ว21102

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 143

1 การเคลื่อนทีข่ องวัตถุ

การเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นการเปลี่ยนตําแหน่งของวัตถุจากตําแหน่งหนึ่งไปอีกตําแหน่งหนึ่ง ในการดํารงชีวิต
ประจําวันเรามักเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่อยู่เสมอ เช่น การเดินทางไปสถานที่ต่างๆ เราจะเคลื่อนที่โดยการเดิน วิ่ง หรือ
ใช้ยานพาหนะต่างๆ การขี่จักรยานไปโรงเรียน การนั่งรถยนต์ไปโรงเรียน การเล่นกีฬาก็มีการเคลื่อนที่ของนักกีฬาหรือ
อุปกรณ์กีฬาหลายลักษณะ เช่น ลูกฟุตบอลที่ถูกเตะจากพื้นสู่อากาศ การตีลูกเทนนิสให้เคลื่อนที่ในแนวโค้งเพื่อให้
ลูกเทนนิสข้ามตาข่าย เป็นต้น
การเคลื่อนที่ของวัตถุจึงมีหลายรูปแบบ ดังนี้
1. การเคลื่อนที่แนวตรง
วัตถุจะเคลื่อนที่ในทิศเดิมหรือทิศตรงข้ามซึ่งเป็นการเคลื่อนที่ในแนวเดิม อาจมีแรงมากระทําต่อวัตถุหรือไม่มี
แรงมากระทํา ถ้ามีแรงมากระทําต่อวัตถุจะมีทิศทางอยู่ในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุเสมอ เช่น ขี่จักรยานไปตาม
ถนนตรง ก้อนหินตกจากหน้าผาลงสู่พื้น ฝนตก น้ําตก หรือวัตถุต่างๆ ที่ตกแนวดิ่ง เป็นต้น
2. การเคลื่อนที่แนวโค้ง หรือ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
วัตถุจะเคลื่อนที่ในวิถีโค้ง เนื่องจากวัตถุมีการเคลื่อนที่ 2 แนวพร้อมๆ กัน คือ วัตถุจะเคลื่อนที่ทั้งแนวราบ
และแนวดิ่งในเวลาเดียวกัน เช่น ขว้างลูกบอลไปข้างหน้า ลูกบอลจะเคลื่อนที่เป็นแนวโค้ง นักฟุตบอลโหม่งลูกฟุตบอลให้
เคลื่อนที่เป็นแนวโค้งเพื่อให้ลูกบอลเข้าประตู ขับรถยนต์เลี้ยวโค้ง เป็นต้น
3. การเคลื่อนที่แบบวงกลม
วัตถุจะเคลื่อนที่เป็นส่วนโค้งรอบจุดๆ หนึ่ง โดยมีแรงกระทําให้ทิศเข้าสู่ศูนย์กลาง เช่น ขี่จักรยานรองวงเวียน
ดาวเคราะห์โคจรรอบโลก พัดลมหมุน กระเคลื่อนที่ของชิงช้าสวรรค์ เป็นต้น
4. การเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ํารอยเดิม หรือ การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
วัตถุจะเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ํารอยเดิมโดยมีค่าแอมพิจูดคงที่ เช่น การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา การยืดหด
ของลวดสปริง การแกว่งของชิงช้า เป็นต้น
2

แบบฝึกหัด การเคลื่อนทีข่ องวัตถุ


ชื่อ – นามสกุล __________________________________________________ ชั้น ม.1/______ เลขที่ ______

คําสั่ง
ตอนที่ 1 จงระบุแบบการเคลื่อนที่ของวัตถุต่อไปนี้
รูปแบบการเคลื่อนทีข่ องวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุ ฮาร์มอนิก
แนวตรง วงกลม แนวโค้ง
อย่างง่าย
1. รถแล่นตรงไปตามถนน
2. ใช้สายยางฉีดน้ํารดต้นไม้สูงๆ
3. ชมพู่เดินขึ้นบันได
4. กังหันลมหมุน
5. มะม่วงหล่นจากต้น
6. นางจิตไกวเปลลูก
7. โยนลูกบาสลงห่วง
8. ดวงจันทร์โคจรรอบโลก
9. การสั่นกระดิ่ง
10. ชาญตีลูกเทนนิสข้ามตาข่าย
11. คุณยายนั่งเก้าอี้โยก
12. หม่องขว้างเครื่องบินกระดาษ
13. ป้าลําดวนตําน้ําพริกอยู่ในครัว
14. สุนัขกระโดดข้ามรั้ว
15. การเคลื่อนที่ของม้าหมุน
3

ตอนที่ 2 จจงเขียนผังมโนนทัศน์แสดงแบบการเคลื่อนนที่ของวัตถุพร้อมยกตัวอย่างการเคลื
า ่อนนที่แต่ละแบบมมา 3 ตัวอย่าง

1. _____________________________________________________
เช่น - _______________________________
__________________
- ________________________________________________
- ________________________________________________

2. _____________________________________________________
เช่น - _______________________________
__________________
- ________________________________________________
- ________________________________________________

แบบกการเคลื่อนที
น ่
3. _____________________________________________________
เช่น - _______________________________
__________________
- ________________________________________________
- ________________________________________________

4. _____________________________________________________
เช่น - _______________________________
__________________
- ________________________________________________
- ________________________________________________
4

2 ตําแหน่งของวัตถุ
2.1 การบอกตําแหน่งของวัตถุ
1. การบอกตําแหน่งของวัตถุที่ไม่เคลื่อนที่
การบอกตําแหน่งของวัตถุที่อยู่กับที่ จะต้องระบุสิ่งต่อไปนี้ คือ
1.1 ตําแหน่งอ้างอิง
ตําแหน่งอ้างอิงมีทั้งสิ่งที่มีอยู่จริงตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ตําแหน่งที่มีอยู่จริงตาม
ธรรมชาติ ได้แก่ ต้นไม้ แม่น้ํา ลําคลอง ภูเขา น้ําตก เป็นต้น ส่วนตําแหน่งอ้างอิงที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ อาคาร
บ้านเรือน เขื่อน อนุสาวรีย์ ถนน สะพาน เป็นต้น
1.2 ระยะห่างและทิศทางของตําแหน่งวัตถุเทียบกับตําแหน่งอ้างอิง
เช่น ตําแหน่งของนักเรียนในห้องเรียน คือ นั่งโต๊ะตัวที่ 2 ของแถวหน้า โดยโต๊ะห่างจากหน้า
กระดานดํา 2 เมตร และห่างจากแนวผนังด้านซ้าย 1.5 เมตร เป็นต้น

2. การบอกตําแหน่งของวัตถุที่เคลื่อนที่
ถ้าวัตถุมีการเคลื่อนที่หรือมีการเปลี่ยนตําแหน่ง เช่น การบอกตําแหน่งของยานพาหนะต่างๆ ที่กําลัง
เคลื่อนที่ นอกจากจะบอกตําแหน่งและทิศทางเมื่อเทียบกับหลั กกิ โลเมตรที่อยู่ใ กล้เคียงแล้ว ยั งต้องบอก
ตําแหน่งของยานพาหนะว่ากําลังวิ่งในช่องทางใดและบอกทิศทางว่ามุ่งหน้าไปทางทิศใดหรือไปทิศใด เป็นต้น
5

แแบบฝึกหัหด การบอกตําแแหน่งขอองวัตถุ
ชื่อ – นามสกุล _______________________________________________________ ชั้น มม.1/______ เลขที
เ ่ _______

คําสั่ง จงเเติมคําหรือข้อความลงในช่
อ องว่
อ างให้ถูกต้อ้ ง
1. สิ่งที่ต้องรระบุในการบออกตําแหน่งขอองวัตถุ คือ ________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
2. ลักษณะขของตําแหน่งอ้างอิงควรเป็นตํ
น าแหน่งที่อยู่นิ่งหรือเคลื่อนที่ __________________
_______________________
และเป็นตําแหน่งที่อยู่ใกล้
ใ หรือไกลจากวัตถุนั้น _______________________________________________________
3. ตําแหน่งออ้างอิงที่เป็นสิง่ ที่มีอยู่ในธรรรมชาติ ได้แก่ _______________________________
_______________________
4. ตําแหน่งออ้างอิงที่มนุษย์ยสร้างขึ้น ได้แก่
แ ______________________________________________________________
5. จงบอกตําาแหน่งบ้านขอองนักเรียน __________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
6. จงศึกษาแแผนผังแสดงตตําแหน่งที่นั่งและสิ
แ ง่ ของต่างๆ ที่อยู่ในห้องเรี
อ ยน แล้วตอบคํ
ต าถามต่ออไปนี้

ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

6.1 นักเรียน A นั่งอยู่ที่ตําแหน่


า งใด ___________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
6.2 นักเรียน B นั่งอยู่ที่ตําแหน่
า งใด ___________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
6.3 นักเรียน C นั่งอยู่ที่ตําแหน่
า งใด ___________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
6

2.2 การเปลี่ยนตํ
น าแหน่งของวั
ข ตถุ

ระยยะทางในการรเคลื่อนที่และะระยะทางในแนวตรงต่างกกันหรือเหมือนกันอย่างไร
การรเปลี่ยนตําแหน่งของวัตถุถจากจุดหนึ่งไไปยังอีกจุดหนึ
ห ่งในเส้นทาางต่างๆ หลาายเส้นทาง ระยะทางที่ได้้ใ น
เส้นทางต่างๆ จะมีความแแตกต่างกัน แต่ระยะทางในนแนวตรงที่ได้้จะเท่ากัน เช่น

ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

จากกภาพ ถ้าเดิดินจากตําแหนน่ง ก ไปตําแหหน่ง ข ตามเเส้นทาง 1 , 2 หรือ 3 ระยยะทางที่เคลื่อนที อ ่ได้ในแต่ละ ล


เส้นทางจะไมม่เท่ากัน แต่ทุทกเส้นทางมีระยะทางในแน
ะ นวตรงเท่ากัน คือ เท่ากับเส้ส้นตรง กข มีททิิ ศจาก ก ไปยัยังตําแหน่ง ข
ดังนนั้น ระยะทางที่เดินได้ตามแแนวเส้นทางทีที่ 1 , 2 และ 3 เรียกว่า ระะยะทาง ส่วนรระยะทางที่วดในแนวตรงจ
ัด าก
ตําแหน่งจุดเเริ่มต้นไปยังตํําแหน่งจุดสุดท้าย เรียกว่า การกระจัด
7

แแบบฝึกหัหด การบอกตําแแหน่งขอองวัตถุ
ชื่อ – นามสกุล _______________________________________________________ ชั้น มม.1/______ เลขที
เ ่ _______

คําสั่ง จงเเติมคําหรือข้อความลงในช่
อ องว่
อ างให้ถูกต้อ้ ง
รูปเหลี่ยมทีส่ ร้างขึ้น การเดินตาามเส้นรอบรูป กการเดินในแนวตรง
บนพืน้ ห้องหรือ จากจุดเริ่มต้นถึงจุดสุดท้าย
า จากจุจุดเริ่มต้นถึงจุดสุดท้าย
พื้นสสนาม การเปลีลี่ยนตําแหน่ง ระยะทาง (เมตร) การเปลี่ยนตํตําแหน่ง ระยะทาง
ร (เมตตร)
ก 4 เมมตร ข กข กข
5 เมตร
3 เมตร

กขค กค
3 เมตร

ง 4 เมมตร ค กขคง กง

1. ระยะทางงที่เดินตามเส้นรอบรู
น ปจากจจุด ก ไปจุด ข เท่ากับระยะะทางที่เดินในแนวตรงจากจุจุด ก ไปจุด ข หรือไม่
___________________________________________________________________________________________
2. ระยะทางงที่เดินตามเส้นรอบรู
น ปจากจจุด ก ไปจุด ข และ ค เท่ากักบระยะทางทีที่เดินในแนวตตรงจากจุด ก ไปจุ
ไ ด ข หรือไม่

___________________________________________________________________________________________
3. ระยะทางที่เดินตามเส้นรอบรู
น ปจากจุด ก ไปจุด ข ค และ ง เท่ากัับระยะทางทีเ่ ดินในแนวตรงงจากจุด ก ไปจจุด ข หรือไม่
___________________________________________________________________________________________
4. ระยะทางงที่เดินตามเส้นรอบรู
น ปหรือตามแนวเส้นททางการเคลื่อนที
น ่ เรียกว่า ___________
_ _______________________
ส่วนระยะะทางที่เดินในแแนวตรงจากตํตําแหน่งเริ่มต้นนไปยังตําแหนน่งสุดท้าย เรียกว่
ย า _____________________________
8

3 ระยะะทางแลละการกกระจัด
เมื่ออวัตถุมีการเคลื่อนที่หรือมีการเปลี
ก ่ยนตําาแหน่ง การบอกตําแหน่งใหหม่ของวัตถุสาามารถกระทําได้
า โดยการระะบุ
ตําแหน่งที่เป็นจุดสุดท้ายเที
ย ยบกับตําแหน่แ งจุดเดิมหหรือตําแหน่งจุดเริ่มต้น กาารบอกตําแหนน่งเป็นระยะททางกับการบออก
ตําแหน่งเป็นนการกระจัดจะเหมื
จ อนหรือกันหรือแตกตต่างกัน นักเรียนจะได้
ย ศึกษาาจากบทเรียนตต่อไปนี้

ก 4 เมตร ข

3 เมตร
5 เมตร
3 เมตร

ง ค
4 เมตร

ระยะทาง
คือ ระยะทางตาามเส้นทางการรเคีลื่อนที่จริงงของวัตถุ เช่ ่อ ่จาก ก ไปป ข และ ค เป็
เ น วัตถุเคลือนที เ นระยะทางง 7
เมตร หรือเคคลื่อนที่จาก ก ไป ข ค และะ ง เป็นระยะทาง 11 เมตรร เป็นต้น
ระยยะทางเป็นปริริมาณที่ไม่ต้องระบุ
ง ทิศทาง มีเฉพาะขนาดด เรียกว่า ปริมาณสเกลาร์ร์

การกระจัด
คือ ระยะทางในแนวตรงจากตตําแหน่งเริ่มต้ นไปยังตําแหหน่งสุดท้ายขอองวัตถุ เช่น กการเดินจากจุด ก ไปถึงจุด ค
เป็นการกระะจัด 5 เมตร หรื
ห อการเดินจาก ก ไป ง เป็ป็นการกระจัด 3 เมตร เป็นต้
นน
การรกระจัดเป็นปริ
ป มาณที่ต้องระบุทั้งขนาาดและทิศทาง โดยระบุจดเริุด ่มต้นและจจุดสุดท้าย เรีรียกว่า ปริมาณ

เวกเตอร์


การเคลื ่อนที่โดยทั
ด ่วๆ ไป ระะยะทางจะมาากกว่าการกระจัดเสมอ
ยกเว้นเมื่อวัตตถุเคลื่อนที่เป็นเส้
น นตรง
9

ที่มา : หนังสือสื่ออการเรียนรู้ฯ วิทยาศาสสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

การกําหนดทิศแลละสัญลักษณ์์ N
การกําหนนดทิศ เริ่มจาากการเห็นดวงงอาทิตย์ขึ้น
ศ นออก เมืมื่อหันด้านขวามือไปทาง
ในตอนเช้าเป็นทิศตะวั
ทิศตตะวันออก ซ้ายมือจะเป็นทิศตะวันตก ส่ววนด้านหน้า
เป็นททิศเหนือ และะด้านหลังเป็นทิ
น ศใต้
การเขียนสั ส ศ จะเขียยนแทนด้วย
น ญลักษณ์แสดงทิ
ลูกศศรโดยหัวลูกศรชี้ทิศเหนือ และมี
แ เส้นตั้งฉฉากกับลูกศร
ดังรูป
10

แบบฝึกหัด ระยะทางและการกระจัด
ชื่อ – นามสกุล __________________________________________________ ชั้น ม.1/______ เลขที่ ______

คําสั่ง
ตอนที่ 1 จงศึกษาตารางแสดงการเปลี่ยนตําแหน่งของวัตถุต่อไปนี้ แล้วตอบคําถาม
กําหนดให้ รูปเหลี่ยมที่วัตถุเคลื่อนที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กขคง มีขนาดกว้าง 3 เมตร และยาว 4 เมตร
ระยะทางวัดตามเส้นรอบรูป ระยะทางที่วัดแนวตรง
การเปลี่ยนตําแหน่ง
(ระยะทาง) (การกระจัด)
ระยะ กข เท่ากับ 4 เมตร ระยะจาก ก ไป ข เท่ากับ 4 เมตร
ง 4 เมตร ค ง 4 เมตร ค

จาก ก ไป ข

3 เมตร

3 เมตร
3 เมตร

3 เมตร
ก 4 เมตร ข ก 4 เมตร ข
ระยะ กข + ขค เท่ากับ 7 เมตร ระยะจาก ก ไป ค เท่ากับ 5 เมตร
ง 4 เมตร ค ง 4 เมตร ค
จาก ก ไป ข
3 เมตร

3 เมตร
3 เมตร

3 เมตร
และ ข ไป ค

ก 4 เมตร ข ก 4 เมตร ข
ระยะ กข + ขค + คง เท่ากับ 11 เมตร ระยะจาก ก ไป ง เท่ากับ 3 เมตร
ง 4 เมตร ค ง 4 เมตร ค

จาก ก ไป ข ค และ ง
3 เมตร

3 เมตร
3 เมตร

3 เมตร

ก 4 เมตร ข ก 4 เมตร ข
ระยะ กข + ขค + คง + งก ระยะทางที่ตําแหน่ง ก
เท่ากับ 14 เมตร เท่ากับ 0 เมตร
ง 4 เมตร ค ง 4 เมตร ค
จาก ก ไป ข ค ง และ ก
3 เมตร

3 เมตร
3 เมตร

3 เมตร

ก 4 เมตร ข ก 4 เมตร ข
1
11

1. วัตถุเคลือ่อนที่ช่วงใดที่มีมีระยะทางเท่ากั
า บการกระจัจัด ____________________________________________________
2. วัตถุเคลือ่อนที่ช่วงใดที่มีมีระยะทางและะการกระจัดตต่างกัน 2 เมตร __________________________________________
3. วัตถุที่เคลืลื่อนที่จาก ก ไป
ไ ข ค และ ง เป็นระยะททาง ________ เมตร และกการกระจัดเป็น _________ เมตร และมีมี
ความแตกกต่างกัน _________ เมตร
4. วัตถุเคลือ่อนที่ช่วงใดที่มีมีการกระจัดเป็ป็น 0 ____________________________________________________________
เหตุใดจึงเเป็นเช่นนั้น ___________
_ _________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________

ตอนที่ 2 จงเติมคําหรือข้
อ อความลงในช่องว่างให้ถถููกต้อง

ที่มา : หนังสือสื่อการเรีรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชันมั


น้ ธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2
1
12

ทีม่ า : หนังสือสื่อการเรียน รู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึ


ธ กษาปีที่ 1 เล่ม 2
1
13

ที่มา : หนังสือสื่อการเรีรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชันมั


น้ ธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

4 ปริมาณสเเกลาร์และปริมมาณเวกเตอร์
1
14

ปริมมาณในทางวิทยาศาสตร์
ท มี 2 ชนิด คือ
1. ปริมาณสเกลาร์
า (SScalar Quanntity)
2. ปริมาณเวกเตอร์
า (Vector
( Quaantity)

4.1 ปปริมาณสเกกลาร์
หมายถึง ปริมาณ ณที่มีขนาดเพีพียงอย่างเดียว ไม่มีทิศทางง เช่น ความยยาว พื้นที่ปริ มาตร มวล ระยะทาง
ร เวลลา
อุณหภูมิ คววามหนาแน่น อัตราเร็ว พลั พ งงาน ปริมมาณชนิดนี้บอกแต่เพียงขนาดอย่างเดียยวก็เข้าใจและได้ความหมาย
สมบูรณ์ เช่น เชือกเส้นนียาว
ย้ 10 เมตร , วันนี้มีอุณหหภูมิสูงสุด 300 องศาเซลเซียส
ย , วัตถุก้อนนนี้มีมวล 5 กรรัม เป็นต้น

4.2 ปปริมาณเวกกเตอร์
หมายถึง ปริมาณ ณที่มีทั้งขนาดดและทิศทาง เช่น การกระะจัด แรง ความเร็ว ความมเร่ง น้ําหนัก ปริมาณชนิดนี
ด ้
ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทางจึ
ศ งจะเข้าใจและได้คววามหมายสมบบูรณ์ เช่น โรงงเรียนอยู่ห่างงจากบ้าน 1 กิโลเมตรไปททาง
ทิศใต้
การรแสดงขนาดแและทิศทางขอองปริมาณเวกกเตอร์จะใช้ลกศรแทนูก โดยยขนาดของปริริมาณเวกเตอร์เขียนแทนด้้วย
ความยาวขอองลูกศร และะทิศทางของเเวกเตอร์เขียนนแทนด้วยทิศทางของหั
ศ วลูกศร เช่น รถถยนต์คันหนึ่งแล่
ง นไปทางทิทิศ
ตะวันออกด้ว้ ยความเร็ว 70
7 กิโลเมตรตต่อชั่วโมง สามมารถเขียนสัญลั
ญ กษณ์แทนเววกเตอร์ได้ดังนี ้

ที่มา : หนังสือสื่อการเรีรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชันมั


น้ ธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

หรื อการเดินจากจุด ก ไปที่จุด ค เขียนแแสดงการกระะจัด คือ ลูกศรจาก


ศ ก ไปป ค ให้ส่วนขของเส้นตรง กค ก
ยาว 5 หน่วย ถ้าให้ 1 หนน่วย แทนระยะทาง 100 เมมตร ขนาดของการกระจัดจาก
จ ก ถึง ค จจะเท่ากับ 5000 เมตร ดังรูป

ที่มา : หนนังสือสื่อการเรียนรู้ฯ วิททยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2


ปริมมาณเวกเตอรร์ เรียกโดยย่อว่า เวกเตออร์ ซึ่งการเขียนสั
น ญลักษณ์แทนเวกเตอร์สสามารถทําได้หลายแบบดั
ห งนีน้
1
15

เวกกเตอร์ที่เท่ากัน คือ เวกเเตอร์ที่มีขนาดดเท่ากัน และะทิศทางไปทาางเดียวกัน จาากรูป กขคง เป็นรูปสี่เหลี่ยม



ด้านขนาน

เวกกเตอร์ลบ คือ เวกเตอร์ทมีี่มขี นาดเท่ากับบเวกเตอร์ที่เป็นบวก แต่มทิที ศิ ทางตรงกันนข้าม

ที่มา : หนังสือสื่อการเรีรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชันมั


น้ ธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

การเขียนเวกเตอร์ของแรรง
เนือ่องจากแรงมีทั้งขนาดและทิศทาง จึงจัดเเป็นปริมาณเววกเตอร์ การเขีขียนเวกเตอร์ขของแรงก็ใช้หลั
ห กการเดียวกกับ
การเขียนปริริมาณเวกเตอร์อื่นๆ โดยใช้ช้ความยาวขอองส่วนของเส้นตรงแทนขน
น าดของแรง แและหัวลูกศรแแทนทิศทางของ
แรง
หน่นวยของแรงตาามระบบเอสไออ คือ นิวตัน ((N) เราใช้ เป็นสัญลักษณ ณ์ของแรง
ตัวอย่างการรเขียนเวกเตออร์ของแรง

แแบบฝึกหัหด ปปริมาณ
ณสเกลารร์และปริริมาณเววกเตอร์ร์
ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2
16

ชื่อ – นามสกุล __________________________________________________ ชั้น ม.1/______ เลขที่ ______

คําสั่ง จงเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
ตอนที่ 1 จงพิจารณาข้อความแล้วจําแนกว่าเป็นปริมาณชนิดใด พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
ปริมาณทางกายภาพ
ข้อความ เหตุผล
สเกลาร์ เวกเตอร์
1. หินก้อนนี้มมี วล 10 กิโลกรัม
2. พลอยมีไข้ วัดอุณหภูมิร่างกายสูงถึง 39°C
3. บ้านหลังนี้ปลูกในพื้นที่ 200 ตารางวา
4. ชั่งถ่านไฟฉาย 1 ก้อน ด้วยเครื่องชั่งสปริง
หนัก 2 นิวตัน
5. รถคันนี้วิ่งด้วยความเร็ว 80 กิโลเมตรต่อ
ชั่วโมง
6. น้ําอัดลมอยูใ่ นขวดปริมาตร 1 ลิตร
7. น้ํามีความหนาแน่น 1 กรัมต่อลูกบาศก์
เซนติเมตร
8. จังหวัดสงขลาอยู่ทางตอนใต้ของกรุงเทพฯ
ระยะทาง 950 กิโลเมตร
9. โลกหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ ใช้เวลา
24 ชั่วโมง
10. หลอดไฟใช้กําลังไฟฟ้า 100 วัตต์

ตอนที่ 2 จงเขียนรูปหรือเติมข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1
17

1. จงเขียนสัสัญลักษณ์ของงปริมาณเวกเตตอร์ให้ถูกต้อง
1.1 เวกเตตอร์ A ขนาด 5 หน่วย ไปททางทิศตะวันอออก 1.2
1 เวกเตอร์ B ขนาด 3 หหน่วย ไปทางทิทิศใต้

2. การกระจัจัดเป็นปริมาณ
ณเวกเตอร์หรือปริ
อ มาณสเกลลาร์ _________________ เนื่องจาก _________________________
_____________________________________________________________________________________________
3. ระยะทางงเป็นปริมาณเเวกเตอรืหรือปริ
ป มาณสเกลาาร์ _________________ เนื่องจาก __________________________
_____________________________________________________________________________________________
4. เวลาเป็นปปริมาณเวกเตตอร์หรือสเกลาาร์ _________________ เนื่องจาก _____________________________________
_____________________________________________________________________________________________
5. จงยกตัวออย่างปริมาณสสเกลาร์และปริมิ าณเวกเตออร์มาอย่างละ 3 ชนิด
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________

5 แรงง
18

ในทางฟิ สิ กส์ แรง (force) หมายถึง สิ่งที่สามารถทํ าให้ วัตถุ เกิดการเปลี่ ยนแปลงลักษณะหรื อสภาพการ
เคลื่อนที่ เช่น เมื่อออกแรงกระทําต่อวัตถุที่หยุดนิ่งจะทําให้วัตถุเคลื่อนที่ได้ หรือ ทําให้วัตถุที่กําลังเคลื่อนที่มีความเร็ว
เพิ่มขึ้น ช้าลง หยุดนิ่ง หรืออาจเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ได้ รวมทั้งยังทําให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้
เนื่องจากแรงเป็นปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง ดังนั้นแรงจึงจัดเป็นปริมาณเวกเตอร์นั้นเอง

ผลที่เกิดจากแรง
1. การเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่าง
แรงสามารถทําให้วัตถุบางอย่างเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ เช่น เมื่อเราทําให้กระป๋องบี้ แสดงว่าเราออกแรงทําให้
กระป๋องเปลี่ยนแปลงรูปร่างและขนาด หรือเมื่อเรายืดยางรัด เรากําลังทําให้ยางรัดเปลี่ยนแปลงรูปร่างและขนาด
ในทํานองเดียวกันเมื่อเราบีบแผ่นฟองน้ํา เรากําลังทําให้ฟองน้ําเปลี่ยนแปลงรูปร่างและขนาดเช่นกัน เพราะเหตุ
ใดฟองน้ําจึงมีขนาดและรูปร่างที่เล็กลง เป็นเพราะว่าแรงบีบทําให้อากาศออกจากแผ่นฟองน้ํานั้นเอง
2. การเปลี่ยนแปลงทําให้วัตถุเปลี่ยนทิศทาง หรือเปลี่ยนความเร็ว หรือหยุดนิ่งอยู่กับที่
นอกจากแรงจะทําให้วัตถุเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่างแล้ว แรงยังสามารถเปลี่ยนทิศทาง ความเร็ว หรือทําให้
วัตถุหยุดนิ่งได้ เช่น การแข่งขันฟุตบอล
- เมื่อลูกบอลหยุดนิ่ง : การเตะลูกตีนเปล่า เมื่อวางลูกบอลไว้บริเวณจุดที่จะทําการเตะลูกตีนเปล่า
ลูกบอลจะอยู่ในสภาพหยุดนิ่งอยู่กับที่ เมื่อนักฟุตบอลเตะลูกบอลจะทําให้ลูกฟุตบอลเคลื่อนที่ไปตาม
ทิศทางที่นักฟุตบอลต้องการ ดังนั้นการเตะเป็นการดึงหรือการดัน
- เมื่อต้องการหยุดลูกบอล : เมื่อนักฟุตบอลเตะลูกบอลมายังประตู ผู้รักษาประตูจะพยายามรับลูก
บอลให้ได้ การรับลูกบอลของผู้รักษาประตูเป็นการหยุดการเคลื่อนที่ของลูกบอลนั้นเอง ผู้รักษาประตู
ออกแรงดึงหรือแรงดัน
- เมื่อเลี้ยงลูกบอล : นักฟุตบอลจะต้องออกแรงเลี้ยงลูกบอลให้ไปข้างหน้าอย่างรวดเร็วเพื่อทําประตู
คู่แข่ง ขณะเดียวกันฝ่ายตรงกันข้ามจะต้องใช้ขาของตนออกแรงแย่งลูกบอล กรณีนี้จะทําให้ลูกบอล
เคลื่อนที่ช้าลง ขณะวัตถุเคลื่อนที่ แรงสามารถทําให้มันเคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือช้าลง การเลี้ยงลูกบอลเป็น
แรงดันหรือแรงดึง เมื่อลูกบอลเคลื่อนที่ช้าลง ลูกบอลถูกดึงหรือดัน
- ทิศทางการเคลื่อนที่ของลูกบอล : นักฟุตบอลสามารถใช้ขาสกัดลูกบอลจากคู่แข่งให้เปลี่ยนทิศทาง
เพื่อตนเองจะได้เลี้ยงลูกบอลไปทําประตูคู่แข่ง กรณีดังกล่าวนี้เป็นการออกแรงดึงหรือแรงดัน อาจ
กล่าวได้ว่าเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ไปในทิศทางหนึ่ง เราสามารถใช้แรงเปลี่ยนวัตถุเคลื่อนที่ไปในทิศทางอื่นได้
ตั ว อย่ า งอื่ น อื่ น ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ว่ า แรงกระทํ า ต่ อ วั ต ถุ เช่ น ธงโบกปลิ ว ไปมาเมื่ อ ลมพั ด แม่ เ หล็ ก ดู ด ตะปู
เครื่องยนต์ของเครื่องบินขับให้เครื่องบินบินขึ้นสู่ท้องฟ้า
คํากล่าวที่ว่า หากเราไม่สามารถสังเกตผลที่เกิดจากแรงแล้วแสดงว่าไม่มีแรงกระทําต่อวัตถุนั้น คํากล่าวนี้ไม่เป็น
จริง เพราะว่าถ้าเราผลักกําแพง แสดงว่าเรากําลังออกแรงกระทําต่อกําแพง ถึงแม้ว่ากําแพงจะไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลง
รูปร่าง หรือขนาด หรือไม่ได้เคลื่อนที่ก็ตาม

