแบบนัง่ ร้าน

อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวิชาเทคโนฯก่อสร้าง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


การออกแบบนั่งร้ าน
2

m
co
il.
iv
C
m
Tu

รูปแสดง องค์ประกอบของนัง่ ร้าน

อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวิชาเทคโนฯก่อสร้าง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี ZZZWXPFLYLOFRP


การออกแบบนั่งร้ าน
3

m
(ก) รู ปร่ างที่เป็ นผลมาจาก (ข)
co (ข) การเสี ยรู ปนําไปสู่ รูปทรงใน (ก)
il.
รู ปแสดง พฤติกรรมของนัง่ ร้านเหล็ก (เพื่อให้ดูวา่ ทําไม่นงั่ ร้านจึงต้องมีรูปร่ างอย่างที่เห็นใน (ก))
iv
สิ่ งแรกที่ตอ้ งทราบก่อนทําการลงมือวิเคราะห์และออกแบบคือ
C

1.1 นํ้าหนักบรรทุกที่ใช้ออกแบบ ซึ่งประกอบด้วย


m

-นํา้ หนักบรรทุกในแนวดิง่

1. นํ้าหนักบรรทุกตายตัว ประกอบด้วย
Tu

• ของคอนกรี ตสดและเหล็กเสริ ม = 2,400xความหนา

• ของวัสดุอื่นๆที่ฝังในคอนกรี ต

• นํ้าหนักของแบบนัง่ ร้านเองใช้ไม่นอ้ ยกว่า 50 กก./ม2 (ANSI.)

2. นํ้าหนักบรรทุกจรใช้ไม่นอ้ ยกว่า 245 กก./ม2 (และ 365 กก./ม2 กรณี ใช้รถเข็นสองล้อ

ช่วยงาน) ประกอบด้วย

• ของตนปฏิบตั ิงาน
อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวิชาเทคโนฯก่อสร้าง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี ZZZWXPFLYLOFRP
การออกแบบนั่งร้ าน
4

• ของเครื่ องจักรต่างๆ

• วัสดุหน้างานที่สงั่ มากองเก็บรวมถึงเศษขยะ-คอนกรี ตที่เหลือ

• แรงกระแทกเนื่องจากการเท-เขย่าคอนกรี ต การทํางานของเครื่ องจักร

หมายเหตุ : ให้ พึงระวังมีวิศวกรเป็ นจํานวนมากทั้งที่ทาํ การคํานวณออกแบบเพื่อยื่นขออนุมตั ิแบบ

นั่งร้ าน (ซึ่ งผมก็เป็ นหนึ่งในผู้ตรวจรั บของหน่ วยงานที่ต้องเจอปั ญหาดังกล่ าว จากวิศวกรผู้รับเหมา

ทุก!...โครงการเสมอมาเป็ นอาจิ ณ ) และที่เห็นเผยแพร่ ผ่านเว็ปไซด์ มักใช้ ค่าของนํา้ หนักในส่ วนนี ้ ไม่

m
ถูกต้ องกล่ าวคือนิยมใช้ กันที่ 150 กก./ม2 ซึ่ งหากไม่ แก้ ไขรั งแต่ จะเป็ นการปลูกถ่ ายองค์ ความรู้ ที่ผิดๆ

co
จากรุ่ นสู่ร่ ุ น

3. นํ้าหนักบรรทุกรวม (ของนํ้าหนักบรรทุกตายตัว + นํ้าหนักบรรทุกจร) ใช้ไม่นอ้ ยกว่า 450

กก./ม2 (และ 600 กก./ม2 กรณี ใช้รถเข็นสองล้อช่วยงาน)


il.
-นํา้ หนักบรรทุกในแนวราบ
iv
1. นํ้าหนักกระทําต่อแบบพื้น (ต้องทําในสองทิศทางที่ต้ งั ฉากกัน ) ใช้จากค่ามากสุ ดต่อไปนี้
C

คือ (รับโดยเสาตูห๊ รื อเสาคํ้ายันและระบบคํ้ายันด้านข้าง) 150 กก./ม. หรื อ 2%ของนํ้าหนักบรรทุก

ตายตัว
m
Tu

2. นํ้าหนักกระทําต่อแบบผนัง ใช้ค่ามากสุ ดต่อไปนี้คือ

80 กก./ม2 หรื อ 150 กก./ม. หรื อแรงลมตามมาตรฐานของแต่ละพื้นที่

1.2 ข้อควรควรระวังและสมมติฐานการออกแบบเพื่อความปลอดภัย

-นํ้าหนักบรรทุกทั้งหมดถูกมองว่าเป็ นนํ้าหนักแผ่กระจายแบบสมํ่าเสมอ (ω)


อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวิชาเทคโนฯก่อสร้าง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี ZZZWXPFLYLOFRP
การออกแบบนั่งร้ าน
5

-กรณี ส่วนของแบบนัง่ ร้านที่เป็ นคาน (ทั้งตงและคานหลัก ) หากมีช่วงยาวที่ต่อเนื่องกัน ตั้งแต่

3 ช่วงขึ้นไป ให้ทาํ การวิเคราะห์และออกแบบเป็ นแบบคานต่อเนื่อง ดังนั้นสมการที่ใช้ในการ

ออกแบบและตรวจสอบคือ

M = (ωL2)/10, V = (5ωL)/8, 4
∆ = (ωL )/(145IE) ≤ L/360… ใช้วเิ คราะห์

Fb = Mc/I = (6M)/(bd2), d = √(6M/bFb)…ใช้หาขนาดชิ้นส่ วน

Fb = M/S = (ωL2)/(10S), L = 3.16√(SFb/ω)…ใช้ตรวจสอบ

m
Fs = (VQ/Ib), L = [Fs/(0.625ω)](Ib/Q)…ใช้ตรวจสอบ

(ωL4)/(145IE) = L/360, L = 0.743√(IE/ω)…ใช้ตรวจสอบ

co
เมื่อ Fb = หน่วยแรงดัดที่ยอมให้ , S = โมดูลสั ของหน้าตัด , L = ช่วงระยะห่างระหว่างจุด

รองรับ, b = ความกว้างของหน้าตัด, d = ความลึกของหน้าตัด


il.
-หากมีช่วงยาวที่ต่อเนื่องกัน 2 ช่วงลงมา ให้ทาํ การวิเคราะห์และออกแบบเป็ นแบบคาน ช่วง
iv
เดียวอย่าง่าย (Simple Support Beam) ดังนั้นสมการที่ใช้ในการออกแบบและตรวจสอบคือ

M = (ωL2)/8, V = (ωL)/2, 4
C

∆ = (5ωL )/(384IE) ≤ L/360…ใช้วเิ คราะห์

Fb = Mc/I = (6M)/(bd2), d = √(6M/bFb)…ใช้หาขนาดชิ้นส่ วน


m

Fb = M/S = (ωL2)/(8S), L = 2.83√(SFb/ω)…ใช้ตรวจสอบ

Fs = (VQ/Ib), L = [Fs/(0.50ω)](Ib/Q)…ใช้ตรวจสอบ
Tu

(5ωL4)/(384IE) = L/360, L = 0.603√(IE/ω)…ใช้ตรวจสอบ

หมายเหตุ: ข้ อสังเกต!...ทําไม่ ?....ในการวิเคราะห์ เพื่อการออกแบบจึ งต้ องกําหนด ไว้ ว่า หากมี

ช่ วงยาวที่ต่อเนื่องกันตั้งแต่ 3 ช่ วงขึน้ ไปให้ พิจารณาเป็ นคานต่ อเนื่อง ที่เหลือ เป็ นคานช่ วงเดียว

เค้ าเฝ้ ามองอะไรอยู่....คิดๆๆ

อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวิชาเทคโนฯก่อสร้าง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี ZZZWXPFLYLOFRP


การออกแบบนั่งร้ าน
6

-ในการอกแบบชิ้นส่ วนหรื อคานหลัก ความแข็งแรงเนื่องจากอุปกรณ์ยดึ ต่างๆ ไม่ให้นาํ มา

รวมคิดในการออกแบบขนาดของชิ้นส่ วนดังกล่าว

-ในการออกแบบเสารับแบบนัง่ ร้าน (เสาตู๊ หรื อเสาคํ้ายัน ) ออกแบบตามวิธีการออกแบบ

โครงสร้างรับแรงอัด (ทั้งกรณี เป็ นไม้และเป็ นเหล็กรู ปพรรณ) แต่โดยทัว่ ไปแล้วเสามักจะมีขนาด

เล็กและชะลูด ซึ่งอาจโก่งเดาะได้โดยง่าย ดังนั้นจะต้องมีการใส่ ระบบคํ้ายันเข้าไปช่วยเสริ มใน

ส่ วนนี้

m
1.3 ขั้นตอนการออกแบบ

-คํานวณหา (หรื อคาดการ) นํ้าหนักบรรทุกที่อาจเกิดหรื ออาจมี

co
-คํานวณหาความหนาของแผ่นไม้อดั (Plywood) โดยการเลือกใช้ข้ ึนมาก่อน แล้วจึงหาหรื อ

ตรวจสอบระยะห่ างสู งสุ ดระหว่างตง (Joist)


il.
-คํานวณหาขนาดของตงโดยการเลือกใช้ข้ ึนมาก่อน แล้วจึงหาหรื อตรวจสอบระยะห่ างสูงสุ ดร
iv
ระหว่างคานหลัก (Stringer)