สมดุลแรง
19

วัตถุต่างๆ จะมีแรงมากระทํามากมาย แต่ถ้าเกิดสมดุลของแรงวัตถุจะทําให้หยุดนิ่งกับที่ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

นักยิมนาสติกหญิงทรงตัวอยู่บนพื้นได้เพราะแรง เนื่องจากน้ําหนักตัวที่กดลง

ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2


ไปมีค่าเท่ากับแรงเนื่องจากพื้นที่กระทําต่อตัวนักยิมนาสติกหญิงคนนั้น จึงทําให้เกิด
สมดุลของแรง

นั ก สเกตน้ํ า แข็ ง ชายทรงตั ว นิ่ ง อยู่ ไ ด้


ขณะเคลื่ อ นที่ ไ ปบนลานน้ํ า แข็ ง เนื่ อ งจาก
น้ํ า หนั ก ตั ว ของเขาที่ ก ดลงไปมี ค่ า เท่ า กั บ แรง
เนื่ อ งจากลานน้ํ า แข็ ง กระทํ า ต่ อ ตั ว นั ก สเกต
น้ําแข็งชายคนนั้น จึงทําให้เกิดสมดุลของแรง

ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2

แรงร่วมกัน
โดยปกติเมื่อเราออกแรงดึงวัตถุไปกับพื้นจะมีแรงหลายแรงมากระทําต่อวัตถุ เช่น

ขณะที่ชายคนหนึ่งออกแรงดึงเชือกที่ผูกติดกับลังไม้จะเกิดแรงตึงในแนว
เดียวกับเส้นเชือก โดยในขณะเดียวกันก็จะเกิดแรงที่พื้นของลังไม้กระทํากับพื้นใน
ทิศทางตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของลังไม้ (แรงตึงในเส้นเชือกและแรงเสียดทาน
ที่พื้นกระทําต่อลังไม้)
ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2

ในขณะที่เครื่องบินไอพ่นบินไปในอากาศด้วยอัตราเร็วคงที่ เครื่องบินจะ
เคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้ด้วยแรงของเครื่องยนต์ และในขณะเดียวกันนั้นก็จะเกิดแรง
ต้านของอากาศ แต่เกิดในทิศทางที่ตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของเครื่องบิน (แรง
ของเครื่องยนต์ และแรงต้านของอากาศ)
ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2

ในขณะที่เรือลอยอยู่บนผิวน้ําจะเกิดแรงดันขึ้น เนื่องจากน้ําหรืออากาศที่
กระทํากับเรือและน้ําหนักของเรือหรือแรงโน้มถ่วงของโลกในทิศทางตรงกันข้ามกัน
(แรงเนื่องจากของเหลวและแรงโน้มถ่วงของโลก)
ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2

การวัดแรง
2
20

นักเรียนทราบแล้ล้วว่าไม่สามารรถมองเห็นหรืรือสัมผัสแรงไดด้ แต่เราสามาารถบอกหรือกกําหนดแรงโดดยพิจารณาผลลที่
เกิดจากแรงไได้
เมื่ออเราออกแรงดึดึงกระทําต่อตัวสปริงจะทําใให้สปริงขยายยรูปร่างได้ ถ้าเรายิ่งเพิ่มแรงงมากขึ้น สปริริงก็จะยืดตัว
ออกได้มากขึขึ้น และเมื่อเรราหยุดออกแรรงกระทําต่อสสปริง สปริงก็จะหดตั จ วกลับสู่สภาพปกติ
ในททํานองเดียวกัันเมื่อเราออกกแรงกดทําให้สสปริงหดตัวแลละเมื่อเราหยุดออกแรงกระ
ด ะทําต่อสปริง สปริ
ส งก็จะยืดตัตว
กลับสู่สภาวะะปกติ ความสสามารถในการรยืดและหดตัวั ของสปริงนี้ นักวิทยาศาสสตร์จึงได้ใช้ “สสปริง” เป็นเคครื่องมือวัดแรรง
เครื่องมือวัดแรงชนิดหนึ่ง ได้แก่ เครื่องชัง ่งสปริง ตัวขของเครื่องชั่งสปริ
ส งประกอบบด้วยสปริงอยูยู่ภายใน โดยมีมีจุดคงที่ติดตรึรึง
ไว้กับตัวสปริริง เมื่อเราแขววนวัตถุที่ขอเกีกี่ยว หรือวางวัวัตถุบนจานรออง วัตถุจะออกแรงกระทําตต่อสปริง ทําใหห้สปริงยืดหรือ
หดตัว จุดคงงที่และเข็มชี้ทีท่ตี ิดอยู่บนสปริริงก็จะเคลื่อนนที่บนสเกล โดดยหน่วยที่ใช้วัวดั แรง คือ นิววตัน
การรวัดแรงโดยใใช้สมบัติการยืยืดตัวของขดลลวดสปริง
เมื่ออออกแรงดึงขดลวดสปริง จะทํ จ าให้ขดลววดสปริงขยายตัว ถ้าออกแรรงมากขดลวด สปริงก็จะขยาายตัวยืดออก
ได้มาก โดยเเมื่อเพิ่มน้ําหนันักแต่ละครั้ง ขดลวดสปริ
ข งก็จะยืดตัวออกกได้ระยะที่แตกต่
ต างกัน ขึ้นออยู่กับขยาดของตุ้มน้ําหนัก
สมบัตินี้นํามมาใช้ในการปรระดิษฐ์เครื่องชชั่งสปริงแบบแแขวน 

ระยะการยืดตัว
ของขดลวดสสปริ ง
0 เซนติเมตร
2 เซนติเมตร
4 เซนติเมตร

ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื
ช ้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีปีที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2

การรวัดแรงโดยใใช้สมบัติการหหดตัวของขดลวดสปริง
เมื่ออขดลวดสปริงถู ง กแง 2 แรงกดลงที่ขดลวดสปริงทั้ง 2 ข้ขาง จะทําให้ขดลวดสปริ
ข งหหดตัวสั้นลง การหดตั
ก วของ
ขดลวดสปริงงจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกั
ว บน้ําหนักที่กดลลงบนขดลวดสสปริง สมบัตนีิน้จี ึงนํามาใช้กับ เครื่องชั่งสปปริงที่ใช้ชั่ง
น้ําหนักสิ่งขอองต่างๆ ที่ซื้อขายกั
อ นในชีวตประจํ
ิ าวัน

แแบบฝึกหัหด ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีทีท่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2


แรงง
2
21

ชื่อ – นามสกุล _______________________________________________________ ชั้น มม.1/______ เลขที


เ ่ _______

คําสั่ง จงเติติมคําหรือข้อความลงในช่
ค องว่
ง างให้ถูกต้อง
1. แรงคืออะะไร นักเรียนต้ต้องใช้แรงทําอะไรบ้
อ าง
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
2. ผลที่เกิดจจากแรงทําให้วัวตถุเกิดการเปปลี่ยนแปลงในนลักษณะใดบ้บ้าง
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
3. สมดุลของแรงทําให้วตถุ
ตั เกิดการเปลีลีย่ นแปลงในลัลักษณะใด
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
4. เครื่องมืออที่ใช้วัดแรงเรียกว่า
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
5. หน่วยที่ใชช้วดั แรงเรียกวว่า
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________

6 อัตราเร็
ร วและควาามเร็วของวัตถุ
2
22

การรเดินทางไปยัยังสถานที่ต่างๆ ง ของคน สัตตว์ และสิ่งขออง ก็คือการเคคลื่อนที่จากทีที่แห่งหนึ่งไปยัยังอีกที่แห่งหนึ่ง


เช่น ฝูงผึ้งเดิดินทางจากรังไปหาน้
ไ ําหวานนจากดอกไม้ในนสวน หรือก้อนหิ
อ นเคลื่อนทที่จากยอดเขาาลงสู่พื้นผิวโลก เป็นต้น
สิ่งที่เกี่ยวข้องกับการเดิ
บ นทางก็ก็คือ ระยะทางและเวลาที่ใช้ช การเดินทางงไปยังที่ๆ หนึนึ่ง อาจมีหลายยเส้นทาง แต่ละ

เส้นทางที่มรีระยะทางสั้น และใช้
แ เวลาในนการเดินทางนน้อยที่สุด ถือว่วาเป็นเส้นทางที่ดีที่สุด
ดังนนั้นระยะทางแและการกระจัจัดที่เกิดจากกการเคลื่อนที่ในเวลาเดี
น ยวกััน จึงมีความสัสัมพันธ์กัน ทํําให้เกิดปริมาณ

สัมพันธ์ขึ้น ปปริมาณดังกล่าวคือ อัตราเร็ร็ว และ ความมเร็ว

อัตราเร็ว
คือ ระยะทางที่วัวัตถุเคลื่อนที่ได้
ไ ในหนึ่งหน่ วยเวลา หรือ อัตราส่วนระหว่างระยะททางที่ได้กับเววลาที่ใช้ จัดเป็ป็น
ปริมาณสเกลลาร์ มีหน่วยในระบบไอเอสสเป็น เมตร/วินาที (m/s)

สูตรการหาอัตราาเร็ว อัตราเร็ว = ระยะททาง


เวลลา

ความเร็ว
คือ การกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหหนึ่งเวลา หรือ อัตราส่วนรระหว่างการก ระจัดกับเวลาที่ใช้ ความเเร็ว
จัดเป็นปริมาาณเวกเตอร์ มีหน่วยในระบบบไอเอสเป็น เมตร/วินาที (m/s)

สูตรการหาอัตราาเร็ว ความเร็ว = การกรระจัด


เวลลา
23

ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

อัตราเร็วและความเร็วเฉลี่ย
2
24

โดยยทั่วไปการเคคลื่อนที่ของวัตถุ
ต ในช่วงเวลลาต่างๆ จะมีความเร็
ค วไม่เท่ทากัน เช่น กการเคลื่อนที่ของรถยนต์
ข เมืมื่อ
เริ่มต้นเคลื่ออนที่จะมีควาามเร็วต่ํา จากกนั้นจะค่อยๆๆ เพิ่มความเร็วขึ้น และเมืมื่อจะจอดรถถหรือเลี้ยวโค้้ง จะต้องชะลลอ
ความเร็วรถ
ดังนนั้นอัตราเร็วและความเร็วของการเคลื่อนนที่ตลอดระยะะทางที่ไม่สม่าเสมอเช่
ํา นนี้ จึ งต้องระบุเป็นอัตราเร็วเฉลีลี่ย
และความเร็วเฉลี่ย

มาตรวัดอัตราเร็ว
มา ตรวั ด อั ต ราเ ร็ ว เป็ น อุ ป กรรณ์ ที่ ใ ช้ บ อกออั ต ราเร็ ว ซึ่ งติ
ง ด ตั้ ง ไว้ ต ามมยานพาหนะะต่ า งๆ เช่ น รถไฟ รถยนนต์
รถจักรยานยยนต์ เพื่อให้ผูผู้ขับขี่ได้ทราบบอัตราเร็วของงยานพาหะทีตนเองกํ ่ าลังขับขี่อยู่จะได้ปป้้ องกันอันตรายจากการขับขี
บ่
ด้วยอัตราเร็ร็วสูงบนทางโโค้ง เพราะอาาจทําให้ยานพพาหนะแหกโโค้งได้ หรือเมืมื่อขับรถด้วยยอัตราเร็วสูงแล้ แ วรถเกิดหยยุด
กะทันหัน จะะทําให้รถลื่นไถลไปชนรถคั
ไ คันหน้าได้

ความเร่ง
เมื่ออเวลาเรานั่งรถยนต์
ร ที่กําลัังเคลื่อนที่ เรราจะพบว่ารถถยนต์เคลื่อนที่ด้วยความเเร็วที่มีการเปลี่ยนแปลง เชช่น
คนขับรถได้้เหยียบคันเร่ง รถจะเคลื่อนที่ด้วยความมเร็วที่เพิ่มขึ้น หรือคนขับอาจเหยี
อ ยบเบบรก รถจะเคลืลื่อนที่ช้าลงหรืือ
หยุดการเคลืลื่อนที่ จากการที่รถยนต์เคลืลื่อนที่ด้วยควาามเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นก็คือ รถยนต์เเคลื่อนที่ด้วยคความเร่ง แต่ถ้า
รถยนต์วิ่งช้าาลงรถยนต์จะมีะ ความหน่วง
ควาามเร่ง คือ ความเร็
ค วที่เปลี่ยนแปลงในนหนึ่งหน่วยเววลา ถ้าการเปปลี่ยนแปลงคววามเร็ววัดเป็นเมตรต่ น อวินาที

2 2
(m/s) และเวลาจัดเป็นวินาทีน (s) ดังนัน้ ความเร่งวัดดเป็นเมตร/วินาที น (m/s ) ความเร่
ค งจัดเป็ป็นปริมาณเวกกเตอร์

สูตรการหาความมเร่ง ความเเร่ง = การเปลี่ยนแปลงงความเร็ว (m m/s)


เวลาาที่ใช้ในการเปปลี่ยนแปลง (s)

ดังนั้น ความมเร่งเป็นการเปปลี่ยนแปลงคววามเร็ว โดยกการเปลี่ยนแปลงนี้เกิดจาก


1. การเปลี่ยนแแปลงขนาดคความเร็ว คือ วัตถุจะเคลืลื่อนที่ด้วยคววามเร็วไม่ค งทที่แ ต่ทิศทางกการเคลื่อนที่ไม่
เปลี่ยนแปลงง เช่น รถยนตต์เคลื่อนที่ในแแนวตรงด้วยคววามเร็วไม่คงทีที่ รถยนต์กําลังเคลื่อนที่ขึ้นนหรือลงจากเนินินภูเขา เป็นต้ตน
2. การเปลี่ยนแแปลงทิศทางขของความเร็ว คือ วัตถุจะเเคลื่อนที่ด้วยคความเร็วคงที่ แต่ทิศทางการเคลื่อนที่มีการ ก
เปลี่ยนแปลงง เช่น วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกกลมด้วยความมเร็วคงที่
3. กการเปลี่ยนแปปลงทั้งขนาดดความเร็วและะทิศทางของงความเร็ว คือ ความเร็วขอองวัตถุเปลี่ยนแปลงทั น ้งสองทั้ง
ขนาดและทิทิศทางพร้อมกักัน เช่น รถยนนต์วิ่งไปทางทิทิศตะวันออกด้วยความเร็ว 20 เมตร/วิ นาที จากนันรถวิ ้น ่งไปทางทิทิศ
เหนือด้วยคววามเร็ว 25 เมมตรต่อวินาที

แแบบฝึกหัหด อัตราเร็
ร วแลละความเร็วขอองวัตถุ
2
25

ชื่อ – นามสกุล _______________________________________________________ ชั้น มม.1/______ เลขที


เ ่ _______

คําสั่ง จงเติติมคําหรือข้อความลงในช่
ค องว่
ง างให้ถูกต้อง
1. ให้ใช้ข้อมูลจากตารางทีที่แสดงสถิติการแข่
า งขันวิ่งททางตรงระยะททาง 100 เมตรร (ชาย) ของสสมาคมกรีฑาสสมัครเล่นแห่ง
ประเทศไททย แล้วตอบคคําถามต่อไปนีนี้
รายกาารแข่งขัน เวลลาที่ใช้
โอลิลิมปิก (พ.ศ.25555) 9.63
9
ซีเกมส์
ก (พ.ศ.25552) 10.17
ประะเทศไทย (พ.ศศ.2541) 10.23
เอเชีชียนเกมส์ (พ.ศ.2550) 10.00

1.1 นักกรีฑารายการแข่งขั
ง นที่วิ่งเร็วทีสุ่สด คือ _____________________________________
_______________________
1.2 ถ้าให้เวลลาเท่ากัน นักกรี
ก ฑารายการรแข่งขันที่วิ่งไได้ระยะทางมาากที่สุด คือ __________________________________
1.3 ในเวลา 1 วินาที นักกรี
ก ฑาที่แข่งขันโอลิ
น มปิกวิ่งไได้ระยะทาง ดังนี้
ในเวลา 9.63 วินาที นันกกรีฑาที่แข่่งขันโอลิมปิกวิิ่งได้ระยะทาาง __________________________________________
ดังนั้น ในเวลา 1 วินาที
า นักกรีฑาทีที่แข่งขันโอลิมมปิกวิ่งได้ระยะะทาง _________________
________________________
1.4 อัตราเร็ววของนักกรีฑาแต่ละรายกาาร มีคา่ ดังนี้
อัตราเร็ววของนักกรีฑาซี
า เกมส์ _____________________________________________________________________
อัตราเร็ววของนักกรีฑาประเทศไทย
า ย ________________________________________________________________
อัตราเร็ววของนักกรีฑาเอเชี
า ยนเกมสส์ _______________________________________________________________
2. ด.ช.พัลลภขี่จักรยานจากบ้านไปโรงเรียนเป็นระยยะทาง 600 เมมตร ใช้เวลา 5 นาที จงหาออัตราเร็วและคความเร็วเฉลีย่
ของรถจักกรยาน
2.1 ระยะทาาง = ___________________
= ___________________
2.2 การกระะจัด = _________________

2.3 อัตราเร็ววเฉลี่ย = __________________ 2.44 ความเร็วเฉลีลี่ย = ___________________


= __________________ = ___________________
3. วัตถุเคลือ่อนที่จากจุด A ไปจุด B เป็นระยะทาง
น 300 เมตร และเคลื่อนทีที่ม่จาาก
: หนังจุ
จสือดสื่อการเรี
B ไปจุ ยนรู้ฯดวิทยา
Cาศาสตร์
อีก ชั40 เมตร
้นมัธยมศึ รทโดยใช้
กษาาปี ี่ 1 เล่ม 2 เวลา
2
26

20 วินาที จงหาระยะททาง การกระจััด อัตราเร็ว แและความเร็ว


3.1 ระยะะทาง = ___________________ 3.33 อัตราเร็ว = __________________
= ___________________ = __________________
3.2 การกกระจัด = ___________________ 3.44 ความเร็ว = __________________
= ___________________ = __________________
4. วัตถุชนิดหหนึ่งเคลื่อนที่เป็นวงกลมดังรู
ง ป โดย 1 รออบ ใช้เวลาในนการเคลื่อนที่ 10 วินาที จงงหา
4.1 ระยยะทางของกาารเคลื่อนที่ = ความยาวขอองเส้นรอบรูปวงกลม

= _______________________________________________________
= _______________________________________________________
4.2 การรกระจัด = _____________________________________________
= _______________________________________________________
4.3 อัตราเร็ว = _________________________
_______________________
= _______________________________________________________
4.4 ควาามเร็ว = _________________________
_______________________
= _______________________________________________________
5. จากข้อ 4 ถ้าวัตถุเคลือนที
อ่ ่ได้ครึ่งรอบบพอดีโดยใช้เเวลา 4 วินาที
5.1 ระยยะทางของกาารเคลื่อนที่ = ครึ่งหนึ่งขอองความยาวขอองเส้นรอบวง
= _______________________________________________________
= _______________________________________________________
5.2 การรกระจัด จาก A ไป B = ___________________________________
= _______________________________________________________
5.3 อัตราเร็ว = _________________________
_______________________
= _______________________________________________________
_______________________
5.4 ควาามเร็ว = _________________________
= _______________________________________________________

ที่มา : หนังสือสื่อการเรียยนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัมธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

6. วัตถุเคลือ่อนที่จากจุด ก ไปทางทิศตะะวันออกไปยังงจุด ข เป็นระยะทาง 100 เมตร จากนั้นนวัตถุเคลื่อนทีกลั


่ บทิศมายัง
2
27

ทางทิศตตะวันตกเป็นระะยะทาง 20 เมตร
เ ที่จุด ค ดังรูป

6.1 ระยะะทางที่วัตถุเคลืลื่อนที่ = ___________


_ ____________________________________________
= ___________
_ ____________________________________________
6.2 การกกระจัดที่วัตถุเคลื
ค ่อนที่ = ___________
_ ____________________________________________
มีทิศททาง = ______________________________________________________
6.3 ถ้าวัตตถุใช้เวลาในการเคลื่อนที่ทงหมด
ั้ง 4 นาทีที
อัตราาเร็วของการเคคลื่อนที่ = ___________
_ ____________________________________
= ___________
_ ____________________________________________
ความมเร็วของการเคคลื่อนที่ = ___________
_ ____________________________________
= ___________
_ ____________________________________________
7. รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนทที่ไปตามถนนด้วยอัตราเร็ว 60 km/hr แสดงว่
แ าขณะนนั้นรถเคลื่อนทีที่ด้วยอัตราเร็วกี
ว ่เมตรต่อ
วินาที จงแสดงวิธีคิด
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________

ที่มา : หนังสือสื่อการเรีรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชันมั


น้ ธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2
28

Note : _________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
29

_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
30

_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
3
31

1 ควาามร้อน

ควาามร้อน เป็นพลั
พ งงานรูปแบบหนึ่งที่มามาารถถ่ายโอนได้ด้ เช่น ในวันทีอ่ ากาศร้อนออบอ้าว เราจะรรู้สึกร้อน เพรราะ
ความร้อนจาากภายนอกถ่ถ่ายโอนเข้ามาาสู่ร่างกายขอองเรา ในทางตตรงกันข้าม วัันที่อากาศหนนาวเย็น เรารูรู้สึกหนาวเพราะ
ความร้อนจาากร่างกายขอองเราถ่ายโอนนออกมาสู่ภายยนอก การถ่ายโอนความร้
า ร้อนจะเกิดขึ้นนเมื่อมีความแแตกต่างระหว่ว่าง
อุณหภูมิของวัตถุทั้งสอง โดยวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงจจะถ่ายโอนคววามร้อนไปยังวั จ ตถุทั้งสองมี
ง ตถุที่มีอุณหหภูมิต่ํากว่า จนวั
อุณหภูมิเท่าากัน ก็จะหยุดการถ่ายโอนคความร้อนซึ่งเรีรียกว่า วัตถุทัทง้ั สองนี้อยู่ในภาวะสมดุ
น ลคความร้อน
สมดุลความร้อน
เมื่ออนําวัตถุสองชชนิดขึ้นไปที่มอุี ณหภูมิแตกกต่างกันมาแตตะกันหรือผสมมกัน จะเกิดกการถ่ายโอนคววามร้อนขึ้นจาก
วัตถุที่มีอุณหหภูมิสูงกว่าไปปสู่วัตถุที่มีอุณหภู ุ มิเท่ากัน เรียกว่าเกิด สสมดุลความร้อน
ห มิต่ํากว่า จจนกระทั่งมีอณหภู

ที่มา : หนัังสือเรียนรายวิชาพื้นฐา น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2

อุณ
ณหภูมิผสม
ขณณะที่วัตถุกําลัังถ่ายโอนความร้อนให้แกก่กันและกัน วัตถุที่มีอุณหภู
ห มิสูงกว่าจะะคายความร้้อนออกมาแลละ
อุณหภูมิจะลลดลงจนถึงอุณหภู ณ มิผสม
ส่วนนวัตถุที่มีอุณหภู จ บความร้ร้อนที่วัตถุคลายออกมาแลละอุณหภูมิจะะสูงขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งถึง
ณ มิต่ํากว่าจะรั
อุณหภูมิผสมมเช่นเดียวกัน หรืออาจกล่าวได้ น ่ลดลงของวััตถุหนึ่งจะมีคค่าเท่ากับพลังงานความร้อนที
า ว่า พลังงงานความร้อนที น ่
เพิ่มขึ้นของอีอีกวัตถุหนึ่ง
ดังนนั้นการถ่ายโออนพลังงานคววามร้อนจึงเป็ นไปตามกฎกการอนุรักษ์พลัลงงาน ซึ่งกล่ าวว่า “พลังงานรวมของวัตถุ

จะไม่เปลี่ยนนแปลง คือ จะะไม่สูญหายหรืรือถูกสร้างขึ้นนใหม่”
อุณ
ณหภูมิ
คือ ค่าที่แสดงระดับความร้อนของวั
อ ตถุ ปปริมาณความมร้อนของวัตถุถจะขึ้นอยู่กับ มวลและอุณหภู ณ มิของวัตถุต
กล่าวคือ ถ้าาวัตถุทั้งสองมีมีอุณหภูมิเท่ากัน วัตถุที่มีมมวลมากกว่าจะมี
จ ปริมาณความร้อนมาก กว่าวัตถุที่มมวลน้ ีม อยกว่า ถ้า
ห มิต่ํากว่าจะะมีปริมาณคววามร้อนน้อยกว่าวัตถุที่มีออุุ ณหภูมิสูงกว่า หน่วยวัดของ
วัตถุทั้งสองมีมีมวลเท่ากัน วัตถุที่มีอุณหภู
ปริมาณความร้อนเรียกว่า แคลอรี หรือ จูล
3
32

เทออร์มอมิเตอร์
คือ เครื่องมือที่ใช้ชวัดอุณหภูมหรื
ิห อระดับควาามร้อนในวัตถุถ เทอร์มอมิเตอร์
ต มีหลายแบบบ เช่น เทอร์มอมิเตอร์แบบ

กระเปาะ เททอร์มอมิเตอร์แบบดิจิตัล และเทอร์มอมิตตอร์แบบมีหน้าปัด

ที่มา : http://www.kasetporpeang.com/forums/index.php?topic=81220.0
เทออร์มอมิเตอร์แบบกระเปาะ
แ เป็นเทอร์มอมิเตอร์ที่ใช้วดอุ ัด ณหภูมิทั่วไปโดย

อาศัยหลักการดังนี้ คือ
ถ้ า สสารที่ นํ า มาวัวั ด อุ ณ หภู มิ มีอุ ณ หภู มิ สู ง กกว่ า เทอร์ ม อ มิ เ ตอร์ ของเหลว
ที่บรรจุอยู่ภายในเทอร์มอมิ อ เตอร์จะได้รับการถ่ายโออนพลังงานคววามร้อนมาจากสาร
ทําให้มีปริมาาตรเพิ่มขึ้น เกิกิดการขยายตัตัวของของเหลลว ทําให้มีระดดับสูงขึ้นจนกกระทั่ง
ไม่มีการถ่ายยโอนความร้อนเข้ อ ามาอีก ของเหลวก็จจะหยุดขยายยตัว จึงอ่านค่าของ
อุณหภูมิของงสารนั้นๆ ได้
ถ้ า สสารที่ นํ า มาวัวั ด อุ ณ หภู มิ มีอุ ณ หภู มิ ต่ํ า กกว่ า เทอร์ ม อ มิ เ ตอร์ ของเหลว
ที่บรรจุอยู่ภายในเทอร์มอมิ อ เตอร์จะถ่ายโอนความร้
ย ออนไปยังสาร ทํทาให้ปริมาตรลลดลง เกิดการรหดตัวของของเหลว ทําใหห้มี
ระดับต่ําลง จนกระทั่งไม่มีมีการถ่ายโอนนความร้อนอออกไปอีก ของเหลวก็จะหยดดหดตัว จึงอ่านนค่าของอุณหภู ห มินั้นๆ ได้
ของเหลวที่นิยมใช้ ม บรรจุในเททอร์มอมิเตอ ร์ คือ ปรอท และแอลกอฮอล์ ซึ่งของเเหลวแต่ละชนิดก็มีข้อดีและ ล
ข้อเสียแตกตต่างกัน ดังนี้
1. เทอร์มอมิมิเตอร์ที่ใช้ปรอท

ข้อดี - ขยายตตัวทันทีเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนนแปลง ทําให้้อ่านค่าได้ละเอียด
- เป็นตััวนําความร้อนที
น ่ดี
- ทึบแสสง และสะท้อนแสงได้
น ดี
- ไม่เกาาะผิวหลอดแก้ก้ว ทําให้เคลือ่อนที่ขึ้นลงได้สะดวก
ส า ดค้างหรือ ขาดตอน
ไม่มีการติ
- เปลี่ยนสถานะเป็
น นไอได้
ไ ยาก
ข้อเสีย - ปรอทจะเกิดการแข็ข็งตัวถ้าใช้ในบบริเวณที่หาวมมากๆ ซึ่งปรออทมีจุดหลอมเเหลวที่ -39°CC และมีจุดเดือด

ที่ 3577°C
- ปรอททเป็นสารพิษ
3
33

2. เทอร์มอมิเตอร์ที่ใช้แอลกอฮอล์ นนิยมใช้ บิวทิลแอลกอฮอล์


ล ล์ และใส่สีแดงงผสมลงไปเพืพื่อให้มองเห็นได้

ชัดเจนยิ่งขึ้น
ข้อดี - สามารรถใช้ในบริเวณ ณที่มีอุณหภูมิต่ําๆมากได้ เพพราะมีจุดหลอมเหลวที่ -8 9.5°C และมีจุจดเดือดที่
117.77°C
- ขยายตตัวได้ดีกว่าปรรอท 6 เท่า
- ราคาถูถูก
ข้อเสีย - ใช้ในบบริเวณที่ที่ร้อนมากๆไม่
น ได้ เเพราะแอลกอฮอล์จะเดือดทีที่อุณหภูมิต่ํากกว่าปรอท

ในกการสร้างมาตรราส่วนหรือสเเกลของเทอร์มมอมิเตอร์ได้กําหนดจุดหลักไว้ ก 2 จุด คือ


1. จจุดเดือด (Booiling Point))
คือ จุดที่อุณหภูมิของงน้ํากําลังเดือดดเปลี่ยนสถานนะกลายเป็นไออ หรือจุดที่อุณณหภูมิของไออน้ํากําลังเปลี่ยน

สถานะกลายยเป็นน้ําที่ควาามดันระดับน้าทะเล
าํ
2.จุจุดเยือกแข็ง (Freezing
( Point)
P
คือ จุดที่อุณหภูมิของน้ําแข็งกําลังั เปลี่ยนสถานนะกลายเป็นน้นํา หรือจุดที่ อุณหภูมิของน้ํากําลังเปลี่ยน

สถานะกลายยเป็นน้ําแข็งที่ความดันระดัดับน้ําทะเล

เทอร์มอมิเตอรร์มีหน่วยสัดบบอกอุณหภูมิ 4 หน่วย คือ


1. องศาเซลลเซียส (°C) เป็ป็นหน่วยระบบเมตริก
2. องศาโรเมอร์ (°R) เป็นนหน่วนที่ใช้กนมากใน
นั
ประเทศฝฝรั่งเศส
3. องศาฟาเรนไฮต์ (°F) เเป็นหน่วยในรระบบอังกฤษ
4. เคลวิน (K) เป็นหน่วยใในระบบ Si

ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรู้ฯ วิทยาาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาาปีที่ 1 เล่ม 2 ที่มา : หนังสือสื่อกาารเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เลล่ม 1

เมื่ออนําเทอร์มอมิมิเตอร์แบบโรเมอร์ เซลเซียยส
ฟาเรนไฮต์ และเคลวิน มาวั ม ดอุณหภูมิมิของของเหลลว
ชนิดหนึ่ง จะะพบว่า
ลําปปรอทขึ้นสูงทีี่ระดับเดียวกัน แต่ค่าจากตัตัว
เลขที่อ่านได้ด้จะต่างกัน และช่
แ วงเหนือลําปรอทขึ้นไไป
จนถึงขีดจุดดเดือดจะอยู่ทีท่ีระดับเดียวกันทั้งหมด ซึ่ง
เมื่อนําอุณหภูมิมาเทียบส่วนกันจะได้อัตราส่วน ดังนี้
ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1
34

อุณหภูมิที่อ่านได้ – จุดเยือกแข็ง
จุดเดือด – จุดเยือกแข็ง

ดังนั้นจะได้ R – 0 = C – 0 = F – 32 = K - 273
80 – 0 100 – 0 212 – 32 373 – 273

จะเท่ากับ R = C = F – 32 = K - 273
80 100 180 100
เอา 20 คูณตลอด จะได้

จะเท่ากับ R = C = F – 32 = K - 273
4 5 9 5

และจาก C = K - 273
5 5

จะเท่ากับ C = K – 273 หรือ K = 273 + C

ตัวอย่าง ถ้าอากาศบนยอดดอยแม่ฟ้าหลวงเป็น 10°C คิดเป็นกี่องศาฟาเรนไฮต์


โจทย์กําหนด อากาศบนยอดดอยแม่ฟ้าหลวงเป็น 10°C
โจทย์ถาม 10°C คิดเป็นกี่องศาฟาเรนไฮต์
จากสูตร F – 32 = C
9 5
แทนค่า F – 32 = 10
9 5
F – 32 = 10 x 9
5
F = 10 x 9 + 32
5
F = 50 °F
สรุป ถ้าอากาศบนยอดดอยแม่ฟ้าหลวงเป็น 10°C คิดเป็น 50 °F
3
35

แบบบฝึกหััด ควาามร้อน
ชื่อ – นามสกุล _______________________________________________________ ชั้น มม.1/______ เลขที
เ ่ _______

1. การถ่ายโอนความร้อนจะเกิดขึ้นเมือ่ ______________________________________________________________
โดยวัตถุททีี่มีอุณหภูมิ _____________ จะถ่ายโอนคความร้อนไปยัังวัตถุที่มีอุณหภู
ห มิ ____________
2. ภาวะสมดดุลความร้อน คือ __________________
______________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
3. อุณหภูมิผผสม คือ _______________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
4. จุดหลักในนการสร้างเทออร์มอมิเตอร์ มีม ______ จุด คือ _________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
5. ถ้าอุณหภูภูมขิ องวัตถุชนิดหนึ่งเป็น 500°F คิดเป็นหน่วยองศาโรเมมอร์จะมีค่าเทท่าใด
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
3
36

2 ผลขอองความมร้อนทีมีม่ ตี อ่ การรเปลี่ยนนแปลงขของสารร
สารรที่อยู่ในสถานนะของแข็ง ของเหลว หรืออแก๊ส เมื่อได้รัรับความร้อนหหรือสูญเสียคววามร้อน สารรเหล่านี้จะมีการ

เปลี่ยนแปลงงอย่างไร จะมีมีการเปลี่ยนสถานะเกิดขึ้นหหรือไม่
การรเปลี่ยนสถานนะของสารจากสถานะหนึ่งงไปสู่อีกสถานนะหนึ่ง มีพลังงานเกี
ง ล จารณาจาก
่ยวข้อง วิเคราะห์และพิ
แผนภาพแสสดงการเปลี่ยนสถานะและก
น การเปลี่ยนแปปลงพลังงานขอองสาร ดังนี้

ที่มา : หนังสือสื่อการรเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เลม 1

การรเปลี่ยนสถานนของสาร
1. จจากของแข็งไปเป็นของเหลลว มวลจะไม่เเปลี่ยน
2. จจากสถานะขอองเหลวไปเป็นแก๊ ง ่ในภาชนะะปิด ถ้าภาชนนะเปิดไอของสารจะออกจาก
น ส มวลจะะคงที่ แต่ต้องอยู
ระบบไปสู่สงิ่งแวดล้อมได้
ขอ งแข็ ง เมื่ อ ได้ รัร บ พลั ง งานคความร้ อ นจา กภายนอก อุอณ หภู มิ จ ะสูงขึ้ น จนถึ ง อุ ณณหภู มิ ห นึ่ ง ของแข็
ข ง จะเริริ่ ม
หลอมเหลว และหลอมเหหลวจนหมดโดดยอุณหภูมิไม่เเปลี่ยนแปลง
จุดหหลอมเหลว (Melting
( Poiint) หมายถึง อุณหภูมิทสารเปลี
ี่ส ่ยนสถถานะจากของแแข็งเป็นของเหหลว
ควาามร้อนแฝง หมายถึง พลัลังงานความร้ออนที่ทําให้สารรเปลี่ยนสถานนะโดยอุณหภูมมิิ ไม่เปลี่ยนแปปลง
ควาามร้อนแฝงขของการหลอมมเหลว คือ ค่าพลังงานความร้อนที่ทาให้
ํา ของแข็งหหรืื อสารมวล 1 หน่วย เปลี่ยน

สถานะจากขของแข็งไปเป็นของเหลว
น โดดยอุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง
ควาามร้อนแฝงขอองการหลอมเเหลว เป็นค่าเเฉพาะของสารแต่ละชนิด เช่น น้ําแข็งมี จุดหลอมเหลลวที่ 0°C ความ
ร้อนแฝงของงการหลอมเหหลวน้ําแข็งมีค่คา 80 แคลอรีรีต่อกรัม (cal//g) หมายควาามว่า น้ําแข็งมมวล 1 กรัมที่ 0°C จะเปลี่ยน

สถานะเป็นนน้ําที่ 0°C ต้องใช้
ง พลังงานคววามร้อน 80 แแคลอรี
3
37

ของงเหลวเมื่อได้รับพลังงานความร้อนต่อไปปจากภายนออก ของเหลวจจะมีอุณหภูมิเเพิ่มขึ้นจนถึงอุอณหภูมิหนึ่งจะ
เกิดฟองแก๊สสปุดขึ้นเป็นจํานวนมาก บาางส่วนจะหลุดดลอยออกจากของเหลว บางส่
บ วนจะวนนกลับไปในขอองเหลวใหม่ เกิกิด
การเดือดแลละเปลี่ยนสถานนะเป็นไอ โดยยอุณหภูมิไม่เปปลี่ยนแปลง
จุดเดือด (Boilinng Point) หมมายถึง อุณหหภูมิที่สารเปลียนสถานะจา
่ กของเหลวเป็ นแก๊ส
ควาามร้อนแฝงขของการกลายเป็นไอ คือ ค่าพลังงานคววามร้อนที่ทําให้
ใ ของเหลวหหรือสารมวล 1 หน่วย เปลี่ยน

สถานะจากขของเหลวไปเป็ป็นแก๊สหรือไออ โดยอุณหภูมมิิไม่เปลี่ยนแปปลง
ควาามร้อนแฝงขอองการกลายเป็ป็นไอ เป็นค่าเฉพาะของสาารแต่ละชนิด เช่น น้ํามีจุดเ ดือดที่ 100°CC ความร้อนแแฝง
ของการกลาายเป็นไอของนน้ํามีค่า 540 แคลอรีต่อกรัมั (cal/g) หมมายความว่า น้นํามวล 1 กรัมั ที่ 100°C จะเปลี่ยนสถานนะ
เป็นไอน้ําที่ 100°C ต้องใชช้พลังงานควาามร้อน 540 แแคลอรี

ที่มา : http:///tanchualee.com/foorum/index.php?topic=59.0
3
38

สารรต่างชนิดกัน ค่าความร้อนแแฝงจําเพาะจะต่างกัน ดังแสดงในตารางงต่อไปนี้


ตารางแแสดงความร้อนแฝงจํ
อ าเพาาะของสารบาางชนิด
ความร้อนแฝงจําเพาะะของ ความร้อนแฝงจํจําเพาะของ
ชนิดดของสาร
การหลลอมเหลว (J//g) การกลายเป็
ก นไอ
น (J/g)
น้ํา 334.8 2,2566 1 cal = 4.2 J
เอททานอล 108.9 857 1 cal = 4,185 J
1 kcal = 1,000 cal
c
แนพทาลีลีน (ลูกเหม็น) 149 154.79 1 kJ = 1,000 J

กราฟฟแสดงการเปลีลี่ยนแปลงอุณหภู
ณ มิ การเปปลี่ยนสถานะขขณะให้ความมร้อนแก่สารทีที่อยู่ในสถานะะของแข็ง

ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรูฯ้ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1

ปัจจัยที่มีผลลต่อการเปลียนสถานะของ
ย่ งสาร คือ พลัังงานความร้อน
อ ดังนี้
1. ถถ้าต้องการให้้สารเปลี่ยนสถถานะจากของงแข็งเป็นของเหลว และแก๊ก๊ส เป็นการเปปลี่ยนแปลงปรระเภท ดูดความ
ร้อน ต้องให้้ความร้อนหรืออยู่ในภาวะทีที่อุณหภูมิสูง ยิ่งอุณหภูมิสงมากยิ
ูง ่งเปลี่ยนสถานะเร็
น ว
2. ถ้าต้องการใหห้สารเปลี่ยนสถานะจากแแก๊สเป็นของเหลว และขอองแข็ง ซึ่งเป็ นการเปลี่ยนแปลงประเภ
น ภท
คายความร้ออน ต้องให้อยู่ในภาวะที
ใ ่อุณหภูมิต่ํา จะได้ด้คายพลังได้งายเปลี
่ ่ยนสถาานะเร็ว
39

3 การหาพลังงานความร้อน

อุณหภูมิ

D E
น้ํา 100°C แก๊ส 100°C
Q3 = mL3
B C
น้ําแข็ง 0°C น้ํา 0°C Q2 = mst
Q1 = mL1

0 เวลา

น้ําแข็ง น้ํา น้ํา แก๊ส


หรือ Q1 = mL1 หรือ Q2 = mst หรือ Q3 = mL3 หรือ
ของแข็ง ความร้อนแฝงของ ของเหลว ของเหลว ความร้อนแฝงของ ไอน้ํา
การหลอมเหลง การกลายเป็นไอ
0°C 0°C 100°C 100°C

อุณหภูมิคงที่ อุณหภูมิสูงขึ้น อุณหภูมิคงที่


แต่สถานะเปลี่ยน แต่สถานะคงเดิม แต่สถานะเปลี่ยน

โดยที่
Q = ค่าพลังงานความร้อนในการเปลี่ยนสถานะ
m = มวลของวัตถุ
L1 = ค่าความร้อนแฝงในการหลอมเหลว มีค่า 80 cal/g
L3 = ค่าความร้อนแฝงในการกลายเป็นไอ มีค่า 540 cal/g น้ําแข็ง 0°C
s = ค่าความถ่วงจําเพาะของน้ํา มีค่า 1 cal/gx°C น้ําเย็น 0°C
น้ําร้อน/น้ําเดือด 100°C
t = อุณหภูมิหลังต้ม – อุณหภูมิก่อนต้ม แก๊ส/ไอ 100°C
40

ตัวอย่างที่ 1 น้ําแข็งมวล 10 กรัม ทําให้เป็นน้ําเย็นจะใช้พลังงานกี่แคลอรี


วิธีทํา
ขั้นที่ 1 น้ําแข็ง 0°C น้ําเย็น 0°C
ขั้นที่ 2 Q1 = mL1
m = 10 กรัม
L1 = 80 cal/g
ขั้นที่ 3 Q1 = 10 x 80
= 800 แคลอรี
สรุป น้ําแข็งมวล 10 กรัม ทําให้เป็นน้ําเย็นจะใช้พลังงาน 800 แคลอรี

ตัวอย่างที่ 2 น้ําแข็งมวล 100 กรัม ทําให้เป็นน้ําเย็นจะใช้พลังงานกี่แคลอรี


วิธีทํา
ขั้นที่ 1 ______________________________________
ขั้นที่ 2 Q1 = ________________
m = _____________
L1 = ______________
ขั้นที่ 3 Q1 = ______ x _______
= ______________ แคลอรี
สรุป _________________________________________________________________

ตัวอย่างที่ 3 น้ําแข็งมวล 850 กรัม ทําให้เป็นน้ําเย็นจะใช้พลังงานกี่แคลอรี


วิธีทํา
ขั้นที่ 1 ______________________________________
ขั้นที่ 2 Q1 = ________________
m = ________________
L1 = ________________
ขั้นที่ 3 Q1 = ________________
= ______________ แคลอรี
สรุป _________________________________________________________________
41

ตัวอย่างที่ 4 น้ํามวล 300 กรัม ที่อุณหภูมิ 10°C ทําให้เป็นน้ําที่อุณหภูมิ 70°C ต้องใช้พลังงานเท่าไร


วิธีทํา
ขั้นที่ 1 น้ํา 10°C น้ํา 70°C
ขั้นที่ 2 Q2 = mst
m = 300 กรัม
s = 1 cal/g
t = 70 - 10
ขั้นที่ 3 Q2 = 300 x 1 x (70 – 10)
= 1,800 แคลอรี
สรุป น้ํามวล 300 กรัม ที่อุณหภูมิ 10°C ทําให้เป็นน้ําที่อุณหภูมิ 70°C ต้องใช้พลังงาน 1,800 แคลอรี

ตัวอย่างที่ 5 น้ํามวล 500 กรัม ที่อุณหภูมิ 50°C ทําให้เป็นน้ําที่อุณหภูมิ 90°C ต้องใช้พลังงานเท่าไร


วิธีทํา
ขั้นที่ 1 ______________________________________
ขั้นที่ 2 Q2 = ________________
m = ________________
s = ________________
t = ________________
ขั้นที่ 3 Q2 = ________________
= ______________ แคลอรี
สรุป _________________________________________________________________

ตัวอย่างที่ 6 น้ํามวล 40 กรัม ที่อุณหภูมิ 15°C ทําให้เป็นน้ําที่อุณหภูมิ 90°C ต้องใช้พลังงานเท่าไร


วิธีทํา
ขั้นที่ 1 ______________________________________
ขั้นที่ 2 Q2 = ________________
m = ________________
s = ________________
t = ________________
ขั้นที่ 3 Q2 = ________________
= ______________ แคลอรี
สรุป _________________________________________________________________
42

ตัวอย่างที่ 7 น้ําแข็งมวล 20 กรัม ทําให้กลายเป็นน้ําที่อุณหภูมิ 50°C ต้องใช้พลังงานเท่าไร


วิธีทํา
ขั้นที่ 1 น้ําแข็ง 0°C น้ํา 0°C น้ํา 50°C
ขั้นที่ 2 Q1 = mL1
m = 20 กรัม
L1 = 80 cal/g
ขั้นที่ 3 Q1 = 20 x 80
= 1,600 แคลอรี
ขั้นที่ 4 Q2 = mst
m = 20 กรัม
s = 1 cal/g
t = 50 - 0
ขั้นที่ 5 Q2 = 20 x 1 x (50 – 0)
= 1,000 แคลอรี
ขั้นที่ 6 Qรวม = Q1 + Q2
Q1 = 1,600 แคลอรี
Q2 = 1,000 แคลอรี
ขั้นที่ 7 Qรวม = 1,600 + 1,000
= 2,600 แคลอรี
สรุป น้ําแข็งมวล 20 กรัม ทําให้กลายเป็นน้ําที่อุณหภูมิ 50°C ต้องใช้พลังงาน 2,600 แคลอรี
43

ตัวอย่างที่ 8 น้ําแข็งมวล 20 กรัม ทําให้กลายเป็นไอต้องใช้พลังงานเท่าไร


วิธีทํา
ขั้นที่ 1 น้ําแข็ง 0°C น้ํา 0°C น้ํา 100°C ไอ 100°C
ขั้นที่ 2 Q1 = mL1
m = 20 กรัม
L1 = 80 cal/g
ขั้นที่ 3 Q1 = 20 x 80
= 1,600 แคลอรี
ขั้นที่ 4 Q2 = mst
m = 20 กรัม
s = 1 cal/g
t = 100 - 0
ขั้นที่ 5 Q2 = 20 x 1 x (100 – 0)
= 2,000 แคลอรี
ขั้นที่ 6 Q3 = mL3
m = 20 กรัม
L1 = 540 cal/g
ขั้นที่ 7 Q3 = 20 x 540
= 10,800 แคลอรี
ขั้นที่ 8 Qรวม = Q1 + Q2 + Q3
Q1 = 1,600 แคลอรี
Q2 = 2,000 แคลอรี
Q3 = 10,800 แคลอรี
ขั้นที่ 9 Qรวม = 1,600 + 2,000 + 10,800
= 14,400 แคลอรี
สรุป น้ําแข็งมวล 20 กรัม ทําให้กลายเป็นไอต้องใช้พลังงาน 14,400 แคลอรี
44

ตัวอย่างที่ 9 น้ําแข็งมวล 100 กรัม ทําให้กลายเป็นไอต้องใช้พลังงานเท่าไร


วิธีทํา
ขั้นที่ 1 ___________________________________________________________________
ขั้นที่ 2 Q1 = ________________
m = ________________
L1 = ________________
ขั้นที่ 3 Q1 = ________________
= ______________ แคลอรี
ขั้นที่ 4 Q2 = ________________
m = ________________
s = ________________
t = ________________
ขั้นที่ 5 Q2 = ________________
= ______________ แคลอรี
ขั้นที่ 6 Q3 = ________________
m = ________________
L3 = ________________
ขั้นที่ 7 Q3 = ________________
= ______________ แคลอรี
ขั้นที่ 8 Qรวม = ________________
Q1 = ________________
Q2 = ________________
Q3 = ________________
ขั้นที่ 9 Qรวม = ________________________________
สรุป ___________________________________________________________________
4
45

4 การถ่ายโโอนพลังงงานคววามร้อน
พลัังงานความร้อนเกี
อ ่ยวข้องกักับชีวิตประจําาวันของมนุษย์ ษ มาก ที่เห็นได้
ไ ชัดคือการปประกอบอาหหาร เช่น การหุง
ข้าว การต้มมแกง การผัด การนึ่ง และกการย่าง ล้วน ต้องใช้พลังงาานความร้อนททั้งสิ้น พลังงา นความร้อนสสามารถถ่ายโออน
จากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุถหนึ่งได้ โดยถถ่ายโอนจากทีที่มีอุณหภูมิสงไปยั
ูง งที่มีอุณหภู
ห มิต่ํากว่า แและจะหยุดกาารถ่ายโอนเทื่อมี

อุณหภูมิเท่าากัน พลังงานความร้อนสามมารถถ่ายโอนนไปยังวัตถุตางๆ ่า ได้โดยการพาความร้อน การนําควาามร้อน และกการ
แผ่รังสีความมร้อน ซึ่งนักเรีรียนจะได้ศึกษาการถ่
ษ ายโอนนพลังงานควาามร้อนวิธีต่างๆๆ ต่อไปนี้

3.1 การพาความมร้อน (Convvection)

การรพาความร้อนเป็
น นการถ่ายโโอนความร้อนนจากที่มีอุณหภู
ห มิสูงไปยังบริเวณที่มีอุณหหภูมิต่ํา โดยวััตถุหรือตัวกลลาง
ที่ได้รับความมร้อนจะพาคความร้อนไปพพร้อมกับตัวกกลางที่เคลื่อนที
น ่ ดังนั้นการรพาความร้อนนจะเกิดได้เฉพาะกับวัตถุทีท่ีมี
สถานะเป็นของเหลวและแก๊สเท่านั้น พวกของแข็ข็งจะไม่เกิดการพาความร้
ก ร้อน เนื่องจาากอะตอมของของแข็งจะไม่
เคลื่อนที่
ประโยชน์ขอองการถ่ายโออนพลังงานคววามร้อนโดยกการพาความรร้อน
1. ลลม ช่วยพาคความร้อนออกกจากร่างกาย ทําให้รู้สึกเย็น
2. เครื่องร่อน การที
ก ่เครื่องร่อนสามารถลอ
อ น ก็เพราะออาศัยการพาคความร้อนของอากาศ
อยเหนือพื้นดินได้
3. เครื่องยนต์ การใช้น้ําไหลลวนเวียนในเคครื่องยนต์ ก็เพื
เ ่อให้น้ําพาคความร้อนจากกเครื่องยนต์ออกมาที อ ่หม้อน้นํา
แล้วใช้พัดลมมช่วยพาความมร้อนออกไปอีอีกทีหนึ่ง
4. กกาต้มน้ําร้อนไฟฟ้
น า เป็นสิ่งประดิษฐ์ชิ้นนหนึ่งที่นัก
ประดิษฐ์ได้นนําหลักการพาาความร้อนขอองของเหลวมาาสร้างเมื่อ
เปิดสวิตช์ใช้งาน การทําความร้
ค อนจะติติดตั้งไว้บริเวณ
ณก้นกาต้ม
น้ํา เมื่อเปิดสวิตช์ใช้งาน น้ําบริเวณโดยรอบอุปกรณ ณ์ทําความ
ร้อนจะเริ่มร้อนขึ้นอย่างช้าๆ โดยการรนําความร้อน น้ําอุ่นที่
อุณหภูมิสูงขึ้นเรื่อยๆ จะลอยตัวสูงขึน้ และน้ําเย็นจจะลอยตัว
ต่ําลงมาแทนนที่ เกิดเป็นกระแสการพา
ก ความร้อนจนนกระทั่งน้ํา
ในกาต้มน้ําเเดือด ที่มา : หนังสือเรียนรายวิ
ย ชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกกษาปีที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เลล่ม 2

5 . เ ค รื่ อ ง ป รั บ อ า ก า ศ ก า ร ติ ด ตัต้ ง
เครื่องปรับอากาศก็
บ ใช้หหลักการเช่นเดียวกัน เมื่อเรา

เปิดสวิตช์ให้
ใ เครื่องปรับบอากาศทํางาน อากาศเย็ย็น
บริเวณใกล้ล้ เครื่องปรับออากาศจะลอยยตัวต่ําลง ทําให้ ใ
อากาศในห้ห้องเย็นสบาย ส่วนเครื่องทํทําความร้อนทีที่ใช้
กันในประเทศเขตหนาวว อากาศที่รอนจากเครื ้อ ่องททํา
ความร้ อนจะก่
น อ ให้ เ กิ ดกระแสกา รพาความร้ อน อ
ความร้ อนจะไหลเวี
น ย นนรอบๆ ห้ อง ทํ า ให้ อ ากาาศ
ภายในห้องอบอุ
ง ่น
ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพืพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2
ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื
า ้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2
4
46

6. ลมบก ลมทะะเล เกิดจากคความร้อนของงอากาศซึ่งแตตกต่างกันบริเวณทะเลกั ว บพื้ นดิน เวลากลลางวันพื้นดินจะ


รับความร้อ นได้เร็วกว่าพื้นน้ํา อุณหภภูมิเหนือพื้นดิ นจึงสูงกว่าบริ บ เวณเหนือพื้นน้ํา ทําให้ห้อากาศเหนือพื
อ ้นดินมีควาาม
หนาแน่นน้ออยและความกกดอากาศลดลลง อากาศบริ เวณนั้นจึงลอยตัวสูงขึ้น ดังนั ง ้นอากาศที่เเย็นกว่าและมีมีความหนาแนน่น
มากกว่าบริเเวณเหนือพื้นน้นําจึงเคลื่อนเขข้ามาแทนทีโ่ ดดยเคลื่อนมาจจากทะเล จึงเรีรียกว่า ลมทะะเล (sea breeeze)
ลมบบก (land breeze)
b จะเกิกิดในทิศทางตตรงกันข้ามกับลมทะเล
บ ในเเวลากลางคืนนพื้นน้ําจะคายยความร้อนได้้ช้า
กว่าพื้นดิน ออากาศเหนือพื้นน้ําจึงมีอณหภู
ุณ มิสูงกว่าแและมีความหนนาแน่นน้อยกกว่าอากาศเหนืนือพื้นดิน ดังนัน้นอากาศเหนืนือ
พื้นน้ําจึงลอยตัวขึ้น ทําให้ห้อากาศเย็นบริเิ วณพื้นดินเคคลื่อนเข้าไปแแทนที่ ลมบกจจะมีกําลังแรงนน้อยกว่าลมทะเล
การรเกิดลมมรสุมที
ม ่พัดผ่านในหหลายๆ ส่วนขของทวีปเอเชีย ในฤดูร้อนพื้นที่ส่วนใหญ่ททางตอนเหนือของทวี อ ปเอเชีชีย
อากาศจะร้ออนมาก อาการร้อนในบริเวณนี้จะลอยยตัวสูงขึ้น และอากาศจากบริเวณมหาสสมุทรจะเคลือนที ่อ ่แทนอากาศ
บริเวณแผ่นนดินที่มีอากาศศร้อน น้ําในออากาศเหล่านี้ จะกลั่นตัวคววบแน่นกลายเป็นเมฆจึงทําาให้ฝนตกเป็นจํ น านวนมากใใน
ระหว่างฤดูรร้้อน หรือเรียกว่
ก า ฤดูมรสุม
ในฤฤดูหนาวบริเวณพื
ว ้นดินอากาศจะเย็นก ว่าบริเวณมหหาสมุทร อากกาศที่อยู่เหนืออบริเวณพื้นผิวมหาสมุทรจจะ
ลอยตัวสูงขึ้น และลมหนาาวที่แห้งจะพัดผ่ ด านบริเวณพืพื้นดินไปแทนนที่อากาศที่อยู่เหนือบริเวณณพื้นผิวมหาสมมุทร

ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2

ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2


4
47

7. บบ้านทรงไทยกับการถ่ายโออนความร้อน ประเทศ
ไทยอยู่ในเขขตร้อน ได้รับแสงแดดตลออดปี การสร้าางบ้านแบบ
ทรงไทยจะชช่วยให้ระบายยความร้อนอออกจากบ้านได้ด้ดี ลักษณะ
ของบ้านทรงงไทย ก็คือ กาารใต้ถุนสูง หลลังคาทรงสูงมมาก หน้าจั่ว
และมีช่องระบายอากาศร้อนภายในบ้บ้านได้ เนื่องจจากอากาศ
ร้อนจะขยายตัวและเบา จึงลอยขึ้นสู่เบื้องบน แลละเคลื่อนที่
ออกไปทางชช่องระบายอากาศ ซึ่งเป็นการถ่
น ายโอนนความร้อน
โดยวิธีการพพาความร้อน ทํทาให้อากาศเเย็นจากนอกบบ้านเคลื่อน
เข้ามาแทนทที่ทางประตูและหน้
แ าต่าง ผู้ที่อาศัยอยู่ใในบ้านทรง
ไทยจึงรู้สึกเยย็นสบาย ที่มา : http://www.taarad.com/product/30037570

3.2 การนําความร้อน (Conduction)


การรนําความร้อนเป็ น นการถ่ายโอนความร้
ย อ นโดยพลังงานนความร้อนเคคลื่อนที่จากตําาแหน่งที่มีอณหภู ุณ มิสูงไปตาม
เนื้อวัตถุไปสูสู่ตําแหน่งที่มีอุอณหภูมิต่ํากว่า แต่อนุภาคทีที่เป็นตัวกลางงในการนําควาามร้อนไม่ได้เคคลื่อนที่ เช่น นําแห่งโลหะมา
เผาที่ปลายข้ข้างหนึ่ง ความมร้อนจะทําให้ห้โมเลกุลของโโลหะที่ปลายข้ข้างที่ได้รับควาามร้อนเกิดกาารสั่นสะเทือนหรื น อเคลื่อนทีที่ได้
เร็วขึ้น โมเลลกุลนี้จะไปชนกับโมเลกุลที ล ่อยู่ข้างเคียยงอื่นๆ ทําให้ห้โมเลกุลข้างเเคียงสั่นสะเทืทือนหรือเคลื่อนที อ ่เร็วขึ้นเป็ป็น
ลั ก ษณะเช่ นนนี้ ต่ อ เนื่ อ งกกั น ไป วิ ธี ก า รเช่ น นี้ จ ะทํ าให้ ค วามร้ อนถู
อ ก ส่ ง จากกปลายข้ า งทีที่ ล้ น ไฟไปยั ง อี ก ข้ า งหนึ่ ง ได้

ดังการทดลอองตามภาพปรระกอบ

ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1

จากกผลการทดลอองพบว่า หยดดเทียนที่อยู่ใกกล้เปลวไฟจะตกลงมาก่อน เนื่องจากคววามร้อนถ่ายโออนไปยังอนุภาค