-คํานวณหาขนาดของคานหลัก โดยการเลือกใช้ข้ ึนมาก่อน แล้วจึงหาหรื อตรวจสอบระยะห่าง


C

สู งสุ ดระหว่างเสาตู๊ (Shore)


m

-ออกแบบเสาตู๊ และอย่าลืมตรวจสอบการคํ้ายันด้านข้างด้วย (กรณี มีแรงกระทําด้านข้างมากๆ)

-ตรวจสอบหน่วยแรงแบกทาน (Bearing Stress) ระหว่างหน้าสัมผัสของ ตง -คานหลัก , คาน


Tu

หลัก-เสาตู๊ และเสาตู-๊ ฐานรองรับ

-คํานวณหาขนาดของชิ้นส่ วนที่เป็ นคํ้ายัน

อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวิชาเทคโนฯก่อสร้าง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี ZZZWXPFLYLOFRP


การออกแบบนั่งร้ าน
7

m
co
(ไม้อดั ทําแบบพื้นที่มกั พบบ่อยมีขนาด 1.22x2.44 ม. หนา 3, 4, 6, 10, 12, 15 และ 20 มม.)
il.
รูปแสดงตารางคุณสมบัติของแผ่นไม้อดั แบบที่ใช้ในการออกแบบความหนา
iv
C
m
Tu

รูปแสดงทิศทางการวางตัวของแผ่นไม้อดั แบบที่ถูกต้อง
อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวิชาเทคโนฯก่อสร้าง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี ZZZWXPFLYLOFRP
การออกแบบนั่งร้ าน
8

-นํ้าหนักบรรทุกที่ใช้ในการวิเคราะห์และออกแบบประกอบด้วย

นํ้าหนักบรรทุกตายตัวของแบบคํ้ายันเอง

นํ้าหนัก บรรทุก ของวัสดุที่ตอ้ งการออกแบบรองรับ เช่น นํ้าหนักคอนกรี ต , นํ้าหนักเหล็กต่างๆ

และอุปกรณ์ประกอบอื่นๆ

นํ้าหนักบรรทุกจรไม่นอ้ ยกว่า 150 กก./ตร.ม.

นํ้าหนักบรรทุกเนื่องจากพฤติกรรมการทํางาน เช่น แรงสัน่ สะเทือนเนื่องการทํางานหรื อ

m
เคลื่อนไหวของเครื่ องจักร แรงกระแทกเนื่องจากการเทคอนกรี ต แรงสัน่ สะเทือนเนื่องจากการจี้

คอนกรี ตหรื อเขย่าแบบ ลฯ

co
แรงลมและแรงแผ่นดินไหว (ถ้ามี) il.
กรณีศึกษาเพือ่ การออกแบบ (กรอบแนวความคิดเบือ้ งต้ น)
iv
ต้องการออกแบบระบบนัง่ ร้าน เหล็กรู ปพรรณ เพื่อรองรับแผ่นพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กหนา 23 cm.
C

(ระบบโพสเทนชัน่ ระยะห่ างระหว่างเสา แต่ละด้าน 8 m.) สําหรับอาคาร ปฏิบตั ิ การเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี
m
Tu

อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวิชาเทคโนฯก่อสร้าง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี ZZZWXPFLYLOFRP


การออกแบบนั่งร้ าน
9

m
co
il.
(ก)
iv
C
m
Tu

(ข)

อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวิชาเทคโนฯก่อสร้าง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี ZZZWXPFLYLOFRP


การออกแบบนั่งร้ าน
10

m
(ค)

co
il.
iv
C

(ง)

รู ปแสดงนัง่ ร้านรับแผ่นพื้นไร้คาน (ที่มา: อ.เสริ มพันธ์, ห้ามลอกเลียนหรื อทําสําเนา)


m
Tu

1. ออกแบบความหนาของแผ่ นไม้ อดั (Plywood Decking) แบบท้ องพืน้

1.1 ข้อมูลการออกแบบ

-ระยะวางพาดของไม้อดั (เท่ากับระยะห่างระหว่างตง) = กําลังที่จะหา, m.

1.2 นํ้าหนักบรรทุกที่กระทําต่อนัง่ ร้าน

-นํ้าหนักบรรทุกจร = 245 ksm. (ตรงนี้ไม่เกี่ยวหรื อ เป็ นคนละเรื่ องกับนํ้าหนักบรรทุกจรสําหรับ

ออกแบบโครงสร้าง ถ้าออกแบบแผ่นพื้นกรณี น้ ีเป็ นอาคารเรี ยนจะใช้ที่อย่างตํ่า 400 ksm.)

อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวิชาเทคโนฯก่อสร้าง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี ZZZWXPFLYLOFRP

You might also like