ของอะลูมิเนี ยมที่อยู่ใกล้ล้เปลวไฟก่อน ทําให้อนุภาาคของอะลูมิเนียมสั่นมากก และไปชนกักับอนุภาคที่อยู
อ ่ติดกัน ทําให้

อนุภาคที่ติดดกันสั่นมากขึ้นตามไปด้วย ทําให้ความร้ร้อนถ่ายโอนจจากปลายด้านหนึ
น ่งไปสู่ปล ายอีกด้านหนึนึ่งได้โดยการสสั่น
ของอนุภาค จึงเรียกการถถ่ายโอนพลังงาานนี้ว่า การนํนําความร้อนนัั้นเอง

สารรแต่ละชนิดมีสมบัส ติที่แตกตต่างกัน ดังนั้นคความสามารถถในการนําควาามร้อนจึงแตกกต่างกันด้วย โดย



- สารที่นําความร้อน หรือยอมให้ความร้อนนผ่านเรียกว่า ตัวนําความมร้อน ได้แก่ โลหะต่างๆ เช่น ทองแดง
เหล็ก อะลูมมิิเนียม เงิน(เเป็นโลหะที่นาความร้
ํา อนได้้ดีที่สุด)
4
48

- สารที่ไม่นําควาามร้อน หรือนํนาความร้อนไได้น้อย (ไม่ยอมให้ อ ความ


ร้ อ นผ่ า นหรืรื อ ผ่ า นได้ เ พี ยงเล็ ก น้ อ ย) เรี ย กว่ า ฉนนวนความร้อน
อ ได้ แ ก่
กระเบื้อง พพลาสติก แก้ว ไม้ ยาง อากาศ อ เป็นต้น
ประโยชน์ขอองการถ่ายโออนพลังงานคววามร้อนโดยกการนําความร้ร้อน
1. โโลหะต่างๆ เช่น เงิน ทองแดง อะลูลูมิเนียม เหล็ล็ก เป็นวัตถุทีท่นี ําความร้อนนที่ดี จึงถูกนํามาทํ า าหม้อแลละ
กระทะสําหรัรับประกอบอาหาร ที่มา : http://wwww.hatyaiok.com/prom
motions/?p=1691

2. ทที่จับภาชนะหหุงต้ม จะทําจากวั
จ สดุที่เป็นนฉนวน เช่น พลาสติก ไมม้ แก้ว กระ เบื้อง เป็นต้น
3. กระติกน้ําแข็ข็ง กระติกน้าแข็
ํา งที่เราใช้สส่วนใหญ่ทํามาาจากพลาสติก ซึ่งเป็นฉนววนความร้อน ดัดงนั้นความร้อน อ
จากภายนอกกจึงไม่สามารถผ่านเข้าไปในนกระติกน้ําแขข็งได้หรือได้แค่
แ เพียงเล็กน้อย

4. ผ้าห่มนวม ผ้าห่มนวมจะะถูกออกแบบใให้มีบริเวณหหรือช่องสําหรัับเก็บกักอาก าศ เมื่อเราห่มผ้ ม าหากอากาศ
ภายนอกเย็น อากาศที่ถูกเก็บไว้ในผ้าห่
า มนวมจะช่ววยป้องกันไม่ให้ความร้อนจากตัวไหลอออกไป ทําให้ร่รางกายเรารู้สึสึก
อบอุ่นขณะหห่มผ้าห่มนวมนั้นเอง

3.3 การรแผ่รงั สีควาามร้อน (Heeat Radiattion)


การรแผ่รังสีความมร้อนเป็นการรถ่ายโอนควาามร้อนจากที่มีอุณหภูมิสูงไปสู่ที่มีอุณหหภูมิต่ํา โดยไมม่อาศัยตัวกลลาง
เช่น ดวงอาาทิตย์อยู่ในอววกาศที่ไกลจาากโลกมาก แแต่พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ยังสสามารถถ่ายโโอนมาถึงโลกกได้
ถึงแม้ว่าจะไม่มีอากาศเป็นตั
น วกลางก็ตาม
า หรือเมื่อเออามือไปอังหน้น้าเตารีดที่ใช้งานอยู่ จะรู้สึกกร้อน ความร้้อนที่ได้รับนี้เกิด
จากการแผ่รรัังสีความร้อน เพราะอากาศศเป็นตัวนําคววามร้อนที่ไม่ดีดี และไม่ได้เกิิดจากการพา ความร้อน เพพราะอากาศร้อน อ
จะลอยตัวสูงงขึ้น

ที่มา : หนังสืสอสื่อการเรียนรู้ฯ วิทยาศศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีปีที่ 1 เล่ม 1


4
49

จากกกิจกรรมจะพพบว่า แผ่นโลหะทาสีดําดูดกลืนความร้อนได้ดีกว่าแผ่นโลหะทาสี
น ขาาว แสดงว่า วััตถุชนิดเดียวกกัน
ขนาดเท่ากัน แต่มีสีต่างกันจะมีผลต่อการรั
อ บความมร้อนหรือดูดกลื
ด นความร้อนต่างกัน โดดยวัตถุที่มีสีเข้มหรือสีทึบจะ จ
ดูดกลืนความมร้อนได้ดีกว่าวั
า ตถุที่มีสีอ่อน

จากกสมบัติการดูดกลื ด นความร้อนของวั
อ ตถุนี้ได้ถูกนํามาใช้ช้ประโยชน์ในชชีวิตประจําวันนในหลายด้าน เช่น การสร้ร้าง
อาคารบ้านเเรือนของประะเทศในเขตร้อน อ จะทาสีผนนังด้านนอกอาคารและสีรวบ้ ั้ว านเป็นสีอ่ออน เพื่อลดกาารดูดกลืนความ
ร้อนจากแสงอาทิตย์ ซึ่งจะมี จ ผลทําให้อากาศภายใน
อ นบ้านไม่ร้อนมมาก นอกจากกนี้ผู้คนในเขตตร้อนจะนิยมสวมใส่ ม เสื้อผ้้าสี
อ่อนหรือสีขาวสว่างเช่นกัน แม้แต่ชุดดับเพลิงที่นักดับเพลิงสวมใสส่ก็มีสีสว่างแลละแวววาว เพืพื่อไม่ให้รับพลัลังงานความร้อน อ
เข้ามามากเกิกินไป จนทําใหห้นักดับเพลิงร้อน
การรดูดกลืนความร้อน
วัตถถุทุกชนิดสามมารถดูดกลืนความร้อนได้้ เช่น ถ้าเรานนํามือทั้งสองขข้างไปอังบริเววณกองไฟ มือทั้งสองข้างจะ
ดูดกลืนความมร้อนทําให้เรารู ร ้สึกอบอุ่นขึ้น หรือถ้าเราายืนอยู่ที่โล่งเมื่อดวงอาทิตย์ส่องแสงลงมมา ร่างกายขอองเราจะดูดกลืลืน
ความร้อนจาากดวงอาทิตย์
วัตถถุที่มีสีพื้นและะพื้นผิวแตกต่างกันจะดูดก ลืนความร้อนได้ น แตกต่างกััน กล่าวคือ วั ตถุที่มีผิวนอกกสีดําทึบและะไม่
เรียบเป็นตัวดูดกลืนความมร้อนที่ดี วัตถุที่มีผิวนอกสีขขาวเป็นมันวาววและเรียบเป็นตัวดูดกลืนคความร้อนที่ไม่ดี
การรคายความร้อน อ
วัตถถุทุกชนิดสามมารถคายความร้อนออกมาาได้ ถ้ามีการดดูดกลืนความร้อน วัตถุมีสี และพื้นผิวทีแตกต่ ่แ างกันจะะมี
สมบัติในการรคายความร้อนแตกต่อ างกัน กล่าวคือ วัตตถุที่มีผิวนอกสีสีดําทึบและไมม่เรียบเป็นตัว คายความร้อนที
น ่ดี วัตถุที่มีผิว
นอกสีขาวเป็ป็นมันวาวและะเรียบเป็นตัวคายความร้
ค อนนที่ไม่ดี
ประโยชน์ขอองการถ่ายโออนพลังงานคววามร้อนโดยกการแผ่รังสีความร้ ว อน
1. เครื่องทําความร้อนด้วยรระบบไหลเวียยนของน้ําที่ใช้พลังงานควาามร้อนจากแแสงอาทิตย์ เครื เ ่องนี้จะติดตั้ง
บนหลังคาบ้้าน ซึ่งจะมีทอที
อ่ ่ให้น้ําไหลผผ่าน โดยท่อนี้จะทําให้การดูดูดกลืนความร้ร้อนโดยการแแผ่รังสีดีขึ้นและรวดเร็ว

ทีมา
่ม : หนังสือเรียนรายวิชชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี
ษ ที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1
ม เล่ม 2
5
50

2. กกาต้มน้ําร้อน กาต้มน้ําร้อนไฟฟ้
อ าเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าทีท่ประดิษฐ์ให้้ตัวของกาต้มนน้ํามีสีเงินวาววและผิวมันเรียบ ย
เพราะคุณลัักษณะเช่นนี้จะทํ ม ําร้อนไฟฟ้าาเป็นตัวแผ่รังสีความร้อนทีที่ไม่ดี จึงทําให้ห้น้ําที่ต้มแล้วเก็บไว้นานๆ ยัง
จ าให้กาต้มน้
ร้อนอยู่นั้นเออง

ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพืพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีปีที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2

3. รถบรรทุกน้นํามันและถังน้ํามัน ตัวถังงบรรทุกน้ํามัันของรถบรรททุกน้ํามันนั้นนิ ยมเคลือบผิวหน้าด้วยสีขาว


เนื่องจากดูดดกลืนรังสีที่มาจากแสงอาทิ
า ตย์ ร อยู่ในถังมีอุอณหภูมิต่ํา ป้ องกันการระเหยของน้ํามันที
ต ได้ไม่ดี ทําใให้น้ํามันที่บรรจุ น ่
เก็บรักษาไว้้นั้นเอง
4. กการสวมเสื้อผ้ผา สีของเสือผ้
้อ าที่ใช้ในฤดูกกาลต่างๆ เช่น เสื้อผ้าที่สวมมใส่ในฤดูร้อนนควรใช้สีอ่อน เพื่อให้ดูดกลืลืน
ความร้อนได้ด้น้อย ส่วนในฤดูหนาวควรใใส่สีเข้ม เพื่อชช่วยเพิ่มความอบอุ่นให้แก่รางกาย
ร่
5. การทาสีบ้าน สีที่ใช้ทาบ้านควรเลื
า อกสีสีอ่อน เพราะจจะทําให้ดูดกลืลืนแสงได้น้อย ในเวลากลางวันบ้านจะรู้สึสึก
เย็นสบายมาากขึ้น
51

ตารางสรุปการถ่ายโอนพลังงานความร้อนในรูปแบบต่างๆ

ลักษณะการถ่ายโอนความร้อน
วิธีการถ่ายโอนความร้อน
ตัวกลาง การถ่ายโอนความร้อน

ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2


ของเหลว
การพาความร้อน ตัวกลาง
แก๊ส

การนําความร้อน ของแข็ง ตัวกลาง ตัวกลาง ตัวกลาง

แหล่ง
การแผ่รังสีความร้อน - กําเนิด

หมายเหตุ กําหนดให้ แทน ความร้อน

โดย 1. การนําความร้อน ตัวกลางไม่เคลื่อนที่ แต่จะส่งถ่ายความร้อนไปยังโมเลกุลข้างเคียงเรื่อย ๆ


2. การพาความร้อน ตัวกลางพาความร้อนเคลื่อนที่ไปด้วย
3. การแผ่รังสีความร้อน แหล่งกําเนิดแผ่รังสีความร้อนทุกทิศทุกทาง
52

แบบฝึกหัด การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
ชื่อ – นามสกุล __________________________________________________ ชั้น ม.1/______ เลขที่ ______

1. การพาความร้อน คือ ____________________________________________________________________


____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
2. จงบอกประโยชน์ของการถ่ายโอนพลังงานความร้อนโดยการพาความร้อน มา 3 ตัวอย่าง พร้อมอธิบาย
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
3. การนําความร้อน คือ ____________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
4. จงบอกประโยชน์ของการถ่ายโอนพลังงานความร้อนโดยการนําความร้อน มา 3 ตัวอย่าง พร้อมอธิบาย
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
5. การแผ่รังสีความร้อน คือ __________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
5
53

6. จงบอกปรระโยชน์ของกการถ่ายโอนพลังงานความร้ร้อนโดยการแผผ่รังสีความร้อน
อ มา 3 ตัวอ ย่าง พร้อมอธิธิบาย
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
54

5 ผลของพลังงานความร้อน
เมื่อวัตถุทุกชนิดได้รับความร้อนหรือความเย็นจะสูญเสียความร้อนไป ผลที่เกิดขึ้นอาจทําให้วัตถุนั้นเปลี่ยนแปลง
สถานะ อุณหภูมิ และขยายตัวหรือหดตัวได้ ผลของพลังงานความร้อนสามารถทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้
1. การเปลี่ยนแปลงสถานะและอุณหภูมิ
2. การขยายตัวและการหดตัว

4.1 การเปลี่ยนแปลงสถานะและอุณหภูมิ

วัตถุต่างๆ สามารถเปลี่ยนแปลงจากสถานะหนึ่งไปเป็นสถานะอื่นได้ด้วยความร้อนและความเย็น ตัวอย่างที่เรา


พบเห็นในชีวิตประจําวันเสมอๆ เช่น ไอศกรีมละลาย ณ อุณหภูมิห้อง การต้มน้ําเดือดจนเป็นไอ น้ํากลั่นตัวเป็นหยดน้ํา
เกาะอยู่ที่ข้างแก้ว เทียนไขที่จุดแล้วไส้เทียนไขจะลุกไหม้ ทําให้เทียนไขละลายเป็นน้ําตาเทียนและแข็งตัวเมื่อไหลลงสู่พื้น

4.2 การขยายตัวและการหดตัว

วัตถุบางชนิดเมื่อได้รับความร้อนจะเกิดการขยายตัว เนื่องจากอุณหภูมิที่สูงขึ้นทําให้โมเลกุลของวัตถุเกิดการสั่น
มากขึ้น มีผลทําให้วัตถุขยายตัว และเมื่อวัตถุคายความร้อนออกไปจะทําให้วัตถุหดตัว ซึ่งจะมีรายละเอียดดังนี้
1. กรณีของแข็ง
เมื่อของแข็งได้รับความร้อน อนุภาคของของแข็งจะเกิดการสั่นอย่างรวดเร็วและมากขึ้นตามลําดับ ทําให้
อุณหภูมิของของแข็งเพิ่มขึ้น เมื่ออุณหภูมิของของแข็งถึงจุดเดือด พลังงานความร้อนที่เกิดขึ้นจะช่วยสลายแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค ทําให้อนุภาคอิสระเคลื่อนที่รอบๆ อนุภาคอื่นๆ ปรากฏการณ์เช่นนี้จะทําให้ของแข็งหลอมละลาย
กลายเป็นของเหลว อุณหภูมิที่ทําให้ของแข็งหลอมเหลวเราเรียกว่า จุดหลอมเหลว นั้นเอง
เมื่อของเหลวเย็นตัวลง พลังงานของอนุภาคของของเหลวจะหายไป อนุภาคจะเคลื่อนที่ช้าลงและเข้าใกล้
อนุภาคอื่นๆ อุณหภูมิของของเหลวจะลดลง เมื่ออุณหภูมิของของเหลวลดลงถึงจุดเยือกแข็ง จะเริ่มมีแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาคของของเหลว และอนุภาคจะเริ่มสั่นพร้อมกับเรียงตัว ณ จุดคงที่จุดหนึ่ง ปรากฏการณ์เช่นนี้จะทําให้
ของเหลวนั้นแข็งตัวก่อรูปเป็นของแข็งอุณหภูมิ ณ จุดที่ของเหลวก่อรูปเป็นของแข็งนี้ เรียกว่า จุดเยือกแข็ง
การขยายตัวของของแข็งอันเนื่องมารจากความร้อน จะสังเกตเห็นได้ยาก เพราะมีการเปลี่ยนแปลงน้อยมาก
โลหะแต่ละชนิดเมื่อได้รับความร้อนจะมีอัตราการขยายตัวที่แตกต่างกันตามความยาว ปริมาตร และพื้นที่
5
55

ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพืพื้ นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีปที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2

2. กกรณีของเหลลว
เมื่ออของเหลวได้รัรบความร้อน อนุภาคของขของเหลวจะได้รับพลังงานเพิ่มขึ้นและเคคลื่อนที่อย่างรรวดเร็ว อนุภาค
ต่างๆ จะเคลื่อนที่ชนกันและมีพลังงานนมากขึ้น พร้้อมที่จะเคลื่อนที อ ่ไปคนละททิศละทาง เมืมื่ ออุณหภูมิของของเหลวเพิ
อ พิ่ม
สูงขึ้นจนทําใให้ถึงจุดที่ทําให้ใ เดือด พลังงานความร้
ง ออนที่เกิดขึ้นจะะช่วยสลายแรรงยึดเหนี่ยวร ะหว่างอนุภาค ทําให้อนุภาค
เริ่มเคลื่อนทีที่ได้อย่างอิสระะ ทําให้ของเหหลวเดือดก่อรูปปเป็นไอน้ํา อุณหภูมิที่จุดนี้นั้นเราเรียกว่ า จุดเดือด นั้นเอง
เมื่ออไอน้ําเย็นตัวลง พลังงานขของอนุภาคขอองไอน้ําจะหาายไป อนุภาคคจะเคลื่อนที่ชช้้ าลง และเข้าใกล้ า กับอนุภาค
อื่นๆ อุณหภภูมิของแก๊สจะลดลง จ เมื่ออุอณหภูมิของแแก๊สถึงจุดที่ทํทาให้เกิดการควบแน่น จะะเริ่มมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่ว่าง
อนุภาค ซึ่งออนุภาคจะหยุดการเคลื
ด ่อนทีที่ไปโดยรอบออย่างอิสระ แตต่จะเริ่มเคลื่อนที
น ่รอบอนุภาาคอื่นๆ ทําให้ไอน้
ไ ําก่อตัวแนน่น
ขึ้นกลายเป็นนของเหลว ทีจุจ่ ดนี้เราเรียกวว่า จุดควบแนน่น
ของงเหลวต่างชนินิดกันมีปริมาณ ณการขยายตัตัวแตกต่างกัน ณ อุณหภูมทีิ ่เพิ่มเท่าๆ กั น อีเทอร์จะขยายตัวได้มาก
ที่สุด รองลงมา ได้แก่ เบนนซิน แอลกอฮฮอล์ และน้ํา
นอกจากของเหลลวจะเกิดการขขยายตัวแล้ว ขของเหลวยังสามารถหดตั ส วได้
ไ อีกด้วย

ที่มา : หนังสือเรียนรรายวิชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมมศึกษาปีที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2


5
56

3. กกรณีของแก๊ส
เมื่ออแก๊สได้รับคววามร้อน อนุภาคของของเ
ภ เหลวได้รับพลลังงานเพิ่มขึนและเคลื
้น ่อนทีที่เร็วมากขึ้น ทําให้ระยะห่ห่าง
ระหว่างอนุภภาคมากขึ้น ปริ
ป มาณของแก๊ก๊สจะมากขึ้นด้วย

ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพืพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีปีที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2

การนําความมรู้เกี่ยวกับกาารขยายตัวแลละการหดตัวขของวัตถุไปใชช้ประโยชน์
1. ตั ว ควบคุ ม อุอ ณ หภู มิ ใบบปั จ จุ บั น มี สิ่ งงประดิ ษ ฐ์ ที่นํนา หลั ก การขขยายตั ว ของวัวั ต ถุ ม าใช้ เ ป็นส่ ว นหนึ่ ง ข อง
เครื่องใช้ไฟฟฟ้าที่เราเรียกวว่า ตัวควบคุมอุ
ม ณหภูมิ หรือ เทอร์มอสแแตต ซึ่งหมายถึง เครื่องควบบคุมความร้อนให้คงที่ เทออร์-
มอสแตตเป็นนสิ่งประดิษฐ์์ที่ใช้รักษาอุณหภู
ณ มิให้สม่ําเเสมอ เครื่องใใช้อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เทอร์มมอสแตตมีอยู่หลายชนิด เชช่น
เตาอบ เตารีรีด ตู้เย็น เครื่องปรั
อ บอากาศศในอาคาร เคครื่องปรับอากกาศที่อยู่อาศัย และเครื่องงปรับอากาศในรถยนต์ กาตต้ม
น้ํา หม้อหุงข้าวไฟฟ้า เครืรื่องคอมพิวเตออร์

ทีท่มา : หนังสือเรียนรายวิวิชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี


ก ที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2
5
57

2. การตีหมุดย้้ํา หมุดย้ําเป็นเข็มหมุดโลหหะที่ใช้เชื่อมตต่อชิ้นส่วนโลหหะบางๆ 2 ชิ้น เข้าด้วยกัน การตีหมุดย้ําใช้



หลักการขยาายตัวของของงแข็งเมื่อได้รบความร้
บั อน
3. ถนนคอนกรีต วันที่มีอากกาศร้อนถนนนคอนกรีตจะขยายตัวหรือแตกร้าวได้ ถ้ าไม่ได้เตรียมช่ ม องว่างเผื่อไว้

สําหรับการขขยายตัวของแแผ่นคอนกรีตการที
ก ่จะแก้ปัญญหานี้ ผู้ก่อสรร้างถนนต้องเผื่อช่องว่างระะหว่างแผ่นคอนกรีตไว้หรืออัอด
ด้วยยางมะตตอย

ที่มา : หนังสือสื่อกาารเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชัน้ ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1

4. รรางรถไฟ ในนวันที่อากาศร้ร้อน รางรถไฟฟที่ทําด้วยเหล็กจะเกิดการขขยายตัวและเกิกิดการคดงอไได้ ถ้ารถไฟแลล่น


บนรางนี้อาจจจะเกิดอุบัติเหตุ
เ ของรางรถถไฟได้ เพื่อป้อองกันเหตุการรณ์นี้ไม่ให้เกิดขึ้น การวางรรางรถไฟจะต้องเว้
อ นช่องว่างไว้

เผื่อการขยายตัวของรางรรถไฟ และที่ปลายรางที
ล ่เชื่อมต่อกันนั้นต้องมี
อ หมุดยึด

ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชันมั


น้ ธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 ที่มา : http://portal.rotfaithai.com/modulles.php?name=Forums&file=viewtopic&p=930090

5. สะพาน สะพานที
ส ่สร้างด้วยคอนกรีรีตหรือโลหะ ล้วนแต่สร้างรองรับการขยยายตัวจากการเปลี่ยนแปลง
อุ ณ หภู มิ ข อองสภาพแวดดล้ อ ม ล้ อ เลื่อนและจุ
อ ่ อ ที่ เ ลื่ อ นไปมาได้ สร้ า งไว้ สํ า หรั บบการเคลื่ อ นตั ว ของสะพาาน
ด เชืชอมต่
เนื่องมาจากการขยายตัวและหดตั
แ วของงวัสดุที่ใช้สร้างสะพาน

ที่มา : หนังสือสือการเรี
่ ยนรู้ฯ วิทยาศาสตรร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 ที่มา : หนังสือสือการเรี
อ่ ยนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1
5
58

6. ท่อส่งของเหลวหรือแก๊๊ส ท่อส่งของงเหลวหรือแก๊ก๊สที่ร้อนหรือเย็น จะทํากาารโค้งงอให้มขนาดใหญ่


ี เพืพื่อ
ป้องกันการแแตกหักของท่อเมื
อ ่อเกิดการขยายตัวหรือหหดตัว

ที่มา : หนังสือสือ่ อการเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1

7. แแก้ว ถ้านําน้าที
าํ ่ต้มเดือดจนนร้อนมากๆ เททลงในแก้วหนนาๆ แก้วอาจแตกได้ เนื่อง จากการขยายยตัวที่ไม่แน่นอน อ
ของแก้ว ดังนั้นในห้องปฏิฏิบัติการทดลอองวิทยาศาสตร์นิยมใช้แก้วทนไฟท ซึ่งจะไมม่เหมือนกับแแก้วทั่วไปโดยจจะไม่แตกร้าวได้ ว
ง่าย เพราะวว่าแก้วทนไฟจจะขยายตัวเพียงเล็
ย กน้อยเมื่ออได้รับความร้ร้อน
8. สสายโทรศัพท์และสายไฟฟ้
แ า ง สายโโทรศัพท์และสายไฟฟ้าแรงงสูงจะขยายตัตัวและหย่อนลลงในวันที่อากาศ
าแรงสู
ร้อน ดังนั้นใในการวางสายยเหล่านี้ฝ่ายเททคนิคจะต้องติติดตั้งสายไฟฟ้ฟ้าให้มีความตึึงพอเหมาะ
9. ขขวดบรรจุของงเหลว การบบรรจุของเหลววลงในขวด เชช่น น้ําปลา น้าอั ํา ดลม และนน้ําดื่มทั่วไป จะไม่
จ บรรจุน้ําจน จ
เต็มปากขวดด โดยจะต้องเเว้นที่ว่างไว้เผือการขยายตั
อ่ ววของของเหลววเมื่ออุณหภูมิของสภาพแววดล้อมสูงขึ้น
10.. กระป๋องสเปปรย์ ฉลากขอองกระป๋องสเเปรย์ทุกกระป๋ป๋องจะมีป้ายคคําเตือนให้เก็บบกระป๋องเหลล่านี้ไว้ในบริเวณ ว
อากาศเย็น เนื่องจากกระะป๋องสเปรย์บรรจุบ แก๊สที่มีคความดันสูง ถ้าเราเก็บไว้ในที น ่อุณหภูมิสสูู งจะทําให้แก๊๊สขยายตัวอย่ย่าง
รวดเร็ว อาจจเป็นสาเหตุททํที่ าให้ภาชนะทที่ใช้บรรจุเกิดการระเบิดได้้
59

แบบฝึกหัด ผลของพลังงานความร้อน
ชื่อ – นามสกุล __________________________________________________ ชั้น ม.1/______ เลขที่ ______

1. ผลของพลังงานความร้อนสามารถทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้กี่แบบ อะไรบ้าง
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
2. จงอธิบายการขยายตัวและหดตัวในกรณีของของแข็ง
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
3. จงอธิบายการขยายตัวและหดตัวในกรณีของของเหลว
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
4. จงอธิบายการขยายตัวและหดตัวในกรณีของแก๊ส
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
6
60

5. จงอธิบายยการนําความรู้เกี่ยวกับการรขยายตัวและะการหดตัวของวัตถุไปใช้ประโยชน์
ร ในกรณณีต่างๆ ต่อไปปนี้
5.1 ถนนนคอนกรีต
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
5.2 รางรถถไฟ
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
5.3 สะพาาน
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
5.4 สายโทรศัพท์และสสายไฟแรงสูง
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
5.5 ขวดบบรรจุของเหลวว
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
61

Note : _________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
62

_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
63

_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
64

1 อากาศและบรรยากาศ
1.1 อากาศ
อากาศ หมายถึง บรรยากาศบริเวณใกล้พื้นผิวโลกและอยู่รอบๆ ตัวเราจนถึงระดับสูงจากพื้นดินประมาณ
80 กิโลเมตร อากาศประกอบด้วยแก๊สต่างๆ หลายชนิดและอาจมีไอน้ําผสมอยู่ด้วย
อากาศที่ไม่มีไอน้ํา เรียกว่า อากาศแห้ง ซึ่งในธรรมชาติจะไม่มีอากาศแห้ง
อากาศที่มีไอน้ําปนอยู่ตั้งแต่ร้อยละ 1 – 4 เรียกว่า อากาศชื้น
ไอน้ําเป็นส่วนผสมที่สําคัญของอากาศ ทําให้เกิดหมอก เมฆ ลม พายุ ฝน ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ซึ่งสามารถ
ศึกษาเปรียบเทียบส่วนผสมของอากาศแห้งแบะอากาศชื้นได้จากตารางต่อไปนี้

ตารางแสดงส่วนประกอบของอากาศแห้งและอากาศชืน้

ส่วนประกอบของอากาศแห้ง ส่วนประกอบของอากาศชื้น
1. แก๊สไนโตรเจน (N2) 78.084 % 1. แก๊สไนโตรเจน (N2) 78 %
2. แก๊สออกซิเจน (O2) 20.946 % 2. แก๊สออกซิเจน (O2) 21 %
3. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 0.033 % 3. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 0.03 %
4. แก๊สอาร์กอน 0.93 % 4. แก๊สอาร์กอน 0.93 %
5. แก๊สอื่นๆ 0.007 % 5. ไอน้ํา 1–4%
- แก๊สนีออน (Ne) 6. แก๊สอื่นๆประมาณ 1%
- แก๊สฮีเลียม (He) ได้แก่
- แก๊สคริปตรอน (Kr) - แก๊สโอโซน (O3)
- แก๊สซีนอน (Xe) - แก๊สซัลเฟอร์ไอออกไซด์ (SO2)
- แก๊สไฮโดรเจน (H2) - แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2)
- แก๊สมีเทน (CH4) - แก๊สแอมโนเนีย (NH3)
- แก๊สไนตรัสออกไซด์ (N2O) - แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO)
- ฝุ่นละออง
- แก๊สนีออน (Ne)
- แก๊สฮีเลียม (He)
- แก๊สไฮโดรเจน (H2)
- แก๊สมีเทน (CH4)
- แก๊สไนตรัสออกไซด์ (N2O)

เมื่ออากาศมีไอน้ําปนอยู่จะทําให้ส่วนผสมของแก๊สอื่นเปลี่ยนแปลงไปบ้างเล็กน้อย ส่วนประกอบของอากาศชื้น
จะเปลี่ยนแปลงไปตามสถานที่ เช่น ชายทะเล ภูเขา ป่าไม้ ชุมชน พื้นที่อุตสาหกรรม
อากาศชื้นที่มีไอน้ําปนอยู่ตั้งแต่ร้อยละ 1 – 4 หมายถึง ถ้าอากาศชื้นมีมวล 100 กรัม จะมีไอน้ําปนอยู่ได้มาก
ที่สุดไม่เกิน 4 กรัม
6
65

แแบบฝึกหัหด อากาศศ
ชื่อ – นามสกุล _______________________________________________________ ชั้น มม.1/______ เลขที
เ ่ _______

คําสั่ง จงเติติมคําหรือข้อความลงในช่
ค องว่
ง างให้ถูกต้อง
1. องค์ประกกอบสําคัญทีทํท่ าให้ทราบว่าเป็
เ นอากาศชื้น คือ _________________________________________________
ซึ่งมีอยู่ปรระมาณร้อยละะ____________________________________________________
_______________________
2. ส่วนประกกอบที่มีมากทีที่สุดในอากาศชื้นและอากาศศแห้ง คือ _____________________________________________
มีอยู่ประมมาณร้อยละ ___________
_ ________________________________________________________________
3. จงยกตัวออย่างเหตุการณ
ณ์ในชีวิตประจจําวันที่แสดงวว่าในอากาศมีไอน้ํา พร้อมออธิบายเหตุผลลอย่างน้อย 1 ข้อ
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
4. อากาศบริริเวณป่าไม้มีไอน้ําร้อยละ 3 โดยมวล ถ้าวิเคราะห์อากกาศบริเวณป่าไม้ซึ่งมีมวล 4 กิโลกรัม จะมีไอน้ําเท่ากับ
เท่าไร ________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
5. จงนําข้อคความที่กําหนดดให้เติมลงในชช่องว่างให้ถูกต้อง

บริเวณชายททะเล ภูเขา ป่าไม้ บริเวณพืพื้นที่อุตสาหก รรม


แหล่งชุมชนทีม่ ีการจราจรรคับคั่ง บริเวณพพื้นที่แห้งแล้ง

5.1 ___________________________________________________________________________ มีปริมาณไอน้


ม ําน้อย
5.2 ___________________________________________________________________________ มีปริมาณไอน้
ม ํามากก
5.3 _____________________________________ มีฝนุ่ ละออง แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์
ไ แลละแก๊สไนโตรรเจนไดออกไซซด์
5.4 ____________________________________ มีฝุ่นละออง เขขม่า แก๊สคาร์บอนไดออกไซซด์ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซ
บ ซด์
แก๊สซัลเเฟอร์ไดออกไซซด์ และแก๊สไนโตรเจนไดอ
ไ ออกไซด์
66

1.2 บรรยากาศ
บรรยากาศ หมายถึง อากาศที่อยู่รอบตัวเราและปกคลุมโลกทั้งหมด มีขอบเขตจากระดับน้ําทะเลขึ้นไป
ประมาณ 600 กิโลเมตร อยู่ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก ซึ่งเป็นแรงที่ดึงดูดอนุภาคต่างๆ ไว้ไม่ให้หลุดลอยออกนอกโลก
แรงโน้มถ่วงจะมีค่ามากเมื่ออยู่ใกล้ผิวโลก ยิ่งสูงขึ้นไปแรงนี้จะมีค่าลดลง ทําให้อากาศใกล้ผิวโลกมีความหนาแน่นมาก
และยิ่งสูงขึ้นไปอากาศก็จะเบาบางลง บรรยากาศแบ่งเป็นชั้นต่างๆ ในแต่ละชั้นจะมีองค์ประกอบแตกต่างกัน และมี
ความสําคัญต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก

การแบ่งชัน้ บรรยากาศ
การแบ่งชั้นบรรยากาศทําให้ทราบถึงโครงสร้างของบรรยากาศ และสภาพต่างๆของบรรยากาศโลก บรรยากาศ
เป็นการผสมกันของแก๊สต่างๆ ในอัตราส่วนที่ค่อนข้างคงที่ ยกเว้นไอน้ําและสารแขวนลอยในอากาศ ได้แก่ ควันไฟ เขม่า
และฝุ่นผงต่างๆ ซึ่งเป็นส่วนผสมที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้โดยเฉพาะสารแขวนลอยในอากาศจะพบว่ามีปัจจัยที่ทําให้เกิด
การเปลี่ ย นแปลงที่ สํ า คั ญ จากการกระทํ า ของมนุ ษ ย์ เช่ น การตั ด ไม้ ทํ า ลายป่ า หรื อ เขม่ า ควั น ที่ เ กิ ด จากโรงงาน
อุตสาหกรรม การกระทําของมนุษย์เหล่านี้มีผลต่อบรรยากาศโลก โดยเฉพาะชั้นบรรยากาศที่มนุษย์อาศัยอยู่
ดังนั้นเมื่อทราบถึงลักษณะของบรรยากาศโลก รวมถึงสาเหตุต่างๆ ที่ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ
จะช่วยให้สามารถคิดค้นหาหนทางป้องกันแก้ไขเหตุการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศโลกใน
อนาคตได้ เพื่อการดําเนินชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุขต่อไป

การแบ่งชั้นบรรยากาศอาจใช้เกณฑ์ต่างกัน ดังนี้
1. การแบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้อุณหภูมิของบรรยากาศเป็นเกณฑ์
2. การแบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้สมบัติแก๊ส หรือส่วนผสมของอากาศเป็นเกณฑ์
3. การแบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้สมบัติทางอุตุนิยมวิทยาเป็นเกณฑ์
ส่วนใหญ่ในการศึกษาเกี่ยวกับชั้นบรรยากาศ นิยมใช้การแบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้อุณหภูมิของบรรยากาศ
เป็นเกณฑ์ แต่จะใช้เกณฑ์ใ ดก็ตามจะช่วยให้เรามีความเข้าใจเกี่ยวกับชั้นบรรยากาศที่เราสามารถนําไปใช้อธิบาย
ปรากฏการณ์ต่างๆ ในชีวิติประจําวันได้
6
67

 การแบ่งชั้นบรรยากาศโด
บ ยใช้อุณหภูมขิของบรรยากาาศเป็นเกณฑ์์
การรแบ่งชั้นบรรยยากาศโดยใช้อุอณหภูมิของบบรรยากาศเป็นเกณฑ์
น นี้ นักอุตุนิยมวิทยาไ
าได้ศึกษาพบว่ว่า อุณหภูมิของ

บรรยากาศจจะมีการเปลี่ยนแปลงเป็
น นช่วงๆ
ว ตามระดัับความสูงจากกพื้นโลก และะมีปรากฏการรณ์ต่างๆ ในแตต่ละชั้น ซึง่ แบบ่ง
ได้เป็น 4 ชัน้ ดังภาพ

ที่มา : หนังสือสื่อการรเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

1. โโทรโพสเฟียร์ (Troposphhere)
11.1 อยู่สูงจากกพื้นดินประมมาณ 0 – 10 กิโลเมตร ซึ่งในแต่
ง ละแห่งอาจไม่
ง เท่ากันั เช่น บริเวณณขั้วโลกสูงจาก
พื้นดินประมมาณ 8 – 10 กิโลเมตร บริเวณศู
เ นย์สูตรสูสูงจากพื้นดินประมาณ
ป 16 – 18 กิโลเมตตร
11.2 มีอากาศหหนาแน่นประมมาณร้อยละ 880 ของอากาศศทั้งหมด
ง ไอน้ําใในอากาศมากพอที่จะทําให้ห้เกิดเป็นเมฆ ฝน พายุ ฟ้าแลบ ท้องฟฟ้า
11.3 อากาศแปปรปรวน เนื่องจากมี
ฟ้าผ่า และสภาวะลมฟ้าอากาศต่
า างๆ ได้ บรรยากาาศชั้นนี้จึงมีผลต่อการดํารงงชีวิตของมนุษษย์และสิ่งมีชวิี ตอื่นๆ บนโลลก
มากที่สุด
11.4 สุดเขตบรรรยากาศชั้นนี้เรียกว่า “โททรโพพอส”(TTropopausee) มีอุณหภูภูมิต่ํามาก ทีบริ ่บ เวณศูนย์สูตร
ประมาณ -880°C บริเวณขัขั้วโลกประมาณ ณ -60°C
68

2. สตราโตสเฟียร์ (Stratosphere)
2.1 อยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 10 – 45 กิโลเมตร
2.2 มี อ ากาศเบาบาง มวลอากาศมี ป ระมาณร้ อ ยละ 19.9 มี ค วามชื้ น และฝุ่ น ผงเล็ ก น้ อย อากาศจึ ง ไม่
แปรปรวน จึงนิยมนําเครื่องบินมาบินตอนล่างของอากาศชั้นนี้
2.3 บรรยากาศชั้นนี้มี “แก๊สโอโซน”(Ozone) มากซึ่งอยู่ที่ความสูงประมาณ 25 กิโลเมตร แก๊สโอโซนนี้จะ
ช่วยดูดกลืนรังสีอัตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ไว้บางส่วน เพื่อไม่ให้รังสีอัลตราไวโอเลตผ่านลงมาสู่ผิวโลกมากเกินไป
2.4 สุดเขตบรรยากาศชั้นนี้เรียกว่า “สตราโตพอส”(Stratopause) มีอุณหภูมิประมาณ -10°C
3. มีโซสเฟียร์ (Mesosphere)
3.1 อยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 45 – 80 กิโลเมตร
3.2 มีอากาศไม่ถึงร้อยละ 0.1 ของมวลอากาศทั้งหมด แต่สัดส่วนของแก๊สต่างๆ ในอากาศยังคงที่เหมือนชั้น
สตราโตสเฟียร์และโทรโพสเฟียร์
3.3 อุกกาบาตหรือวัตถุนอกโลกต่างๆ ที่ผ่านเข้ามาจะลุกไหม้จนหมดหรือมีขนาดเล็กลงจนไม่เป็นอันตรายต่อ
สิ่งมีชีวิตบนโลกในบรรยากาศชั้นนี้
3.4 สุดเขตบรรยากาศชั้นนี้เรียกว่า “มีโซพอส”(Mesosphere) มีอุณหภูมิประมาณ -140°C
4. เทอร์โมสเฟียร์ (Thermosphere)
4.1 อยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 80 – 600 กิโลเมตร
4.2 มีแก๊สต่างๆ น้อยมาก โมเลกุลของแก๊สต่างๆ จะได้รับพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ จนมีอุณหภูมิ
สูงขึ้น และแตกตัวเป็นอนุภาคไฟฟ้า เรียกว่า ไอออน(Ion) ซึ่งไอออนนี้สามารถสะท้อนคลื่นวิทยุบางความถี่ได้ และมี
ปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้หรือแสงออโรรา จึงเรียกบรรยากาศชั้นนี้อีกอย่างหนึ่งว่า “ไอโอโนสเฟียร์”(Ionosphere)

การแบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้สมบัติแก๊ส หรือส่วนผสมของอากาศเป็นเกณฑ์
โครงสร้างของบรรยากาศที่แบ่งชั้นบรรยากาศ โดยพิจารณาจากส่วนผสมของแก๊สหรือปฏิกิริยาทางเคมีใน
บรรยากาศ แบ่งได้ออกเป็น 4 ชั้น ดังนี้
1. โทรโพสเฟียร์ (Troposphere)
1.1 เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่ติดพื้นผิวโลกจนถึงระดับความสูงเฉลี่ยประมาณ 10 กิโลเมตร
1.2 ส่วนผสมของบรรยากาศที่สําคัญในชั้นนี้คือ ไอน้ํา
2. โอโซโนสเฟียร์ (Ozonosphere)
2.1 เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่เหนือระดับโทรโพสเฟียร์ขึ้นไปจนถึงระดับประมาณ 50 – 55 กิโลเมตร
2.2 บรรยากาศชั้นนี้จะมีปริมาณโอโซนที่รวมตัวกันมากกว่าชั้นอื่นๆ
3. ไอโอโนสเฟียร์ (Ionosphere)
3.1 เป็นชั้นบรรยากาศที่แก๊สเริ่มมีการแตกตัวเป็นอิเล็กตรอนและไอออนขึ้น ซึ่งไอออนเป็นอนุภาคอิสระ มี
ประจุไฟฟ้าบวกหรือลบ
3.2 ชั้นไอโอโนสเฟียร์ยังแบ่งออกเป็นชั้นย่อยๆ ได้ 3 ชั้น คือ
ก. ชั้นดี (D-Layer) สูง 40 – 100 กิโลเมตร
ข. ชั้นอี (E-Layer) สูง 100 – 150 กิโลเมตร
ค. ชั้นเอฟ (F-Layer) สูง 150 – 240 กิโลเมตร
69

3.3 มีอิเล็กตรอนจํานวนมากและมากพอที่จะมีผลต่อการเคลื่อนที่ผ่านของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สิ่งสําคัญใน


การแตกตัวคือ ต้องเป็นบริเวณที่มีความกดอากาศต่ํา ระหว่างชั้นไอโอโนสเฟียร์พื้นผิวโลก ซึ่งจะทําให้คลื่นวิทยุถูก
สะท้อนไปมาซ้ําแล้วซ้ําอีก ทําให้สามารถรับส่งสัญญาณวิทยุได้
4. เอกโซสเฟียร์ (Exosphere)
4.1 เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่เหนือชั้นไอโอโนสเฟียร์
4.2 ความหนาแน่นของอะตอมต่างๆ ในบรรยากาศชั้นนี้จะน้อยลง จนกระทั่งการชนกันระหว่างอนุภาค
ต่างๆ เกิดได้ยากมาก
4.3 ระดับความสูงจริงของฐานเอกโซสเฟียร์นั้นไม่แน่นอน
4.4 ระดับชั้นบนของเอกโซสเฟียร์จะมีไฮโดรเจนและฮีเลียมมาก

 การแบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้สมบัติทางอุตุนิยมวิทยาเป็นเกณฑ์
โครงสร้างของบรรยากาศที่แบ่งชั้นบรรยากาศ โดยพิจารณาจากการใช้สมบัติทางอุตุนิยมวิทยาเป็นเกณฑ์ แบ่ง
ออกได้เป็น 5 ชั้น ดังนี้
1. บริเวณที่มอี ิทธิพลของความฝืด
เป็นชั้นที่นับจากบริเวณพื้นผิวโลกขึ้นไปถึงระดับความสูงประมาณ 2 กิโลเมตร บริเวณนี้การไหลเวียนของ
มวลอากาศได้ รั บอิ ท ธิ พลจากความฝื ด และจากลักษณะของพื้ นผิวโลกนั้นๆ โครงสร้ างในชั้ นนี้จะแปรเปลี่ยนตาม
ความสัมพันธ์ของการถ่ายเทความร้อนระหว่างผิวของโลกกับอากาศบริเวณนั้นๆ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้าง
บรรยากาศขึ้นอยู่กับละติจูดและภูมิประเทศเป็นสําคัญ
2. โทรโพสเฟียร์ชั้นกลางและชั้นบน
เป็นบรรยากาศชั้นที่ความฝืดจะมีผลต่อการไหลเวียนของมวลอากาศน้อยลงมาก อุณหภูมิจะลดลงอย่าง
สม่ําเสมอเมื่อความสูงเพิ่มขึ้น
3. โทรโพพอส
เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่ระหว่างโทรโพสเฟียร์กับสตรโตสเฟียร์ เป็นเขตของบรรยากาศที่แบ่งชั้นที่มีไอน้ําและ
ไม่มีไอน้ํา
4. สตราโตสเฟียร์
เป็นชั้นบรรยากาศที่มีลักษณะเช่นเดียวกับสตราโตสเฟียร์ที่ใช่เกณฑ์ในการแบ่งโดยใช้อุณหภูมิเป็นเกณฑ์
5. บรรยากาศชั้นสูง
เป็นชั้นบรรยากาศที่สูงขึ้นไปจากสตราโตสเฟียร์จนถึงขอบนอกสุดของบรรยากาศ
70

ตารางเปรียบเทียบการแบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้เกณฑ์ตา่ งๆ

ใช้สมบัตขิ องแก๊สหรือส่วนผสม ใช้สมบัตทิ างอุตุนิยมวิทยา


ใช้อุณหภูมิของอากาศเป็นเกณฑ์
ของอากาศเป็นเกณฑ์ เป็นเกณฑ์
1. โทรโพสเฟียร์ (Troposphere) 1. โทรโพสเฟียร์ (Troposphere) 1. บริเวณที่มอี ิทธิพลของความฝืด
- ระยะ 0 – 10 กิโลเมตร - ระยะ 0 – 10 กิโลเมตร - ระยะ 2 กิโลเมตรจากผิวโลก
- อุณหภูมิลดลงตามความสูงที่ - ส่วนผสมของบรรยากาศที่สําคัญ - การไหลเวียนของมวลอากาศ
เพิ่มขึ้น 6.5°C ต่อกิโลเมตร คือ ไอน้ํา ในบริเวณนีไ้ ด้รับอิทธิพลจาก
ความฝืดและจากลักษณะของ
พื้นผิวโลก
2. สตราโตสเฟียร์ (Stratosphere) 2. โอโซโนสเฟียร์ (Ozonosphere) 2. โทรโพสเฟียร์ (Troposphere)
- ระยะ 10 – 45 กิโลเมตร - ระยะ 10 – 55 กิโลเมตร - ความฝืดลดลง
- อุณหภูมิเพิม่ ขึ้นตามความสูง - ส่วนผสมของบรรยากาศที่สําคัญ - อากาศไหลเวียนดี
คือ โอโซน (O3) - มีไอน้าํ มาก
3. มีโซสเฟียร์ (Mesosphere) 3. ไอโอโนสเฟียร์ (Ionosphere) 3. โทรโพพอส (Tropopause)
- ระยะ 45 - 80 กิโลเมตร - ระยะ 80 – 600 กิโลเมตร - เป็นเขตที่แบ่งชั้นระหว่างชั้นที่มี
- อุณหภูมิลดลงตามความสูง - มีไอออน (เกิดจากอะตอมของ ไอน้ํากับไม่มีไอน้ํา
แก๊สแตกตัวเป็นไอออน)
4. เทอร์โมสเฟียร์ (Thermosphere) 4. เอกโซสเฟียร์ (Exosphere) 4. สตราโตสเฟียร์ (Stratosphere)
- ระยะ 80 – 600 กิโลเมตร - ระยะ 600 กิโลเมตรขึ้นไป - อากาศไม่แปรปรวน
- อุณหภูมิค่อยๆ สูงขึ้นแล้วเพิ่มขึ้น - ความหนาแน่นของอากาศน้อยลง - ไม่มีไอน้ํา
อย่างรวดเร็ว
5. บรรยากาศชั้นสูง
- อยู่เหนือชั้นสตราโตสเฟียร์ขึ้นไป

ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2


7
71

แแบบฝึกหัหด บรรรยากาศศ
ชื่อ – นามสกุล _______________________________________________________ ชั้น มม.1/______ เลขที
เ ่ _______

คําสั่ง จงเติติมคําหรือข้อความลงในช่
ค องว่
ง างให้ถูกต้อง
1. บรรยากาาศชั้นที่มีอากาาศแปรปรวนมมากที่สุด คือ _________________________ เนื่องจจาก __________________
______________________________ บรรยากาศศชั้นนี้มีอุณหภูภูมิเปลี่ยนแปลลงอย่างไร _________________________
_____________________________________________________________________________________________
2. บรรยากาาศชั้นใดมีอุณหภู
ห มิคงที่แล้วลดลงเท่านั้น _____________________________________________________
3. บรรยากาาศชั้นใดที่นักบินนําเครื่องบิบินไปบินในชั้นนนี้ ___________________________________________________
เพราะ ________________________________________________________________________________________
4. บรรยากาาศชั้นใดมีอุณหภู
ห มิสูงขึ้นเรือยๆ
อ่ จนประมมาณ 1,700°CC __________________________________________
เพราะ ________________________________________________________________________________________
5. ชั้นบรรยาากาศที่ช่วยกรรองรังสีอัลตราไวโอเลตไม่ใให้ผ่านมายังโลลกมากเกินไป คือ _______
_______________________
เนื่องจาก _____________________________________________________________________________________
6. ชั้นบรรยาากาศที่ช่วยในนการสื่อสาร คือ ______________________________________________________________
เนื่องจาก _____________________________________________________________________________________
7. บรรยากาาศชั้นมีโซสเฟียร์มีความสําคัคญต่อสิ่งมีชีวิต คือ ___________________________
_______________________
__________________________________ เนื่องจจาก __________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
7
72

11.3 ความสําคั
า ญของอาากาศและบรรรยากาศ
ควาามสําคัญของงอากาศและบบรรยากาศทีม่มีีต่อสิ่งมีชีวตบนโลกมี
ติ ดังนี้
1. บบรรยากาศชัชั้นโทรโพสเฟียร์มีแก๊สออกกซิเจนและแก๊ก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ช่ววยให้เกิดกระะบวนการต่างๆ ง
ที่จําเป็นต่อการดํารงชีวิตของสิ
ต ่งมีชีวติ
- พื ช และสัต ว์ว ห ายใจเอาแแก็ ส ออกซิเ จนนไปเผาผลาญสารอาหารรในเซลล์ ทํ าาให้ไ ด้ พลั ง งาานและเกิด แกก๊ ส
คาร์บอนไดอออกไซด์คายอออกมา ซึ่งจะเเกิดขึ้นตลอดเเวลา
- พืชสีเขียวนําแก๊
า สคาร์บอนนไดออกไซด์แและน้ําไปใช้ในกระบวนการ
น รสังเคราะห์ด้ว ยแสงได้น้ําตาลกลู
ต โคส แลละ
แก๊สออกซิเจจนซึ่งปล่อยสู่บรรยากาศ ทํทาให้มีการหมมุนเวียนของแแก๊สคาร์บอนไไดออกไซด์แลละแก๊สออกซิเจน เ แก๊สทั้งสอง
ชนิดนี้จึงไม่หหมดไปจากโลลก
2. ชช่วยปรับอุณหภู
ห มิของโลกกให้พอเหมาะะกับการดํารงชชีวิตของสิ่งมีชีวิต
โดยยในเวลากลางงวัน บรรยากาาศที่ห่อหุ้มโลกกและไอน้ําจะะดูดกลืนรังสีอัอลั ตราไวโอเล ต รังสีอินฟราาเรด ซึ่งเป็นรัังสี
ที่ทําให้เกิดคความร้อนจากดวงอาทิตย์ไว้บางส่วน จึงททําให้โลกร้อนขึ
น ้นอย่างช้าๆ
ส่วนนในเวลากลาางคืน บรรยากกาศจะช่วยให้ห้โลกคายควาามร้อนหรือเย็นตัวลงช้าๆ เเช่นกัน ซึ่งถ้าขากบรรยากาศ
แล้ว จะทําใให้ในเวลากลาางวัน อุณหภูมิมบิ นพื้นโลกจจะสูงถึงประมาณ 110°C และในเวลากล
แ ลางคืน อุณหภภูมิบนโลกจะต่ํา
จนถึงประมาาณ -180°C
3. ททําให้เกิดปราากฏการณ์ทางลมฟ้
า าอากาาศ
อากกาศใกล้ผิวโลกชั้นโทรโพสเเฟียร์ มีไอน้ํามมาก ทําให้เกิดปรากฏการณ
ณ์ทางลมฟ้าออากาศ เช่น ลม พายุ เมฆ ฝน

ซึ่งมีความสําาคัญต่อการทําเกษตรกรรม
า ม การประกอบบอาชีพ ความมเป็นอยู่ วัฒนธรรม และกาารดํารงชีวิตขอองมนุษย์
4. โโอโซนในชั้นสตราโตสเฟี
ส ยร์
ย ช่วยกรองรัรังสีอัลตราไวโโอเลตไม่ให้ผานลงมาถึ
่ งพื้ นโลกมากเกินไป
รังสีอัลตราไวโอเเลตหรือรังสียวีูวมี ีประโยชน์ คือ ช่วยในกาารสังเคราะห์วิวติ ามันดี โดย คอเลสเทอรออลใต้ผิวหนังเมืมื่อ
ได้รับรังสีอัลลตราไวโอเลตจะเปลี่ยนไปเเป็นวิตามินดี ช่วยให้กระดูกและฟันแข็งแรง นอกจากกนี้รังสีอัลตราาไวโอเลตยังช่วย
ฆ่าแบคทีเรียยและเชื้อโรคคบางชนิดอีกด้ดวย แต่ถ้ามีรรังสีอัลตราไววโอเลตผ่านลงมาถึงโลกมาากเกินไป จะไปทําลายเซลลล์
ผิวหนัง ทําใให้เกิดโรคมะเเร็งผิวหนัง แลละทําให้นัยน์ตตาเกิดต้อกระะจกได้ ส่วนใหหญ่รังสีจากดววงอาทิตย์ที่ผานมาถึ
่ งพื้นโลลก
ได้แก่ แสงขาว ที่ช่วยในกการมองเห็น รัังสีความร้อนแและคลื่นวิทยุ

- รังสีอัลตราไวโโอเลต หรือ รังสีเหนือม่วง ซึ่งเป็นรังสีทมี่ มองไม่เห็น อาาจเรียกว่า


Black
B Light มมีพลังงานสูงกว่ ก าแสงสว่างจจากดวงอาทิตตย์ แต่ถูกดูดกลื ก นโดย
บรรยากาศชั
บ ้นนโอโซนในชั้นสตราโตสเฟี
ส ยร์
- แสงจากดวงอ
แ อาทิตย์ที่เรามอองเห็น เรียกว่ว่า แสงขาว
- รังสีความร้อน คือ รังสีอินฟราเรด

- ถ้ถาไม่มีอากาศศเราจะไม่ได้ยนเสี
นิ ยงต่างๆ เพราะคลื
เ ่นเสียยงต้องใช้อากาศเป็น
ที่มา : https://wwww.dek-d.com/board/vieew/1848027/ ตัตวกลางในการเคลื่อนที่จากกแหล่งกําเนิดเสียงไปยังที่ตต่างๆ

5. ชช่วยป้องกันภัยอันตรายจาากวัตถุต่างๆ ที่มาจากนอกกโลก
อุกกกาบาต ดาวตตก ซึ่งมีขนาดตต่างๆ เมื่อเข้าามายังชั้นบรรยากาศของโลลกจะเกิดการเเสียดสีกับอากกาศที่ห่อหุ้มโลลก
จนถึงชั้นมีโซซสเฟียร์ที่ยังคงมี
ค แก๊สต่างๆๆ เป็นองค์ปรระกอบ ทําให้ห้วัตถุนอกโลกกเหล่านั้นเกิดดการลุกไหม้จนหมดไปหรื จ อ
อมี
ขนาดเล็กลงงก่อนตกลงสู่พืพ้นื ผิวโลก มิฉะนั้นแล้วมนุษษย์และสิ่งมีชวิวี ติ อื่นๆ จะได้รัรบั อันตรายจาากสิ่งดังกล่าวไได้
7
73

แแบบฝึกหัหด คววามสําคัญของออากาศแและบรรรยากาศศ
ชื่อ – นามสกุล _______________________________________________________ ชั้น มม.1/______ เลขที
เ ่ _______

คําสั่ง ให้นักกเรียนวิเคราะะห์และอธิบายยเหตุผลที่เกิดดขึ้น ถ้าไม่มีอากาศและบรร


า รยากาศตามหัหัวข้อต่อไปนี้
1. การดํารงชีวิตของพืชสีเขียว ผลที่เกิดขึ้นถ้าไม่มอีอากาศและบรรรยากาศ คือ
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
2. การดํารงชีวิตของสัตว์ ผลที่เกิดขึ้นถ้าไม่มีอากาศศและบรรยากกาศ คือ
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
3. อุณหภูมขิของอากาศในชีวิตประจําวัน ผลที่เกิดขึ้นนถ้าไม่มีอากาาศและบรรยากาศ คือ
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
4. การได้ยนินเสียงของมนุษย์
ษ และสัตว์ ผลที่เกิดขึ้นถ้้าไม่มีอากาศแและบรรยากาศ คือ
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
5. โรคที่เกี่ยวข้องกับแสงออาทิตย์ ผลทีทีเ่ กิดขึน้ ถ้าไม่มมีีอากาศและบบรรยากาศ คือ
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
6. วัตถุต่างๆๆ จากนอกโลกก เช่น อุกกาบบาต ดาวตก ผลที่เกิดขึ้นถ้าไม่มีอากาศแและบรรยากาาศ คือ
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
74

2 อุณหภูมิ ความชืน้ และความกดอากาศ


สภาพอากาศบนพื้นผิวโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา รวมทั้งการเกิดปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่างๆ
นั้น เป็นผลอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ความชื้น และความกดอากาศ ปัจจัยเหล่านี้จะเกิดการผันแปร
ไปตามลักษณะภูมิประเทศที่แตกต่างกันบนพื้นผิวโลกนั้นเอง

2.1 อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศในแต่ละบริเวณแตกต่างกันและในช่วงเวลาตั้งแต่เวลาเช้าถึงเย็นก็จะแตกต่างกัน ด้วยซึ่ง
ส่วนใหญ่ช่วงเวลาเช้าอากาศจะเย็นกว่าช่วงสายและช่วงเวลาบ่าย การบอกระดับความร้อนเย็นของอากาศทราบได้จาก
การรายงานอุณหภูมิของอากาศที่ใช้เครื่องมือวัด คือ “เทอร์มอมิเตอร์” ซึ่งเกณฑ์อุณหภูมิของประเทศไทยในการแปล
ความหมายเกี่ยวกับสภาพของอุณหภูมิของอากาศในแต่ละแห่ง ดังนี้
ความหมายของสภาวะอากาศ ระดับอุณหภูมิของอากาศ
อากาศหนาวจัด ต่ํากว่า 8.0°C
อากาศหนาว อยู่ระหว่าง 8.0°C - 15.9°C
อากาศเย็น อยู่ระหว่าง 16.0°C - 22.9°C
อากาศร้อน อยู่ระหว่าง 35.0°C - 39.9°C
อากาศร้อนจัด ตั้งแต่ 40°C ขึ้นไป
สิ่งที่นักเรียนควรทราบเกี่ยวกับอุณหภูมิของอากาศ มีดังนี้
1. อุณหภูมิของพื้นดินและพื้นน้ํา
พื้นผิวโลกมีทั้งพื้นดินและพื้นน้ํา ซึ่งจะสามารถรับพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ไว้ได้ไม่เท่ากัน พื้นดิน
สามารถรับและคายความร้อนได้ดีกว่าพื้นน้ํา เนื่องจากโมเลกุลของน้ําสามารถเคลื่อนที่ไปได้อย่างอิสระมากกว่าโมเลกุล
ของดิน ฉะนั้นน้ําจึงสามารถกระจายความร้อนในปริมาตรที่มากกว่าดิน ดั้งนั้นเมื่อพื้นดินและพื้นน้ําได้รับพลังงานความ
ร้อนในเวลาที่เท่ากันๆ กัน พื้นดินจะมีอุณหภูมิสูงกว่าพื้นน้ํา
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิบนพื้นดินจะเกิดขึ้นที่พื้นผิวดินมากกว่าใต้ดิน ดังนั้นใต้ผิวดินที่อยู่ลึกลงไปจึงมีการ
เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิน้อยมาก จึงจะพบว่า น้ําในบ่อใต้ดินจะเย็นกว่าน้ําที่ผิวดิน และจะพบว่าในช่วงฤดูร้อนน้ําจะ
อุ่นขึ้นเพราะน้ําสะสมความร้อนเอาไว้ และเมื่อถึงฤดูหนาวน้ําจะระเหยและคายความร้อนออกมาอย่างช้าๆ ดังนั้น
นักเรียนจะรู้สึกอบอุ่นเมื่ออยู่ใกล้ทะเลหรือทะเลสาบในฤดูหนาว
2. ปัจจัยที่ทําให้อุณหภูมิของอากาศ ณ บริเวณหนึ่งสูงหรือต่ํา ได้แก่
2.1 รังสีจากดวงอาทิตย์ โลกได้รับรังสีอัลตราไวโอเลตหรือรังสียูวีจากดวงอาทิตย์ ซึ่งพื้นผิวโลกจะดูดกลืน
รังสียูวีไว้ แล้วคายพลังงานที่ได้รับออกมาในรูปพลังงานความร้อนหรือรังสีอินฟราเรด ถ้าพื้นผิวโลกได้รับรังสียูวีมาก
ความร้อนที่คายออกมาจะมากด้วย ทําให้อากาศที่อยู่เหนือพื้นผิวโลกบริเวณนั้นมีอุณหภูมิสูง แต่ถ้าพื้นผิวโลกได้รับรังสี
ยูวีจากดวงอาทิตย์น้อย พลังงานที่คายออกมาจะน้อย อากาศบริเวณนั้นอุณหภูมิจะต่ํา
2.2 ระดั บความสู งของพื้นที่ โดยทั่วไปพบว่าอุณหภูมิของอากาศจะลดลง 6.5°C เมื่ อสูงจากพื้นดิน
1 กิโลเมตร ดังนั้นยอดเขาที่สูงจากระดับน้ําทะเล 2 กิโลเมตร หรือ 2,000 เมตร อุณหภูมิของอากาศจะต่ํากว่าอุณหภูมิที่
ระดับน้ําทะเลเท่ากับ 13°C
7
75

22.3 ตําแหน่งบนโลก
ง พื้นที่บริเวณใกกล้เส้นศูนย์สูตรได้
ต รับแสงออาทิตย์มากกวว่าบริเวณอื่น ดังนั้นอุณหภภูมิ
ของพื้นที่บริรเวณเส้นศูนย์สูสตรจึงสูงกว่าบริเวณอื่นโดยยเฉพาะบริเวณขั้วโลก อุณหภูมิของอากกาศจะต่ํา
22.4 ลักษณะภูภูมิประเทศ บริเวณหุบเขขาอากาศถ่ายเทได้ ย น้อย อุณหภู ไ ทะเล อากาศ
ณ มิจึงสูง บบริเวณที่มีป่าไม้
จะถ่ายเทได้้ดี ซึ่งอากาศจจะเป็นตัวพาความร้อนที่ดีจจะพัดพาความมร้อนไปตามกการเคลื่อนที่ข องอากาศ บริริเวณทะเลทราย
ในเวลากลางงวันอากาศจะะร้อนจัด เนื่องจากได้รับรังงสีและพลังงานจากดวงอาททิตย์มาก และะบริเวณที่เป็นป่ น าไม้พืชจะดดูด
พลังงานจากกแสงอาทิตย์ไปใช้ในกระบววนการสังเคราาะห์ด้วยแสง ทํทาให้อุณหภูมิมบิ ริเวณนั้นต่าํ ากว่าบริเวณทีที่ไม่มีต้นไม้
22.5 ปริมาณเเมฆบนท้องฟ้ฟ้า ท้องฟ้าาที่มีเมฆมาก เมฆจะดูดกลืลืนและสะท้ออนรังสีจากดววงอาทิตย์ออกกสู่
บรรยากาศ ทําให้อุณหภูมิมิของโลกไม่สงมาก ู
3. เครื่องมือที่ใช้วัดอุณหภูมของอากาศ
ิข
ด ณหภูมิที่นิยมใช้ในปัจจุบบัน ได้แก่ เทอร์มอมิเตอร์ มีหน่วยวัดเป็ป็นองศาเซลเซียส ซึ่งมีหลาย
เครืรื่องมือที่ใช้วัดอุ
รูปแบบ ดังนี้
3.1 เทอรร์มอมิเตอร์ มีลักษณะเปป็นหลอดแก้วปลายปิ ว ด ภาายในบรรจุขอองเหลวที่เรียกว่
ก า ปรอท การก
เปลี่ยนแปลงงอุณหภูมิมีผลทํ ล าให้ระดับปรอทเปลี่ยนแปปลงไป เมื่ออากาศอบอุ่นปรอทจากกระเปปาะที่ก้นหลอดดแก้วจะขยายตัว
สูงขึ้น ซึ่งจะเห็นของเหลวภภายในหลอดแแก้วเคลื่อนที่ขขึึ้นมา และเมืออากาศเย็
่อ นลงงปรอทจะหดตตัว นักเรียนก็จะเห็นของเหลว
หดตัวลงไป

3.2 เทอร์มอมิเตออร์วัดอุณหภูมมิิ สูงสุด – ต่าสุ


ํา ด โดยมีวิธีธีใช้
ดังนี้
- กดปุ่มเพื่อให้
อ ดัชนีติดกัับผิวปรอทหรืรือใช้แม่เหล็กที ก ่ติดไว้ด้านลล่าง
ดูดแท่งงดัชนีให้ติดกับผิ
บ วปรอททั้ง 2 ด้าน
ห มิสูงขึ้นปรอทจะขยายตัตัวดันแท่งดัชนีขึ้นไป แต่เมื่อ
- เมื่ออุณหภู
อุณหภูภูมิต่ําลงปรอททจะหดตัวลง แต่ แ ดัชนีด้านอุณณหภูมิสูงสุดจะไม่
จ เคลื่อนทีี่ลง
มา และเมื่ออุณหภูมิมิของอากาศลดต่ําลงปรอท จะหดตัวลงดัันปรอททางด้้าน
อุณหภูภูมิต่ําสุดให้เคลืลื่อนที่ขึ้นไปซึงจะดั
่ง นดัชนีขึ้นนไปด้วย เมื่อไปอยู
ไ ่ตําแหน่งใด ง
จะอ่านนอุ ณหภูมิ ต่ําสุ ดได้ วิธี อ่านอุ น ณหภู มิให้ ้อ่ านที่ปลายดดัชนีที่ ติดกับผิ ว
ปรอท
ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชันมั
น้ ธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

3.3 เทอร์มอกราฟ เป็นเครื่องมืออที่ใช้วัดอุณหภภูมิและสามารถบันทึกอุณ หภูมิที่เปลี่ยนแปลงในเวลา


น าที่
ต่อเนื่องกันไได้โดยอัตโนมัติติ เทอร์มอมิเตอร์
ต อีกชนิดหนึนึ่งที่ใช้วัดอุณหภู
ห มิในที่ร่ม โดยตั
โ วเทอร์มออมิเตอร์จะอยูยู่ในกําบังเรียกว่
กา
เรือนเทอร์มออมิเตอร์แบบสสตีเวนสัน อุณหภู
ณ มิที่วัดได้มมีีหน่วยเป็น องงศาเซลเซียส
76

4. การรายงานอุณหภูมิของอากาศ
ที่มา : https://legatool.com/th/sk-7210-00-thermohygrograph-sigma-ii

3.1 อุณหภูมิประจําวัน
อุณหภูมิสูงสุดของวัน – อุณหภูมิต่ําสุดของวัน

3.2 อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน

อุณหภูมิสูงสุดของวัน + อุณหภูมิต่ําสุดของวัน
2

3.3 อุณหภูมิเฉลี่ยของเดือน
อุณหภูมิค่าเฉลี่ยแต่ละวันรวมกัน
จํานวนวันในเดือนนั้น

3.4 อุณหภูมิเฉลี่ยของปี
อุณหภูมิค่าเฉลี่ยแต่ละเดือนรวมกัน
12
77

2.2 ความชื้นของอากาศ
ความชื้นของอากาศ คือ ปริมาณไอน้ําในอากาศซึ่งได้มาจากการระเหยของน้ําจากแหล่งต่างๆ การคายน้ําของ
พืช และกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ บริเวณพื้นที่แห้งแล้ง ทะเลทราย มีต้นไม้น้อย จะมีความชื้นของอากาศต่ํา ส่วน
บริเวณพื้นที่มีป่าไม้ ใกล้แหล่งน้ํา จะมีความชื้นของอากาศสูง ซึ่งการระเหยมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของอากาศ
เพราะอากาศที่มีอุณหภูมิสูงจะสามารถรับปริมาณไอน้ําได้มากกว่าอากาศที่มีอุณหภูมิต่ํา ถ้าปริมาณไอน้ําในอากาศมีค่า
น้อยกว่าปริมาณไอน้ําสูงสุดที่อากาศรับไว้ได้ในขณะนั้น เรียกว่า อากาศไม่อิ่มตัว ส่วนอากาศที่มีไอน้ําอยู่ในปริมาณสูงไม่
สามารถรับไว้ได้อีก เรียกว่า อากาศอิ่มตัว
การบอกปริมาณของไอน้ําในอากาศนิยมเรียกกันว่า ความชื้นของอากาศ ซึ่งสามารถสังเกตความชื้นของอากาศ
ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวันได้ง่ายๆ เช่น วันใดอากาศมีความชื้นมาก น้ําระเหยได้น้อย ผ้าที่ซักตากไว้จะแห้งช้า วันใด
อากาศมีความชื้นน้อย น้ําระเหยได้มาก ผ้าที่ซักไว้ก็จะแห้งเร็ว และถ้าวันใดฝนตก อากาศมีความชื้นมาก ผ้าที่ซักไว้ก็จะ
แห้งช้าขึ้นไปอีก
ถ้าอากาศมีความชื้นสูงหรือมาก หมายความว่า อากาศมีไอน้ําอยู่เป็นปริมาณมาก ถ้าอากาศมีความชื้นต่ําหรือ
น้อย หมายความว่า อากาศมีปริมาณไอน้ําอยู่เป็นปริมาณน้อย ความชื้นของอากาศมีความหมายใน 2 ลักษณะ คือ
1. ความชื้นสัมบูรณ์ (Absolute humidity)
2. ความชื้นสัมพัทธ์ (Relative humidity)
7
78

 
กิจจกรรม ความสัมพันั ธ์ระหว่างออุณหภูมิของงอากาศกับปปริมาณไอน้น้ําในอากาศศ

ชื่อ – นามสกุล _______________________________________________________ ชั้น มม.1/______ เลขที


เ ่ _______

จุดประสงค์กการเรียนรู้
เพือ่อศึกษาความสัสัมพันธ์ระหว่างอุ
า ณหภูมิขอองอากาศกับปริ
ป มาณไอน้ําในนอากาศ
วัน – เดือน – ปีที่ทํากิจกรรม

___________ / _______________________ / ___________
วิธีการทํากิจจกรรม
ศึกษษากราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมมาณไอน้ําอิ่มตัตวในอากาศกัับอุณหภูมิ แลล้วตอบคําถามมต่อไปนี้

คําถามหลังกิจกรรม

1.. ปริมาณไอน้าอิ
ํา ่มตัวในอากกาศมีความสัมพั
ม นธ์กับ
อุณหภูมิของอากาศอย่างงไร _________________
_______________________________________
_______________________________________
2.
2 ที่อุณหภูมของอากาศเท่
ขิ าากับ 30°C มีปริ
ป มาณไอน้ํา
อิ่มตัวเท่ากับ __________ และที่อุณหภู
ห มิเท่ากับ
20°C มีปริมาณไอน้
ม ําในออากาศเท่ากับ _________
3 เป็น 20°C
3. ถ้าอุณหภูมิมขิ องอากาศลลดต่ําลงจาก 30°C
จะมีผลอย่างไร _____________________________
________________________________________
________________________________________

จากกาารทํากิจกรรมมจะพบว่า.. .
ปริมาณไอนน้ําอิ่มตัวของออากาศขึ้นอยู่กกัับอุณหภูมิ (แแปรผันตรงกับอุ
บ ณหภูมิ) โดดย.. .
“ถ้าอุณหภูมิมสิ งู ปริมาณไออน้ําอิ่มตัวจะมีมีมาก ถ้าอุณหภู
ณ มิต่ําปริมาณไอน้
า ําอิ่มตั วจะมีค่าน้อยลง”

79

1. ความชื้นสัมบูรณ์ (Absolute humidity)


หมายถึง อัตราส่วนระหว่างมวลของไอน้ําในอากาศกับปริมาตรของอากาศ ณ อุณหภูมิเดียวกัน การวัด
ความชื้นสัมบูรณ์มีหน่วยวัดเป็นกิโลกรัมของไอน้ําในอากาศต่ออากาศ 1 ลูกบาศก์เมตร หรืออาจใช้หน่วยวัดเป็นกรัมต่อ
ลูกบาศก์เมตร โดยใช้สูตร

ปริมาณของไอน้ําที่มีอยู่จริงในอากาศ
ความชืน้ สัมบูรณ์ =  
ปริมาตรของอากาศ

M
หรือ H =  
V

ตัวอย่างที่ 1 อากาศที่ตําบล ก มีอุณหภูมิ 25°C มีปริมาตร 8 ลูกบาศก์เมตร มีไอน้ําอยู่ 40 กรัม


จงหาความชื้นสัมบูรณ์ของอากาศที่ตําบลแห่งนี้
โจทย์กําหนด อุณหภูมิ 25°C มีปริมาตร 8 ลูกบาศก์เมตร มีไอน้ําอยู่ 40 กรัม
โจทย์ถาม จงหาความชื้นสัมบูรณ์ของอากาศที่ตําบลแห่งนี้
ปริมาณของไอน้ําในอากาศ
จากสูตร ความชื้นสัมบูรณ์ =
ปริมาตรของอากาศ
40 g
แทนค่า ความชื้นสัมบูรณ์ =
8 m3
ความชื้นสัมบูรณ์ = 5 g/m3
สรุป ความชื้นสัมบูรณ์ของอากาศที่ตําบล ก คือ 5 g/m3
(หมายความว่า ในอากาศปริมาตร 1 m3 จะมีมวลของไอน้ําอยู่ 5 g)
80

ตัวอย่างที่ 2 อากาศที่ตําบล ก มีอุณหภูมิ 25°C มีปริมาตร 10 ลูกบาศก์เมตร มีไอน้ําอยู่ 60 กรัม


จงหาความชื้นสัมบูรณ์ของอากาศที่ตําบลแห่งนี้
โจทย์กําหนด _____________________________________________________________
โจทย์ถาม _____________________________________________________________
ปริมาณของไอน้ําในอากาศ
จากสูตร ความชื้นสัมบูรณ์ =
ปริมาตรของอากาศ

แทนค่า ความชื้นสัมบูรณ์ =  

ความชื้นสัมบูรณ์ = ___________

สรุป _______________________________________________________________
_______________________________________________________________

2. ความชืน้ สัมพัทธ์ (Relative humidity)


หมายถึง สัดส่วนของปริมาณไอน้ําที่มีอยู่จริงในอากาศขณะนั้นต่อปริมาณไอน้ําอิ่มตัว ที่อุณหภูมิและ
ปริมาตรของอากาศเดียวกัน โดยทั่วไปแล้วนิยมที่จะแสดงค่าของความชื้นสัมพัทธ์เป็นร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์
โดยถ้าความชื้นสัมพัทธ์น้อย เหงื่อระเหยได้เร็วมาก จะทําให้รู้สึกหนาว แต่ถ้าความชื้นสัมพัทธ์มาก
เหงื่อระเหยได้น้อย จะทําให้รู้สึกอึดอัด “ดังนั้น.. . อากาศที่ทําให้รู้สึกสบายควรมีความชื้นสัมพัทธ์ที่เหมาะสม คือ
ความชื้นสัมพัทธ์ประมาณ 60%”
เช่น

อากาศมีความชื้นสัมพัทธ์ 80%
หมายถึง อากาศปริมาตร 1 m3 มีไอน้ําอยู่ 80 กรัม และจะรับไอน้ําได้อีก 20 กรัม

สามารถหาค่าความชื้นสัมพัทธ์ได้โดย

ปริมาณไอน้ําที่มีอยู่จริงในอากาศ
ความชืน้ สัมพัทธ์ =  x 100
ปริมาณไอน้ําอิ่มตัวที่อุณหภูมิและปริมาตรเดียวกัน
81

ตัวอย่างที่ 1 ที่อุณหภูมิ 30°C มีไอน้ําอยู่จริงในอากาศ 20 g/m3 ถ้าอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ํา 25 g/m3


จงหาความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศ
โจทย์กําหนด ที่อุณหภูมิ 30°C มีไอน้ําอยู่จริงในอากาศ 20 g/m3
โจทย์ถาม อากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ํา 25 g/m3 จงหาความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศ
ปริมาณไอน้ําที่มีอยู่จริงในอากาศ
จากสูตร ความชื้นสัมพัทธ์ = x 100
ปริมาณไอน้ําอิ่มตัวที่อุณหภูมิและปริมาตรเดียวกัน

20 g
แทนค่า ความชื้นสัมพัทธ์ = x 100
25 g

ความชื้นสัมพัทธ์ = 80%

สรุป ความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศ คือ 80%

ตัวอย่างที่ 2 ที่อุณหภูมิ 25°C มีไอน้ําอยู่จริงในอากาศ 10 g/m3 ถ้าอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ํา 25 g/m3


จงหาความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศ
โจทย์กําหนด _____________________________________________________________
โจทย์ถาม _____________________________________________________________
ปริมาณไอน้ําที่มีอยู่จริงในอากาศ
จากสูตร ความชื้นสัมพัทธ์ = x 100
ปริมาณไอน้ําอิ่มตัวที่อุณหภูมิและปริมาตรเดียวกัน

แทนค่า ความชื้นสัมพัทธ์ = x 100

ความชื้นสัมพัทธ์ = __________

สรุป ___________________________________________________________________
8
82

เครื่องมือวัดดค่าความชื้นสัสมพัทธ์

ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2


เครืรื่องมือวัดค่าความชื้นสัมพัทธ์
ท มี 2 ชนิด ดังนี้
1. ไไซครอมิเตอร์ร์
ปร ะกอบด้วยเททอร์มอมิเตอรร์แบบกระเปปาะเปียกและะกระเปาแห้ง เทอร์มอมิเ ตอร์
กระเปาะแห้ห้งเป็นเทอร์มอมิเตอร์แบบบธรรมดา เทออร์มอมิเตอร์กระเปาะเปี ก ยกจะเป็
ก นเทอร์ร์มอ-
มิเตอร์ที่กระะเปาะหุ้มด้วยผ้ ่อ ผ้าซับน้ําเปีปียก
ย าชื้นที่มีปลายอีกด้านหนึนึ่งจุ่มในแก้วที่มีน้ําอยู่ เพือให้
ตลอดเวลา

วิธีหาค่าควาามชื้นสัมพัทธ์ธจากไซคลอมิมิเตอร์ จากตตารางแสดงค่าความชื
า น้ สัมพั
ม ทธ์เป็นเปออร์เซ็นต์

ที่มา : หนังสือสื่อการเเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

ตัวอย่างเช่นน... . . กําหนดดให้อุณหภูมจากกระเปาะแ
ิจ แห้ง คือ 27°CC และอุณหภูมิมจากกระเปาาะเปียก คือ 23°C 2
วิธีการคํานววณหาค่าร้อยละของความ
ย มชื้นสัมพัทธ์
1. ใให้อ่านเทอร์มอมิ
ม เตอร์กระะเปาะแห้งว่าามีอุณหภูมิเท่ทาไร แล้วนําไปเที ไ ยบในตาารางว่าอยู่ช่องไหน เช่น จาก
ตัวอย่างอ่านนค่าได้ 27°C จะอยู
จ ่ในตารางช่อง 25 – 229 (แนวตั้ง)
2. ใให้อ่านเทอร์มอมิ
ม เตอร์กระเเปาะเปียกว่ามีอุณหภูมิเท่าไร า เช่น จากตัตัวอย่างอ่านค่ าได้ 23°C
3. หหาผลต่างของงอุณหภูมิจากเทอร์มอมิเตออร์ทั้ง 2 อัน ว่าเป็นเท่าไร เชช่น จากตัวอยย่างจากในข้อทีท่ 1 และข้อที่ 2
จะได้ผลต่างงของอุณหภูมิจากเทอร์
จ มอมิมิเตอร์ทั้งสอง คือ 27 – 23 เท่ากับ 4°C (แนวนอน)
4. ใให้ดูตัวเลขตรงตําแหน่งที่แนวตั้งในข้อที่ 1 และแนวนนอนในข้อที่ 3 ว่าตัดกันเท่าไไร
5. ซึ่งจากตัวอย่างจะได้
า ค่าตัวเลขตรงตํ
เ าแหนน่งที่แนวทั้งสองตัดกัน คือ 71 จังนั้นควาามชื้นสัมพัทธ์จึงมีค่า 71%
8
83

จากกตารางจะพบบว่า... . เมื่อผลลต่างของอุณ
ณหภูมิเทอร์มอมิ
อ เตอร์กระเปปาะเปียกกระะเปาะแห้งยิงมี
่ง ค่ามากขึ้นค่า
ความชื้นสัมมพัทธ์ก็จะยิ่งมีค่าน้อยลง
2. ไไฮกรอมิเตอร์ร์แบบเส้นผม

ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนร้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2


เป็นนเครื่องมือวัดความชื
ด ้นสัมพัพทธ์ของอากาาศที่ใช้เส้นผมมที่สะอาด ปรราศจากไขมัน
ของมนุษย์ ออาจใช้เส้นผมมเส้นเดียวหรืรือหลายเส้น โโดยอาศัยหลัักการหดตัวและยื แ ดตัวของง
เส้นผลเมื่อคความชื้นเปลี่ยนแปลงไป

เมื่ออความชื้นสัมพัพทธ์สูง เส้นผมมจะยืดตัวยาววขึ้น แต่เมื่อใดดที่ความชื้นสััมพัทธ์ต่ํา เส้น
ผมจะหดตัววลง ซึ่งเส้นผมนี้จะถูกนําไปเชื ไ ่อมต่อกัับเข็มชี้ ทําใหห้สามารถอ่านค่าความชื้ น
สัมพัทธ์ได้จาากหน้าปัด
แต่ถถ้าเครื่องมือชนิ
ช ดนี้มีการแสสดงค่าความชืชื้นสัมพัทธ์บนกระดาษกรา
น าฟ จะเรียกว่า
ไฮกรอกราฟฟ

ถ้าความชืชื้นสัมพัทธ์เท่ากั
า บ 100% ออุณหภูมิขณะนนั้นจะเรียกว่า อุณหภูมิจุดดน้ําค้าง คือ ไอน้
ไ ําใน
อากาาศจะเริ่มควบแน่นเป็นละอองน้ําเล็กๆ
8
84

 
กิจจกรรม คความชืนสั
้น มพัทธ์
ชื่อ – นามสกุล _______________________________________________________ ชั้น มม.1/______ เลขที
เ ่ _______

จุดประสงค์กการเรียนรู้
เพือ่อสามารถหาคความชื้นสัมพัทธ์
ท โดยใช้ไซครรอมิเตอร์ได้
วัน – เดือน – ปีที่ทํากิจกรรม

___________ / _______________________ / ___________
วิธีการทํากิจจกรรม
1. นนําไซครอมิเตอร์ไปวางที่บริเวณใดบริเวณ ณหนึ่ง บันทึกอุณหภูมิจากเเทอร์มอมิเตออร์กระเปาะเปียก และ
กระเปาะแห้ห้ง
2. หหาผลต่างระหหว่างอุณหภูมของเทอร์
ิข มอมิมิเตอร์กระเปาาะเปียก และกกระเปาะแห้ง
3. นนําค่าผลต่างทีที่ได้ไปเทียบหาค่าความชื้นสสัมพัทธ์จากตารางแสดงค่าความชื้นสัมพั ทธ์
ตารางบันทึกผลกิจกรรมม
อุณหภภูมิ ผลต่างของอุ
ง ณหภูมมิิ ค่าความมชืน้ สัมพัทธ์
บริเวณ
ณที่ตรวจวัด
กระเเปาะแห้ง กระเปาะเปียก
ย (°C) (ร้อยละ)

คําถามหลังกิิจกรรม
1. บริเวณ _____________________________________ มีค่าคววามชื้นสัมพัทธ์มากที่สุด คือ ร้อยละ ______________
2. บริเวณ _____________________________________ มีค่าคววามชื้นสัมพัทธ์น้อยที่สุด คือ ร้อยละ ______________
3. ถ้าบริเวณ
ณทีต่ รวจวัดต่างกั
า นค่าความชื้นสัมพัทธ์ที่ววััดได้ต่างกันหรื
ห อไม่ _____________ อยย่างไร _________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
4. ถ้าบริเวณ
ณทีต่ รวจวัดค่าความชื
า ้นสัมพัพทธ์เป็นบริเวณ
ณเดียวกัน แตต่เวลาที่ตรวจววัดต่างกัน ค่าาความชื้นสัมพัทธ์จะต่างกัน
หรือไม่ ______________ อย่างไร __________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
5. สรุปผลกาารทํากิจกรรมม ____________________
_______________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
8
85

แแบบฝึกหัหด ความมชืน้ ของงอากาศศ


ชื่อ – นามสกุล _______________________________________________________ ชั้น มม.1/______ เลขที
เ ่ _______

คําสั่ง จงเติติมคําหรือข้อความลงในช่
ค องว่
ง างให้ถูกต้อง
1. อากาศที่ตตําบล ก มีไอนน้ําอยู่มากจนไไม่สามารถรับบไอน้ําเข้าไปแแทรกในอากาศศได้อีก เรียกออากาศในขณะะนั้นว่า
_____________________________________________________________________________________________
2. ห้องเรียนนวิทยาศาสตร์ห้องหนึ่งกว้าง 3 เมตร ยาวว 5 เมตร สูง 3 เมตร ถ้าขณ m3
ณะนั้นมีอากาาศมีความชื้นสัมบูรณ์ 5 g/m
จะมีไอน้ําาแทรกอยู่ในอากาศเท่ากับ __________________________________________
_______________________
3. ถ้ามวลขอองไอน้ําในอากกาศภายในห้องเรี
อ ยนเท่ากับบมวลของไอน้น้ําในอากาศอิมตั
ม่ วที่อุณหภูมมิิ และปริมาตรรเดียวกัน จะมีมี
ค่าความชืชื้นสัมพัทธ์เท่ากั
า บ _______________________________________________________________________
4. ก่อนฝนจะตก อากาศร้ร้อนอบอ้าว เหหนียวตัว เหงื่ออระเหยช้า แลละรู้สกึ อึดอัด เนื่องมาจาก _____________________
____________________________________________________________________________________________
5. ปัจจัยสําคคัญที่ทําให้อากาศมีความชื้นอยู่สมอ คือ _____________ เนื่องจากก _______________________________
6. ที่อุณหภูมมิิแห่งหนึ่ง ถ้าความแตกต่
า างของอุณหภูมมิิจากเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปียกกับกรระเปาะแห้งต่ตางกันมากขึน้
ความชื้นสัมพัทธ์จะมีค่ามากขึ้นหรือน้นอยลง __________________________________________________________
7. นักเรียนททราบค่าความมชื้นสัมพัทธ์ของอากาศได้
อ โดดยการคํานวณ
ณค่าจาก __________________________________
____________________________________________________________________________________________
8. ให้นักเรียยนพิจารณาภาาพ แล้วตอบคคําถามว่า ก , ข และ ค คืออะไร

ที่มา : หนังสือสื่อกการเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2


8
86

22.3 ความกดดอากาศ
อากกาศเป็นสสารร มีลักษณะเป็ป็นแก๊ส และมีมีน้ําหนัก สามมารถออกแรงกระทําต่อสิ่งงต่างๆ ที่อยู่บนผิวโลกและออยู่
ในบรรยากาาศของโลก นัักเรียนจะรู้สกว่ ึก ามีอากาศก็ก็ต่อเมื่อมีลมพพัดมากระทบบกับตัว โดยปปกติแล้วน้ําหนนักของอากาศศมี
มาก แต่นักเเรียนจะไม่ค่อยรู้สึกเพราะวว่ามีน้ําหนักอาากาศกดดันรออบๆ ตัว ทั้งนี้อาจเนื่องจากกความเคยชินของตั น วนักเรียน

นอกจากนี้อากาศยังมีแรงงดัน ซึ่งแรงดัันของอากาศจจะกระทําต่อสิส่งต่างๆ ที่อยู่บนผิวโลก นั กเรียนสามารรถสังเกตแรงดดัน
ของอากาศไได้ เมื่ออกแรงงเป่าลูกโป่งหรืรือสูบยางรถยยนต์ อากาศทีที่สูบเข้าไปจะทําให้ลูกโป่งแและยางรถยนนต์พองโตขึ้น ถ้า
นั ก เรี ย นเป่ าาลมหรื อ สู บ ลมเข้
ล า ไปมากกจากทํ า ให้ ลลูู ก โป่ ง และยาางแตกได้ เรียกแรงดั น อาากาศนี้ ว่ า ความกดอากาาศ
(Air pressuure)
การรพิจารณาเกี่ยวกั
ย บแรงดันอากาศ
อ นักกวิทยาศาสตร์ร์ได้ทําการทดลองแล้วพบวว่า ค่าความกดดอากาศหรือค่า
อ บแรงดันนั้น หรือ อัตราาส่วนของแรงดันต่อหน่วยพืพื้น
ความดันอากกาศ คือ ค่าแรรงดันของอากกาศต่อหนึ่งหนน่วยพื้นที่ที่รองรั
ที่ตั้งฉากที่แรรงดันนั้นกระททํา

จากรูปเป็นการแสดงบริ
น ริเวณใดๆ ซึ่งมี ขนาดพื้นทีเป็่เ น A และะ F
เป็นแรรงดันที่กระทําต่
า อพื้นที่ A ในทิศทางที่ตตัั้ งฉากพื้นที่ A ถ้าให้ P แททน
ความดัดันของพื้นที่ A จะได้ว่า

ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
ฐ วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

คความดันอากาศ = แรงดันอากาาศ หรือ


P = F
พื้นที่ A

โดยย F มีหน่นวยเป็น นิวตัน


A มีหน่นวยเป็น ตารางเมตร
P มีหน่นวยเป็น นิวตัน/ตารางเมตตร หรือ พาสคัคัล หรือ บาร์
8
87

สิ่งที่นักเรียนควรรทราบเกี่ยวกับความดั
บ นอากกาศ คือ
1. คความดันของงอากาศที่กระะทําต่อพื้นผิววโลก โ
จจะวัด ที่ร ะดับน้
บ ํา ทะเล มีค่คา เท่ ากั บ 7660 มิ ล ลิ เ มตรรของ
ปรอท หรื อ 76 เซน ติ เ มตรของงปรอท เรี ยยกว่ า ความมดั น
1 บรรยากาศ (1 atmospphere หรือ 1 atm) ซึ่งได้จากการบบรรจุ
ปรอทลงในนหลอดแก้ ว ที่ ป ลายหลอดดด้ า นหนึ่ ง ปิ ด ความยาววของ
หลอดแก้วมมากกว่า 7600 มิลลิเมตร แล้ แ วนําไปคว่ําาลงในอ่างที่บรรจุ บ
ปรอท ระดับบปรอทในแก้วจะลดลง
ว วัดความสูงจากรระดับปรอทในนอ่าง
ที่บรรจุปรอททได้ 760 มิลลิเมตร ดังรูป

หน่ ว ยวั ด ความดั


ค น ขอองอากาศ ออาจมี ห น่ ว ย เป็ น
บรรยากาศ พาสคัล นิวตััน/ตารางเมตร หรือ บาร์ ซึ่งเปรียบเทียบกัน ที่มา : หนังสือสื่อการเรียยนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึ
ย กษาปีที่ 1 เล่ม 2

ได้ดังนี้

1 บรรรยากาศ = 760 มิลเมตรปรอท


เิ (m
mmHg)
= 1.013 x 105 นิวตันต่อตารางเมตรร
= 1.013 บาร์

= 1.013 x 105 พาสคัล
1 พาสคัล = 1 N/m2
1 บาร์ = 105 N/m
m2

2. เครื่องมือวัดความดันของอากาศ ได้้แก่ บารอมิเตอร์ สร้างขึขึ้นโดยใช้หลักกความแตกต่างของความดดัน


อากาศของสสองบริเวณมีหลายชนิ
ห ด ดังนีน้
22.1 บารอมิเตอร์
ต ปรอทแบบง่าย (Baroometer)
ลักษณะะ เป็นหลอดแก้
น ว
หลักการสร้าง ใช้หลั
ห กการที่อากกาศสามารถดัดันของเหลวใหห้เข้าไปใน
หลอดแก้วได้

ที่มมา : https://sites.googlee.com/site/pm31037por/
8
88

2.2 แอนินิรอยด์บารอมิเตอร์ (Aneeroid Barom


meter)
ลักษณะ เป็นตลับโลหะบาง
บ ภาายในมีอากาศศเพียงเล็กน้อย
หหลักการสร้าง อากาศจะดัดันผิวของตลับโโลหะ เมื่ออากาศเปลี่ยนแปลลง
จะอ่านค่าความดั
า นอากกาศได้จากเข็ข็มชี้บนหน้าปัด
ถ้าความดัดันของอากาศศภายนอกมาากจะดันผิวของ
ตลั บ โลหะให้ ยุ บ ลง แแต่ ถ้ า ความดดั น ของอากาาศ
ภายนอกน้น้อย อากาศภภายในจะดันผิวของตลับโลหหะ
ที่มา : http:///nuclear.rmutphysics.ccom/blog-sci5/?m=201511&paged=2 ขึ้นมา

22.3 แอลติมิเตอร์
ต (Altimeeter)
ลักษณะะ พัฒนามาจากแอ
ฒ อนิรอยด์บารออมิเตอร์ ใช้วัดความสูง
โดยยอ่านค่าจาก หน้าปัดนาฬิฬกาออกมาเป็ปนระดับ
คว ามสู ง ใช้ สํ า หรั บ ติ ด ตั ว นั ก โดดร่ ม แลละใช้ ใ น
เครืรื่องบินเพื่อบออกระดับความมสูงที่เครื่องบินอยูน ่ ห่ า ง
จากกระดับน้ําทะเเล
หลักการสร้าง สร้างขึ
า ้นโดยใช้หหลักการเมื่อคววามสูงเพิ่มขึน้
ควาามดันและควาามหนาแน่นของอากาศจะมีข มีค่า ที่มา : https://commons.wikimedia.org/wiki//
ลดลง File:Altimeter__triple_pointer.png

22.4 บารอกราาฟ (Barograaph)


ลักษณะะ พัฒนามาจากแอ
ฒ ะ สีเข้มชี้ที่มีปปากกาบันทึกความดันอากาศ
อนิรอยด์บารออมิเตอร์ แต่จะมี
ต่อเนื่องกัน ลงบบนกระดาษกรราฟที่หมุนอยูตลอดเวลาด้
่ต ว ยลานนาฬิกา

ที่มา : http://www.swanstoonweather.co.uk/eppingweatherpages/Barograaph.htm
8
89

3. ปปัจจัยที่มีผลตต่อความดันของอากาศ
ข มีดังนี้
33.1 ปริมาณหหรือจํานวนโมมเลกุลของอาากาศ
ถ้ามีจํานวนโมเลกุ
น ลของอากาศมา
ข ก โอกาสที่จะชนผนั
ะ งภาชนนะหรือพื้นผิววก็จะมากขึ้นด้วย ทําให้ความ
ดันอากาศสูง เช่น การเป่าอากาศเข้
า าไปปในลูกโป่ง กาารเติมลมเข้าไปในยางรถยน
ไ นต์
33.2 อุณหภูมิ
ในระบบบปิด อุณหภูมิมมิ ีความสัมพั นธ์กับความดัดันอากาศ กลล่าวคือ เมื่ออุณณหภูมิเพิ่มสูงขึ
ง ้นโมเลกุลของ
อากาศจะมีพพลังงานมากขึขึ้น ทําให้เคลือนที
่อ ่ได้เร็วแลละชนผนังภาชชนะหรือพื้นผิวได้
ว มากขึ้น คความดันของออากาศจึงเพิ่มขึ้น
ตามไปด้วย
ในธรรมมชาติอากาศออยู่ในระบบเปิด ไม่มีขอบเขขต โมเลกุลขอองอากาศที่มีออุุ ณหภูมิสูงหรือมีพลังงานมาก
จะเคลื่อนที่ไได้เร็วและกระะจายตัวออกจจากกันในทางด้านข้างและดด้านบน ทําให้ห้โมเลกุลของออากาศที่ชนพื้นผิวโลกน้อยลง
ทําให้แรงดันนอากาศต่อพื้นที่หรือความมดันอากาศต่ํ า ดังนั้นบนพืพื้นผิวโลกบริรเวณที่มีอุณหหภูมิสูงจึงมีความดั
ค นอากาาศ
น้อยกว่าบริรเวณที่มีอุณหภู
ห มิต่ํา
33.3 ความหนนาแน่นของอาากาศ
จากภาพพจะพบว่า เมือจุ
่ ดเทียนไข แก๊สออกซิเจนภายในแก้วพลาสติ
พ กจะถูกกใช้ไป ทําให้้มีอากาศน้อยลง
เมื่อเทียนไขดับ ไอน้ําซึ่งมีสถานะเป็นแก๊
แ สจะควบแนน่นเป็นหยดน้น้ํา ทําให้ความมหนาแน่นขอองอากาศภายใในแก้วน้อยกกว่า
ความหนาแน่นของอากาาศภายนอกแกก้ว ความดันขของอากาศภาายในแก้วจึงมีค่าน้อยกว่าคความดันของออากาศภายนออก
แก้ว ซึ่งมีคววามดันทุกทิศทาง
ท ทําให้แก้วพลาสติ
ว ก 2 ใใบติดกันได้ ดังภาพ

ที่มา : หนังสือสื่ อการเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตรร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

ความหนนาแน่นของงอากาศมากก ความดันอากาศมาก

90

3.4 ระดับความสูงเหนือระดับน้ําทะเล
ถ้าความสูงจากระดับน้ําทะเลเพิ่มขึ้นทุกๆ ระยะ 11 เมตร ความดันของอากาศจะลดลง 1 มิลลิเมตร
ของปรอท (mmHg) หรือทุกความสูง 1,000 ฟุต ระดับปรอทจะลดลง 1 นิ้ว

การคํานวณหาความสูงจากระดับน้าํ ทะเลของยอดเขาได้ดังนี้

ตัวอย่างที่ 1 เมื่ออยู่บนยอดเขาแห่งหนึ่ง วัดความดันอากาศได้ 600 มิลลิเมตรของปรอท อยากทราบว่ายอดเขาแห่งนี้


อยู่สูงจากระดับน้ําทะเลเท่าใด
วิธีทํา ที่ระดับน้ําทะเล ลําปรอทสูง 760 มิลลิเมตร
ที่ยอดเขา ลําปรอทสูง 600 มิลลิเมตร
∴ ที่ยอดเขาระดับปรอทจะลดลง = 760 – 600 = 160 มิลลิเมตร
ระดับปรอทจะลดลง 1 มิลลิเมตร เมื่อมีความสูง 11 เมตร
ระดับปรอทจะลดลง 160 มิลลิเมตร เมื่อมีความสูง 11 x 160 = 1,760 เมตร
∴ ยอดเขาแห่งนี้อยู่สูงจากระดับน้ําทะเล 1,760 เมตร

ตัวอย่างที่ 2 บอลลูนลอยอยู่สูง 5,500 เมตร จากระดับน้ําทะเล ความดันบรรยากาศขณะนั้นจะมีค่าเท่าใด


วิธีทํา ความสูง 11 เมตร ระดับปรอทจะลดลง 1 มิลลิเมตร
ความสูง 5,500 เมตร ระดับปรอทจะลดลง 5,500 = 500 มิลลิเมตร
11
∴ ความดันบรรยากาศขณะนั้น คือ 760 – 500 = 260 มิลลิเมตรของปรอท
91

แบบฝึกหัด ความกดอากาศ
ชื่อ – นามสกุล __________________________________________________ ชั้น ม.1/______ เลขที่ ______

คําสั่ง จงเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. ความดันอากาศ คือ ________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
2. จงอธิบายลักษณะและวิธีใช้งานของเครื่องมือวัดความดันต่อไปนี้
2.1 บารอมิเตอร์ปรอทแบบง่าย
ลักษณะทั่วไป _________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
ลักษณะการใช้การ ______________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
2.2 แอนิรอยด์บารอมิเตอร์
ลักษณะทั่วไป _________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
ลักษณะการใช้การ ______________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
2.3 แอลติมิเตอร์
ลักษณะทั่วไป _________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
ลักษณะการใช้การ ______________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
2.4 บารอกราฟ
ลักษณะทั่วไป _________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
9
92

ลักษษณะการใช้การ
า ____________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
___________________
_________________________________________________________________________
___________________
3. ปัจจัยที่มีผลต่อความดัดันอากาศมีอะไรบ้าง ______________________________________________________
_________________________________________________________________________ ___________________
_________________________________________________________________________
___________________
_________________________________________________________________________
___________________
4. บอลลูนลลอยสูง 7,700 เมตร จากระะดับน้ําทะเล คความดันอากาาศขณะนั้นจะมีค่าเท่าไร
_________________________________________________________________________ ___________________
_________________________________________________________________________
___________________
_________________________________________________________________________
___________________
_________________________________________________________________________
___________________
_________________________________________________________________________
___________________
_________________________________________________________________________
___________________
5. บนยอดเขขาแห่งหนึ่ง วััดความดันอากาศได้ 480 มิลลิเมตรปรออท จงหาความมสูงจากระดับบน้ําทะเลของยอดเขาแห่งนี้
_________________________________________________________________________ ___________________
_________________________________________________________________________
___________________
_________________________________________________________________________
___________________
_________________________________________________________________________
___________________
_________________________________________________________________________
___________________
_________________________________________________________________________
___________________
_________________________________________________________________________
___________________
_________________________________________________________________________
___________________
_________________________________________________________________________
___________________
93

Note : _________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
94

_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
95

_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
96

1 ลมฟ้าอากาศ
สภาพอากาศเป็นปัจจัยสําคัญที่มีอิทธิพลต่อการดํารงชีวิตของมนุษย์ บริเวณใดมีสภาพอากาศที่รุนแรง เช่น
แห้งแล้งเกินไป หรือหนาวเย็นเกินไป มนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในบริเวณนั้นก็จะดํารงชีวิตอยู่ด้วยความยากลําบาก
การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศเกิดจากปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ เช่น ฝนฟ้าคะนอง พายุ ลูกเห็บ ฯลฯ
เปลี่ ย นแปลงไป ซึ่ ง ปรากฏการณ์ เ หล่ า นี้ ทํ า ให้ ส ภาวะของอากาศแต่ ล ะวั น ณ บริ เ วณหนึ่ ง ในแต่ ล ะช่ ว งเกิ ด การ
เปลี่ยนแปลง สภาวะของอากาศที่เกิดขึ้นประจํา ณ ที่แห่งหนึ่งในช่วงเวลาสั้นๆ นี้ เรียกว่า ลมฟ้าอากาศ (Weather)
ลมฟ้าอากาศเกิดขึ้นได้จะต้องอาศัยสิ่งต่างๆ ดังนี้
1. ดวงอาทิตย์
ความร้อนจากดวงอาทิตย์มีผลต่ออุณหภูมิ อุณหภูมิจะเปลี่ยนไปเป็นสาเหตุของการเกิดปรากฏการณ์ทางลมฟ้า
อากาศ
2. โลก
การหมุนรอบตัวเองของโลกทําให้เกิดกลางวันกลางคืน และการโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลกทําให้เกิดฤดูกาล
ต่างๆ
3. แหล่งน้ําซึ่งทําให้เกิดไอน้ํา
ความร้อนจากดวงอาทิตย์จะทําให้น้ําในแหล่งน้ําต่างๆ ระเหยกลายเป็นไอน้ําลอยขึ้นไปในอากาศ ซึ่งเป็นสาเหตุ
ที่ทําให้เกิดฝน
4. อากาศหรือบรรยากาศ
อากาศเมื่อเคลื่อนตัวจะหอบไอน้ําในอากาศไปด้วย มีผลทําให้เกิดปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศได้
ทั้งดวงอาทิตย์ โลก ไอน้ํา และบรรยากาศนี้เป็นองค์ประกอบที่สําคัญ ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทําให้เกิดปรากฏการณ์
ทางลมฟ้าอากาศ ซึ่งสามารถศึกษาได้จากบทเรียนต่อไป
97

2 เมฆ
น้ําในบรรยากาศมีอยู่ 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ดังนี้
- สถานะแก๊ส ได้แก่ ไอน้ํา ซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า
- สถานะของเหลว ได้แก่ ละอองน้ํา เช่น หมอก
หยดน้ํา เช่น หยดน้ําที่เกาะอยู่ด้านนอกของแก้วน้ําแข็ง หรือน้ําค้างบนหญ้า
- สถานะของแข็ง ได้แก่ ผลึกน้ําแข็งในก้อนเมฆ ลูกเห็บ
สถานะต่างๆ ของน้ําในบรรยากาศ
ไอน้ํา ไอน้ําในบรรยากาศมีอนุภาคเล็กมาก มองไม่เห็นได้ด้วยตาเปล่าเหมือนแก๊สทั่วๆ ไป
ละอองน้ํา เกิดจากไอน้ํากระทบกับความเย็น แล้วควบแน่นเป็นของเหลวขนาดเล็กมาก มองเห็นคล้ายมอง
แต่ไม่สามารถมองเห็นขนาดของอนุภาค
หยดน้ํา เกิดจากไอน้ํากระทบความเย็น แล้วควบแน่นเป็นของเหลวหยดเล็กๆ แล้วรวมกันมีขนาดใหญ่ขึ้น
สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
หมอก เกิดจากไอน้ําบริเวณที่อุณหภูมิของอากาศเท่ากับจุดน้ําค้าง ไอน้ําจะกลั่นตัวเป็นละอองน้ําอยู่ใกล้
พื้นดิน
เมฆ เกิดจากไอน้ําในบรรยากาศระดับสูง ถ้ามีอุณหภูมิของอากาศต่ําจะเปลี่ยนสถานะเป็นละอองน้ําเล็กๆ
และถ้าอุณหภูมิของอากาศต่ํากว่าจุดเยือกแข็ง ไอน้ําจะเปลี่ยนสถานะเป็นผลึกน้ําแข็ง ดังนั้นเมฆจึงประกอบด้วยไอน้ํา
ละอองน้ํา ผลึกน้ําแข็ง และฝุ่นละอองที่แขวนลอยอยู่ในอากาศ เมฆมีหลายชนิด แต่ละชนิดจะมีอนุภาคชนิดใดปนอยู่
มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับระดับความสูงและอุณหภูมิในก้อนเมฆ โดยบริเวณตรงกลางก้อนเมฆจะมีอุณหภูมิสูงกว่า
บริเวณอื่นๆ
ชนิดของเมฆ
เมฆมีหลายชนิด แต่ละชนิดจะมีลักษณะแตกต่างกันไป เช่น เป็นกระจุก เป็นก้อนขนาดเล็ก เป็นก้อนขนาดใหญ่
เป็นริ้ว เป็นแผ่น และอยู่ในความสูงที่ต่างกัน จึงใช้ ระดับความสูง ลักษณะการก่อตัว และ ลักษณะของเมฆในการแบ่ง
ชนิดของเมฆและการเรียกชื่อเมฆ
ชั้นของเมฆ
1. ซีร์โร คือ เมฆระดับสูง มีลักษณะคล้ายขนนก
2. อัลโต คือ เมฆระดับกลาง
ลักษณะของเมฆ
1. คิวมูลัส หือ เมฆเป็นก้อนกระจุก
2. สเตรตัส หรือ เมฆเป็นชั้น
3. นิมบัส หรือ เมฆที่ก่อให้เกิดฝน จะมีสีเทา
9
98

เมฆฆมี 4 ชนิด คือ เมฆระดับสูง เมฆระดับกกลาง เมฆระดดับต่ํา และเมฆก่อตัวในแนนวตั้ง ซึ่งนักอุตุตนิยมวิทยาบบาง


ท่านอาจจะรรวมไว้ในเมฆรระดับต่ํา ดังนี้

ที่มา : หนังสือสื่อการรเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

ลักษษณะท้องฟ้าในแต่
ใ ละวันหรืรือเวลาต่างกันนจะมีปริมาณเมฆต่างกัน ซึงกรมอุ
่ ตุนิยม วิิ ทยาได้ให้ขอมู
อ้ ลเกี่ยวกับ
ลักษณะท้องงฟ้า และปริมาณเมฆ เมื่อให้ท้องฟ้ามีพนื้นที่ 10 ส่วน ดังนี้

ลักษณ ณะท้องฟ้า ปริมาณเมฆ


แจจ่มใส มีเมฆน้อยกว่า 1/10 ของท้ท้องฟ้า
โปร่ง มีเมฆ 1/100 แต่ไม่เกิน 33/10
มีเมฆบางส่วน มากกว่า 3/110 แต่ไม่เกิน 5/10
มีเมฆเป็ปนส่วนมาก มากกว่า 5/110 แต่ไม่เกิน 8/10
มีเมฆมาก
ม มากกว่า 8/10 ถึง 9/110
เมฆเต็ต็มท้องฟ้า 10/10
99

การแบ่งชนิดของเมฆ
นักอุตุนิยมวิทยาแบ่งเมฆออกเป็น 4 ประเภท คือ
1. เมฆชั้นสูง พบที่ระดับความสูง 6,500 เมตร ประกอบด้วยผลึกน้ําแข็งเป็นส่วนใหญ่ เพราะที่ระดับนี้อุณหภูมิ
ต่ํากว่าจุดเยือกแข็ง ได้แก่
- เมฆซีร์โรคิวมูลัส เป็นเมฆสีขาว เป็นผลึกน้ําแข็ง มีลักษณะเป็นริ้วคลื่นเล็กๆ มักเกิดขึ้นปกคลุม
ท้องฟ้าบริเวณกว้าง
- เมฆซีร์โรสเตรตัส เป็นเมฆแผ่นบางมีสีขาว เป็นผลึกน้ําแข็ง ปกคลุมท้องฟ้าเป็นบริเวณกว้างโปร่ง
แสงต่อแสงอาทิตย์ บางครั้งหักเหแสงทําให้เกิดดวงอาทิตย์ทรงกลด และ พระจันทร์ทรงกลด เป็นรูปวงกลมสีคล้ายรุ้ง
- เมฆซีร์รัส เป็นเมฆริ้วสีขาว รูปร่างคล้ายขนนก เป็นผลึกน้ําแข็ง มักเกิดในวันที่มี อากาศดี ท้องฟ้า
เป็นสีเข้ม
2. เมฆชั้นกลาง พบที่ระดับ 2,500 – 6,500 เมตร ประกอบด้วย ผลึกน้ําแข็งและละอองน้ํา ได้แก่
- เมฆอัลโตคิวมูลัส เป็นก้อนเมฆก้อน สีขาว มีลักษณะคล้ายฝูงแกะ ลอยเป็นแพ มีช่องว่างระหว่าง
ก้อนเล็กน้อย
- เมฆอัลโตสเตรตัส เป็นเมฆแผ่นหนา ส่วนมากมีสีเทา เนื่องจากบดบังแสงอาทิตย์ไม่ให้ลอดผ่าน และ
เกิดขึ้นปกคลุมท้องฟ้าเป็นบริเวณกว้างมาก หรือปกคลุมท้องฟ้าทั้งหมด
3. เมฆชั้นต่ํา พบที่ระดับต่ํากว่า 2,500 เมตร ประกอบด้วยละอองน้ําเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่
- เมฆสเตรตัส เป็นเมฆแผ่นบาง ลอยสูงเหนือพื้นดินไม่มากนัก เช่น ลอยปกคลุมยอดเขาในเวลาตอน
เช้า บางครั้งจะลอยต่ําปกคลุมพื้นดิน เรียกว่า หมอก
- เมฆสเตรโตคิวมูลัส เป็นเมฆก้อนลอยติดกันเป็นแพ ไม่มีรูปร่างที่ชัดเจน มีช่องว่างระหว่างก้อนเพียง
เล็กน้อย มักเกิดขึ้นในเวลาที่อากาศไม่ดี มัก มีสีเทา เนื่องจากลอยอยู่ในเงาของเมฆชั้นบน
- เมฆนิมโบสเตรตัส เป็นเมฆแผ่น มีสีเทา เกิดขึ้นเวลาที่อากาศมีเกิด ฝนตกช่วงสั้นๆ หรือ ฝนตกแดด
ออก ไม่มีพายุฟ้าคะนอง ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า มักปรากฏให้เห็นสายฝนตกลงมาจากฐานเมฆ
4. เมฆก่อตัวในแนวตั้ง พบที่ระดับ 500 – 2,500 เมตร ส่วนใหญ่อาจจะรวมไปกับเมฆชั้นต่ํา ได้แก่
- เมฆคิวมูลัส เป็นก้อนเมฆปุกปุย มีสีขาวเป็นรูปกะหล่ํา ก่อตัวในแนวตั้ง เกิดขึ้นจากอากาศไม่มี
เสถียรภาพ ฐานเมฆเป็นสีเทาเนื่องจากมีความหนาแน่นพอที่จะบดบังแสง จนทําให้เกิดเงามักปรากฏให้เห็น
เวลาอากาศดี ท้องฟ้าเป็นสีฟ้าเข้ม
- เมฆคิวมูโลนิมบัส เป็นเมฆที่ก่อตัวในแนวตั้ง พัฒนามาจากเมฆคิวมูลัส มีขนาดใหญ่มาก ปกคลุม
พื้นที่ครอบคลุมทั้งจังหวัด ทําให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง
1000

- เมฆก่ออตัวในแนวตังจะก่ง้ อตัวตามมแนวตั้ง สูงตัง้งแต่ 500 – 20,000 เมตร อาจจัดเป็นเมมฆระดับต่ําได้้เพราะเริ่ม


เกิดที่คความสูง 500 เมตร ได้แก่ เมฆคิวมูลัสแลละเมฆคิวมูโลนิมบัส
- เมฆทีท่ทําให้เกิดพระะอาทิตย์ทรงกกลดหรือพระจัจันทร์ทรงกลดดเป็นเมฆระดับสูบ ง คือ เมฆซีซีร์โรสเตรตัส
- เมฆทีท่ทําให้ฝนตกพรําๆ เป็นเวลาานาน คือ เมฆฆนิมโบสเตรตััส
- เมฆทีท่ทําให้เกิดพายุยุฝนฟ้าคะนองง ฝนตกหนัก คือ เมฆคิวมูโลนิโ มบัส
โ เข้าไปข้างหน้าชนิดขอองเมฆ หรือ “นิมบัส” ท้ายชชนิดของเมฆจจะทําให้หมายยถึง เมฆฝน
- เมื่อเติติมคําว่า “นิมโบ”
เช่น เมมฆคิวมูโลนิมบับส และ เมฆนนิมโบสเตรตัส ซึ่งเป็นเมฆสีสีเทาดํา และมีมีฝนตกด้วย
- ชื่อเมฆฆจะบ่งบอกระะดับความสูงและลัแ กษณะขของเมฆด้วย เชช่น ซีร์โรสเตรรตัส หมายถึง เมฆระดับสูงที่มี
ลักษณ ณะเป็นแผ่น
1001

แแบบฝึกหัหด เมฆฆ
ชื่อ – นามสกุล _______________________________________________________ ชั้น มม.1/______ เลขที
เ ่ _______

คําสั่ง จงเติติมคําหรือข้อความลงในช่
ค องว่
ง างให้ถูกต้อง
1. เมฆ คือ _____________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
2. เมฆระดับบสูง ประกอบไไปด้วย _______________________________________________
_______________________
เนื่องจาก _____________________________________________________________________________________
3. เมฆทีท่ ําใให้เกิดพระอาททิตย์ทรงกลดหรือพระจันททร์ทรงกลด คือ __________________________________________
___________________________________________________________________________________________
4. เมฆฝนมี 2 ชนิด คือ
4.1 ____________________________ ทําให้เกิด _______________________________
_______________________
4.2 ____________________________ ทําให้เกิด _______________________________
_______________________
5. วันนี้ท้องฟฟ้ามีเมฆบางสส่วน แสดงว่ามีปริมาณเมฆ ____________________________________________________
1002

3 หยาดดน้าํ ฟ้า
11.1 หมอก
หมอกเกิดจากอากาศชื้นเย็นตัตวและลอยต่ํ าใกล้พื้นผิวโลลก หมอกเป็นเมฆระดั
น บต่ําาชนิดหนึ่งทีปรากฏในรู
่ป ปร่าง
ของละอองนน้ําที่มีขนาดของหยดน้ําใหญ่กว่าหยดน้ําาในเมฆ ซึ่งแตตกต่างจากกาารเกิดเมฆที่เกิ ดจากการเย็นตัวของอากาศ
ชื้นแล้วลอยตัวสูงขึ้น

ที่มา : http://guru.sanoook.com/gallery/galllery/5564/267331/ ที่มา : http://travel.sanook.com


m/1396367/

1.2 ฝน
ฝนเกิดจากละออองไอน้ําขนาดดต่างๆ กันในนก้อนเมฆมารรวมกัน และเกิกิดการกลั่นตัวั เป็นหยดน้าํ หยดน้ําเหล่านี า ้
เมื่อมีขนาดใใหญ่ขึ้นจนไม่สามารถลอยตตัวอยู่ได้ในก้ออนเมฆได้ก็จะตกลงมาเป็
ะ นฝน การกลั่นตตัวของเมฆให้ห้กลายเป็นฝนนได้
นั้นต้องมีผลึกน้ําแข็ง หรือเม็ดน้ําขนาดใหญ่ ซึ่งเกิดดจากการที่ก้อนเมฆลอยตัตัวสูงขึ้น เมื่อถึ งระดับที่อุณหภู
ณ มิต่ํากว่าจุจด
เยือกแข็ง (ปประมาณ -400 องศาเซลเซียส) หยดน้ําใในก้อนเมฆจะะกลายเป็นผลึลึกน้ําแข็งหรืออเม็ดน้ําแข็งขนาดเล็ข ก ทําให้

อากาศบริเววณนั้นแข็งตัวไปด้
ไ วย เม็ดน้ําขนาดเล็กจ ะรวมตัวกันกลายเป็
ก นเกล็ดหิ
ด มะ เมื่อมีนน้ําหนักมากเกิกินไปจะตกผ่าน า
อากาศที่อุ่นกว่าจะกลายเเป็นฝน

ที่มา : htttps://www.wongnai.com/restaurants/1222967JP-ryokan-cafe//photos/ ที่มา : http://www.edufirstsschool.com/learn-ennglish


1003

1.3 หิมะ
เม็ดดน้ําที่รวมตัวกันกลายเป็นเกกล็ดหิมะแล้วตกผ่านอากาศศที่อุ่นกว่าลงมมาจะกลายเป็ปนฝน แต่ในฤดูหนาวอุณหภภูมิ
ของอากาศเเย็นจัด เม็ดฝนที่ตกผ่านอาากาศลงมาจะะไม่ละลายจึงตกลงมากลายเป็นหิมะ เกกล็ดของหิมะมมีหลายลักษณ ณะ
โดยทั่วไปเป็นรูปหกเหลี่ยม รูปร่างและะขนาดแตกต่าางกันออกไป

ที่มา : http:////th.hereisfree.com/m
materials/download//8304.html

1.4 ลูกเห็บ

ลูกเห็บเป็นก้อนนน้ําแข็งที่เกิดจากกระแสลม
จ มแรงที่เกิดในเมฆคิวมูโลนิมบั
ม ส ซึ่งเป็นเมมฆพายุฝนฟ้าคะนองพาหย
า ยด
น้ําฝนขึ้นไปแข็งตัวในระดดับสูงเกิดเป็นก้ น อนน้ําแข็ง และถูกกระแแสลมพัดพาขึขึ้นลงจนนับครรั้งไม่ถ้วน ก้อนน้
อ ําแข็งจึงเกิกิด
การรวมตัวใหหญ่ขึ้น และเป็ป็นลูกเห็บหล่นลงมายังพื้นผิวโลก โดยปปกติลูกเห็บจะมีเส้นผ่านศูนนย์กลางตั้งแต่ 5 มิลลิเมตรขึขึ้น
ไป หรือในบบางครั้งจะพบลลูกเห็บขนาดใใหญ่ถึง 140 มิลลิเมตร ลูกเห็บที่ใหญ่ทสุสี่ ดุ ที่เคยตรวจพพบมีน้ําหนักถึง 766 กรัม

ที่มา : htttp://daily.khaosod.cco.th/view_news.phpp?newsid=TURONWIzVXdNakkwTURnMUU9BPT0
=&sectionid=Y25Wd1
= 1lXbHRiMlJs&day=TW WpBeE5TMHdPQzB5TTkE9PQ==
1004

ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


หรือออาจกล่าวในนภาพรวมได้วา..
า่ . 

ตอนบนของเมฆฆคิวมูโลนิมบัสและเมฆอั
ส ลโโตสเตรตัสมีอุอุณหภูมิต่ํากวว่าจุดเยือกแข็ข็ง ไอน้ําส่วนใใหญ่จะอยู่ในรรูป
ของผลึกน้ําแแข็ง
และะเนื่องจากตออนกลางของเมมฆมีอุณหภูมิสสูงกว่า ผลึกน้ําแข็งที่เคลื่อนที่ขึ้นลงระหหว่างชั้นของก้อนเมฆจึ อ งถูกหุห้ม
ด้วยหยดน้ําทที่มีความเย็นจัจด
ผลึกกน้ําแข็งที่หุ้มด้วยหยดน้ําเหหล่านี้จึงมีขนาาดโตขึ้นเรื่อยๆ จนหนักพออที่จะตกผ่านกกระแสลมที่พัดสวนทางขึ้นไป น
และตามทางงที่ตกลงมา
ผลึกกน้ําแข็งจะชนนกับอนุภาคขของเมฆและขยายขนาดใหญ ญ่โตขึ้น ถ้าอุณหภู
ณ มิของอาากาศบริเวณพืพื้นผิวโลกต่ํากว่ กา
จุดเยือกแข็ง ผลึกน้ําแข็งที่ตกลงมาจะออยู่ในรูปของหิหิมะ
แต่ถถ้าอากาศเหนืนือพื้นโลกอุ่น ผลึกน้ําแข็งจะหลอมเหลวกลายเป็นหยดน้ําฝน และ ถ้ากระแสอากกาศพัดค่อนข้ข้าง
แรง ผลึกน้ําาแข็งอาจจะเคคลื่อนที่ขึ้นลงงในก้อนเมฆหหลายรอบ ระหหว่างเคลื่อนทีที่ขึ้นลงนี้ ผลึกกน้ําแข็งจะมีขนาดใหญ่ข โตขึขึ้น
เรื่อยๆ ในทีส่สุดก็จะตกลงมมาเป็นลูกเห็บ

สภาวะของน้ําที่ตกลงมาจากทท้องฟ้ากลาย เป็นฝน หิมะ หรือลูกเห็บ เรียกสิ่งเหล่าานี้ว่า หยาดนน้ําฟ้า ซึ่งจะต้้อง


อาศัยเมฆในนการเกิดทั้งสิ้น อย่างไรก็ตาม การมีเมมฆไม่จําเป็นต้ตองมีหยาดน้้ําฟ้า เพราะเเมฆหลายชนิดจะลอยอยู่บน บ
ท้องฟ้า โดยไไม่มีการกลั่นตัตวและตกลงมมาเป็นฝน มีเมมฆบางชนิดเทท่านั้นที่ทําให้เกิ
เ ดหยาดน้ําฟ้ าได้
1005

1.5 เครื่องมือวั
อ ดปริมาณ
ณน้ําฝน
หมายถึง ระดับความลึ
ค กของนน้ําฝนในภาชนนะที่รองรับน้าฝน
ํา ทั้งนี้ภาชชนะที่รองรับนน้ําฝนจะต้องววางให้อยู่ในแนนว
ระดับ และวัวัดในช่วงเวลาที่กําหนดด้วย
ปริมมาณน้ําฝนไม่สามารถวัดได้ด้โดยตรงเป็นปปริมาตรหรือน้นําหนัก แต่ใช้ชหน่วยของคววามลึกเช่นเดียวกับการวัดน้นํา
บนพื้นผิวโลก และนิยมอ่านค่าปริมาณ ณน้ําฝนในหน่ววยของมิลลิเมตรม เครื่องมือวัอ ดปริมาณน้ํา้ ฝน เรียกว่า เครื่องวัดน้ําฝน

ซึ่งมีอยู่หลายยแบบ เช่น
1. เครื่องวัดดน้ําฝนแบบททรงกระบอก
หหยดน้ําฝนที่ตกลงมาจะถู
ต กเก็บไว้ก่อนที่จจะมาถึงพื้นดิน โดยน้ําฝนจจะตกลงสู่กรววยที่มีด้านข้างสู
ง งชัน แล้วไหหล
ลงสู่ขวดเก็บบน้ําฝน น้ําฝนนที่เก็บไว้จะถูถูกนํามาวัดด้ววยกระบอกตวงที่มีมาตรวัดกํ ด ากับอยู่ มาาตรวัดที่ใช้วดขึ
ัด ้นอยู่กับพื้นที
น ่
ของปากกรววย ทําให้วัดตัวเลขของน้
ว ําฝนต่อหน่วยพื้นนที่ได้

ที่มา : http://www.waterrindex.com/Rain-raingauge-35mm-p1.htm
m ที่มา : http://www.kasetporpeang.com/forum
ms/index.php?topic=779810.224

2. เครื่องวัดดน้ําฝนแบบบับันทึกหรือแบบอัตโนมัติ
ใในที่ห่างไกลเป็ป็นไปไม่ได้ทจะตรวจวั
ี่จ ดน้ําาฝนทุกๆ วัน เครื่องวัดน้ําฝนแบบถั
ฝ งกาลัลักน้ําจะวัดน้าฝนเองในแต่
ํา ล
ละ
วัน และทําใให้ขวดเก็บน้ําแห้
แ งเตรียมพร้ร้อมที่จะใช้ในการวัดครั้งต่อไป
อ ปริมาณทีที่เก็บได้จะถูกบบันทึกไว้บนม้ม้วนกระดาษโดดย
อัตโนมัติ

ที่มา : http:///www.prachin.tmd.ggo.th/rain.htm ที่มา : http://www.cmmett.tmd.go.th/instrumeent/instruments.php


106

เกณฑ์กําหนดปริมาณน้ําฝน
ความหมายของปริมาณน้ําฝน ปริมาณน้ําฝนที่วัดได้
ฝนเล็กน้อย 0.1 - 10.00 มิลลิเมตร
ฝนปานกลาง 10.1 – 35.00 มิลลิเมตร
ฝนหนัก 35.1 – 90.00 มิลลิเมตร
ฝนหนักมาก 90.1 มิลลิเมตรขึ้นไป

ปริมาณน้ําฝนในประเทศไทย
ปริมาณน้ําฝนในประเทศไทยแต่ละเดือนจะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับฤดูกาลและสภาพอากาศ โดยเดือนที่ฝนตก
น้อยที่สุดส่วนใหญ่จะเป็นเดือน มกราคม ต่อไปเป็นเดือนกุมภาพันธ์ มีนาคม ธันวาคม และเมษายน ตามลําดับ
ส่วนเดือนที่ปริมาณฝนเฉลี่ยมาก คือ ช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูฝน โดยเฉพาะเดือน
สิงหาคมกับเดือนกันยายน ปริมาณน้ําฝนค่อนข้างมากกว่าเดือนอื่นๆ
1007

แแบบฝึกหัหด หยาดน้าํ ฟ้า


ชื่อ – นามสกุล _______________________________________________________ ชั้น มม.1/______ เลขที
เ ่ _______

คําสั่ง จงเติติมคําหรือข้อความลงในช่
ค องว่
ง างให้ถูกต้อง
1. หยาดน้ําฟฟ้า คือ ________________________________________________________________________________
ได้แก่ ________________________________________________________________________________________
2. หมอกเหมืมือนและแตกต่างจากเมฆ ดัดงนี้
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
3. ฝนตกหนันักมีปริมาณน้้าํ ฝนที่วัดได้จากเครื
า ่องวัดปริริมาณน้ําฝน เท่ากับ _____________________________________
ฝนตกเล็กกน้อยมีปริมาณน้ําฝนเท่ากับ ______________________________________________________________
4. ประเทศไไทยเดือนใดที่มีมฝนตกหนักมากที
ม ่สุด ________________________________________________________
และเดือนนทีฝ่ นตกน้อยทที่สดุ _______________________________________________________________________
5. การเกิดหิมะเกิดขึ้นได้อย่
อ างไรและต่างจากการเกิดดลูกเห็บอย่างไร

___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
1008

4 ลม
ส่วนนต่างๆ ของพืพืน้ ผิวโลกที่มลัีลกั ษณะแตกต่างกัน ทําให้สามารถรั
ส บเอาาพลังงานความมร้อนจากดวงอาทิตย์ไว้ได้ไม่
เท่ากัน อีกททั้งยังทําให้ส ภาพอากาศเเหนือบริเวณ ต่างๆ มีความแตกต่างกันไปด้ น วย กล่าาวคือ บริเวณ ณที่เป็นพื้นดินมี

ความสามารรถเก็บปริมาณ ณความร้อนไว้ได้ ไ น้อยกว่าส่ววนที่เป็นพื้นน้้าํ นั้นคือเมื่อโลกได้รับความมร้อนจากดวงงอาทิตย์
ในเเวลากลางวันอุณหภูมิของพื้นดินจะสูงขึ้ นอย่างรวดเร็ว ในขณะทีพื่พ้นน้ําจะมีอุณณหภูมิสูงขึ้นอย่ อ างช้าๆ ทําให้

อากาศเหนืออพื้นดินมีอุณหภูห มิสูงกว่าอาากาศเหนือพืน้นน้ํา
ส่วนนในเวลากลางคืนพื้นน้ําจะะคายความร้ออนที่เก็บสะสมมไว้ออกมา อากาศบริเวณเเหนือพื้นน้ํามีอุณหภูมิสูงกว่า
อากาศเหนืออพื้นดิน จากคความแตกต่างของอุณหภูมิขของอากาศเหนือบริเวณต่างๆ นี้เองเป็นสสาเหตุสําคัญของการเกิ ข ดลม

สิ่งที่นักเรียนนควรทราบเกีกี่ยวกับลมมีดัดงั นี้
11. ลม (Windd) คือ มวลขของอากาศที่เคลื่อนที่ไปตามแนวราบจากกบริเวณหนึ่งไไปสู่อีกบริเวณ

22. ทิศทางการรเคลื่อนที่ของอากาศหรือลม เป็นดังนี้
ความดันของอากาศสู
น สูง (H) เคลื่อนทีที่เข้าหา ความดันขอองอากาศต่ํา (L)
ความหนนาแน่นของอากาศมาก (H) เคลื่อนทีที่เข้าหา ความหนาแนน่นของอากาศนน้อย (L)
อุณหภูมิมิเหนือพื้นดิน, พื้นน้ําต่ํา เคลื่อนทีที่เข้าหา อุณหภูมิเหนืนือพื้นดิน, พืนน้
้น ําสูง

อากาศทีทีเ่ คลื่อนที่ขนึ้นลงในแนวดิง่ เรียกว่า กระะแสอากาศ

บริเวณตต่างๆ บนผิวโลลกมีลักษณะแแตกต่างกัน พืน้ ดินมีสีเข้มจะดู


จ ดกลืนรังสี จาก ดวงอาทิทิตย์ได้เร็วและ
คายยความร้อนเร็ว พื้นน้ําจะดูดกลื
ด นรังสีจากกดวงอาทิตย์ช้ชา้ และคายความร้อนช้า
อากาศทีที่เคลื่อนที่ขึ้นลงในแนวดิ
ล ่ง เรียกว่า กระแแสอากาศ

ที่มา : หนังสือสื่อการรเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

ในเวลาากลางวั น พื้นน้ น ํ า ดู ด ความมร้ อ นช้ า พื้ นดิ น ดู ด ความร้ อ นเร็ ว อากกาศเหนื อ พื้นน้
น ํ า อุ ณ หภู มิ ต่ํ า
เคลืลื่อนที่ไปสู่พื้นดิดนซึ่งมีอุณหภภูมิสูงกว่าทําใให้เกิดลมพัดจากทะเลเข้
จ าสูฝั่ ่ง เรียกว่า ลลมทะเล
1009

ที่มา : หนังสือสื่อการรเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

ในเวลากลางคืน พื้นน้นําคายความร้ร้อนช้า อุณหภภูมิของอากาศศเหนือพื้นน้ําจึ งสูงกว่าอุณหภูห มิของอากาศ


เหนืนือพื้นดิน อากกาศจึงเคลื่อนที่จากพื้นดินสู่พื้นน้ําทําให้เกิ
เ ดลมพัดจากกฝั่งออกสู่ทะเเล เรียกว่า ลมบก

เพิม่มเติมความมรู้ 

หย่ย่อมความกดออากาศ
1. หหย่อมความกดอากาศสูง (High pressuure areas)
เ ่มีความกกดอากาศสูงกกว่าบริเวณข้างเคียง ทางอุตุตนิยมวิทยาใช้ช้ตัวอักษร H แทนบริเวณทีที่
หมายถึง บริเวณที
มีความกดอากาศสูงในแผผนทีอ่ ากาศ บริ
บ เวณที่มีความมกดอากาศสูงจะมีสภาพท้้องฟ้าแจ่มใส และอากาศหหนาวเย็น
2. หหย่อมความกดอากาศต่ํา (Low pressuure areas)
เ ่มีความกกดอากาศต่ํากกว่าบริเวณข้างเคียง ทางอุตุตนิยมวิทยาใช้ช้ตัวอักษร L แทนบริ
หมายถึง บริเวณที แ เวณที่
มีความกดอากาศต่ําในแผผนทีอ่ ากาศ บริ
บ เวณที่มีความกดอากาศต่ํานี้ ท้องฟ้าจะะมีเมฆมาก แลละถ้าหากมีความกดอากาศ
ว ศ
ต่ํามากก็จะเเกิดพายุดีเปรสชั่น และอาจจรุนแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนได้

ที่มา : หนังสือสื่อการเเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชัั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

เนือ่องจากการหมุมุนรอบตัวเองขของโลก จึงเกิกิดแรงที่มีผลตต่อทิศทางของลม โดยลมที่พพัดบริเวณพืนผิ


้น วโลกจะพัด
ณความกดอากาศต่ํา โดยทํามุมประมาณ 30 องศา กับเส้นความกดออากาศเท่า แลละลมจะพัด
เข้าสู่จุดศูนยย์กลางบริเวณ
ออกจากบริเวณความกดออากาศสูง โดยยทํามุมประมาาณ 30 องศา กับเส้นความมกดอากาศเท่าาเช่นเดียวกัน
เส้นนความกดอากาศเท่า หมาายถึง เส้นที่ลาากผ่านจุดทีมความกดอากา
ีค าศเท่ากัน
1110

ซีกโลกเเหนือกับซีกโลลกใต้ กระแส ลมจะพัดเวียนออกจากบริรเวณศูนย์กลาางความกดอาากาศสูง และพพัด


เข้าาหาบริเวณศูนย์
น กลางความกกดอากาศต่ํา ในลักษณะตรรงกันข้าม ดังนีน้

ที่มา : หนังสือสื่อการรเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

เมื่ออยู่บริเวณซีกโลกเหหนือแล้วหันหหน้าไปตามลมม บริเวณความมกด
อากาาศต่ําจะอยู่ทางซ้ ง ่ทางขวามือ
า ายมือ และบริเวณความมกดอากาศสูงจะอยู
ส่วนในซีกโลกใต้
ก จะตรงกันข้ามกับบบริเวณซีกโลกเเหนือ

33. อัตราเร็วลมและทิ
ล ศทางงลม
อัตราเร็ร็วลม บอกให้ห้ทราบว่าลมเคลื่อนที่เร็วหรืรือช้า ซึ่งขึ้นอยู่กับผลต่างข องความกดอากาศ

ถ้าผลต่างของงความกดอากกาศสูงและต่ํามีมคา่ มาก  อัตราเร็วลมมสูง


ถ้ถาผลต่างของงความกดอากกาศสูงและต่ํามีคา่ มาก  อัตราเร็วลมมต่ํา
1111

เครื่องมืมือทีใ่ ช้วัดอัตราเร็
ร วลม คือ มาตรวัดอัตราเร็วลม หรือ อะนิโมมิเตอ ร์ ซึ่งมีลักษณะและหลักการ
ทํางงานดังนี้
อะนิโมมิเตอร์ ประกกอบด้วยถ้วย กลมครึ่งซีกที่ทําด้วยโลหะะเบา 3 – 4 ใใบ หันตามกัน ติดอยู่ที่ปลาย
แก นหมุน ซึ่งหมมุนได้อิสระ เมื เ ่อลมพัดมาาปะทะถ้วย ถ้วยจะหมุนไปรอบแกน จจํานวนรอบทีที่หมุนแสดงถึึง
ควาามเร็วของลมม ซึ่งสามารถออ่านได้จากตัววเลขที่อยู่ในหนน้าปัดของเครืรื่อง
หน่วยวัวัดความเร็วลมมี ล หลายอย่ าง ได้แก่ นอต
น ไมล์ทะเเลต่อชั่วโมง กิโลเมตรต่อชั่วโมง ไมล์ต่ตอ
ชั่วโโมง เป็นต้น

ที่มา : https://compactanalyysis.com/best-types-anemometer-buy-tooday.html ที่มา : http://www


w.rfuess-mueller.de/h
/html/counter_anem
mometer.html

พลังงานนจากลมสามาารถนําไปใช้ปประโยชน์ในกาารสร้างกังหันวิ น ดน้ํา กังหันผผลิตกระแสไฟฟฟ้า นอกจากกนี้


อั ต ราเร็ ว ของล มยั ง มี ผ ลกร ะทบต่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต และสิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่งกรมอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาได้ ใ ห้ ข้ อ มู ล ที่ แ ส ดง
ควาามสัมพันธ์ระหหว่างอัตราเร็วลมกั
ว บลักษณ ณะของสิ่งแวดล้อมที่สังเกตไได้ดังนี้

อัตราาเร็วลม (กม./ชม.) ลักษณะที


ษ ส่ ังเกตไได้
น้อยกว่า 1 ลมสงบ ควัันลอยขึ้นตรงๆ
1–5 ควันลอยตาามลม แต่ศรลลมไม่หันไปตามมทิศทางลม
6 – 11 รู้สึกลมพัดที่ใบหน้า ใบไมม้แกว่ง ศรลมมหันไปตามทิศทางลม

12 – 19 ใบไม้และกิงไม้
่ เล็กๆ กระะดิก ธงปลิว
20 – 28 มีฝุ่นตลบ กระดาษปลิ
ก ว กิ่งไม้เล็กขยับบเขยื้อน
29 – 38 ต้นไม้แกว่งไปแกว่งมา มีระลอกน้ํา
39 – 49 กิ่งไม้ใหญ่ขยั
ข บเขยื้อน ได้ด้ยินเสียงหวีดหหวิว ใช้ร่มลําบาก
50 – 61 ต้นไม้ใหญ่ทัท้งต้นแกว่งไกว เดินทางไม่สสะดวก
62 – 74 กิ่งไม้หัก ลมมต้านการเดิน
75 – 88 อาคารที่ไม่มั่นคงหักพัง หลั
ห งคาปลิว
89 – 102 ต้นไม้ถอนรรากล้ม เกิดคววามเสียหายม าก (ไม่ปรากฏบ่อยนัก)
มากกว่า 1033 เกิดความเสีสียหายทั่วไป (ไม่ค่อยปรากกฏ)
1112

ที่มา : http://mameawza.blogspot.com/2010/02/1_18.html
ทิศทางลม บอกให้ทราบว่
ท าลมเคลืลื่อนที่มาจากทิศทางใด
เครื่องมืมือที่ใช้ตรวจสสอบทิศทางลม คือ ศรลม
ศรลม มีลักษณะเป็นลู
น กศรที่มีหางเป็นแผ่นใหญ
ญ่กว่าหัวลูกศรมาก
เมื่ออลมพัดมา หางลู
ห ก ศรจะถูถูกแรงลมปะ ทะมากกว่าหัหวลูก ศร ทําให้ใ หั ว
ล่ ดมา ทําให้ทราบทิศทาางลมว่าพัดมาาจากทางไหน
ลูกศร ชี้ไปปในทิศทางทีลมพั
แอโรเววน คือ เครื่องมือที่ใช้ตรวจจจับทิศทางลมมและวัดความเร็วลม มีลักษษณะรูปร่างคลล้ายเครื่องบินไม่

มีปีก ปลายด้านใใบพัดจะชี้ไปใในทิศทางที่ลมมพัดมา และการหมุนของใใบพัดจะแสดดงความเร็วลมม ซึ่งเราสามารถ
อ่านนได้จากหน้าปัดหรือกราฟขของเครื่องวัด

ที่มา : https://wwww.pinterest.com/pinn/377106168770476164/

ที่มา : httpp://juliuspatricksaletrrero.weebly.com/
1113

 
กิจจกรรม เครื่องมือวัดอัตราเร็วลลมและทิศทางลมม

ชื่อ – นามสกุล _______________________________________________________ ชั้น มม.1/______ เลขที


เ ่ _______

จุดประสงค์กการเรียนรู้
1. สสามารถประดิดิษฐ์เครื่องมือวัวดอัตราเร็วลมและทิศทางลมอย่างง่ายไได้
2. ออธิบายหลักการทํางานของงเครื่องมือที่สรร้างขึ้นได้
วัน – เดือน – ปีที่ทํากิจกรรม

___________ / _______________________ / ___________
วิธีการทํากิจจกรรม

ตาราบันทึกกผลกิจกรรม

บริเวณ รระดับอัตราเร็วลม ทิศทางลลม


1114

แผนผังแสดดงอัตราเร็วลมมและทิศทางลมในบริเวณ
ณต่างๆ

คําถามหลังกิิจกรรม
1. บริเวณทีม่มีีอตั ราเร็วลมน้อยที่สุด คือ _________________________ ระดับความเร็วลมเทท่ากับ _________________
2. บริเวณทีม่มีีอตั ราเร็วลมมากที่สุด คือ __________
________________ ระดับความเร็
ค วลมเทท่ากับ _________________
3. ลมที่พัดมมาในขณะที่ทากิ
าํ จกรรมส่วนใหญ่
น พัดมาจาากทิศทางใด __________
_ _________________________________
4. สรุปผลกาารทํากิจกรรมม ____________________
_______________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
115

4. ชนิดของลม
ลมแบ่งชนิดตามบริเวณที่เกิดได้ดังนี้
4.1 ลมประจําถิ่น
เกิดจาก ความแตกต่างของความกดอากาศในท้องถิ่น
ได้แก่ ลมบก ลมทะเล ลมหุบเขา ลมภูเขา
4.2 ลมประจําปี หรือ ลมประจําภูมิภาค
เกิดจาก ความแตกต่างของความกดอากาศบริเวณขั้วโลกกับบริเวณศูนย์สูตร
ได้แก่ - ลมสินค้าซีกโลกใต้พัดจากทิศตะวันออกเฉียงใต้ไปทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
- ลมสินค้าซีกโลกเหนือพัดจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใต้
4.3 ลมประจําฤดู
เกิดขึ้น ในท้องถิ่นที่เป็นบริเวณกว้าง
ได้แก่ - ลมมรสุมฤดูหนาว ที่ประเทศไทย คือ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดผ่าน
ประเทศจีน ไซบีเรีย ทําให้อากาศหนาวเย็น
- ลมมรสุมฤดูร้อน ที่ประเทศไทย คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พัดผ่านมหาสมุทร
อินเดีย ทําให้ฝนตกบริเวณกว้าง
4.4 ลมที่เกิดจากอากาศแปรปรวน
ได้แก่ - พายุฝนฟ้าคะนอง
- พายุหมุนเขตร้อน แบ่งออกเป็น
+ พายุดีเปรสชั่น จะมีกําลังอ่อน
+ พายุโซนร้อน จะมีกําลังปานกลาง ฝนตกหนัก
+ พายุไต้ฝุ่น จะมีกําลังรุนแรงมาก ฝนตกหนัก
1116

5 ลมมมรสุม
ในฤฤดูร้อนอุณหภภูมิของพื้นดินหรื น อทวีปจะะสูงกว่าอุณหภู ห มิของพื้นน้้าํ หรือมหาสมมุทร ความกดดอากาศบริเวณ ว
พื้นดินจึงต่ําากว่าความกดดอากาศบริเวณมหาสมุว ล งพัดจากมหาสมุทรเข้ข้าสู่ฝั่งทวีป ส่สวนในฤดูหนาว
ทร ด้วยเหตุนี้ลมจึ
อุณหภูมิขอ งทวีปจะต่ํากว่ ก าอุณหภูมิของมหาสมุ
ข ททร ความกดออากาศบริเวณ ณพื้นดินจึงสูงงกว่าความกดดอากาศบริเวณว
มหาสมุทร ด้วยเหตุนี้ลมจึจึงพัดจากทวีปไปสู ป ่มหาสมุททร การพัดขอองลมในลักษณ ณะนี้ เรียกว่า ลลมมรสุม
ลมมมรสุม หมายยถึง ลมประจําฤดู า ที่เกิดขึ้นเเฉพาะถิ่นหนึงๆ
่ง เป็น คํคาว่า “มรสุม ” มาจากภาษษาอาหรับว่า
บริ เ วณกว้ าาง มี ช่ ว งเวลาาเกิ ด นาน ลมมมรสุ ม เกิ ด จจากความแตตกต่ า ง “มอร์ซิน” หหมายถึง ลมพัดประจํ
ด าฤดู
ระหว่ า งคววามกดอากาาศเหนื อ พื้ น ทวี ท ป กั บ ควาามกดอากาศศเหนื อ
มหาสมุทร แแบ่งเป็น 2 ปรระเภท คือ ลมมมรสุมฤดูร้อน และ ลมมรรสุมฤดูหนาว
ลมมมรสุมอาจเกิดได้ ด ทั่วโลกในหลายภูมิภาคค เนื่องจากลักษณะของพื
ก นดิ
้น นและพื้นน้ํ าของโลกมีความแตกต่างกกัน
เช่น ทวีปแออฟริกา และททวีปออสเตรเลีย แต่ปรากกฏการณ์ของงลมมรสุมตามบริเวณต่าง ๆ ของโลก ยังไม่เด่นชัดเทท่า
ปรากฏการรณ์ ข องลมมรรสุ ม ในทวี ป เอเชี ย บริ เ วณ ณเอเชี ย ตะวั นออกเฉี
น ย งใตต้ โดยเฉพาะะประเทศอินเดี
น ย ไทย แลละ
แหลมอินโดจีจีน ทั้งนี้เพราาะบริเวณดังกล่าวลมมรสุม จะปะทะกับลมระบบอื ล ่นๆ เป็นเหตุให้เกิ ดแนวความกกดอากาศต่ํา ซึ่ง
เป็นตัวการทํทําให้เกิดฝน นอกจากนี
น ้ยังมีแนวภูเขาบริรเวณชายฝั่งช่วยเสริ
ว มให้เกิดฝนตกหนั
ด กด้ ้วย
ปร ะเทศไทยอ ยู่ ใ นเขตอิ ท ธิิ พ ลของลมมมรสุ ม 2 ช นิ ด คื อ ลมมมรสุ ม ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ และลมมรสสุ ม
ตะวันออกเฉีฉียงเหนือ

1. ลลมมรสุมตะวัวันตกเฉียงใต้ หรือ ลมมรสุสุมฤดูร้อน


เป็นลมมที่พัดจากทะะเลและมหาสสมุทรเข้าสู่ภาคพื้นทวีปโดดย
ในนฤดูร้อนอุณหภูมิของอากาศบนภาคพื้นททวีปจะสูงมากก ส่งผลให้ความ
กดอากาศในบริเวณดั เ งกล่าวต่ํากว่าความกดดอากาศในบริริเวณดังกล่าวต่ํา
กว่าความกดอากกาศเหนือทะเเลและมหาสมุมุทร
จึงเกิดเป็นลมมรสุมฤดู
ม ร้อนพัดจจากทะเลและะมหาสมุทรเขข้า
หาาแผ่นดินบนภภาคพืน้ ทวีป เนื่องจากลมมมรสุมฤดูร้อนพพัดผ่านความชชุ่ม
ชื้นนของพื้นน้ํามา จึงนําฝนมาสู่แผ่นดินที่พดั ผ่าน
ลมมรสุมฤดูร้อนในนประเทศไทยยเรียกอีกอย่างว่ า า ลมมรสสุม
ตะะวันตกเฉียงใใต้โดยพัดจากกมหาสมุทรอินนเดียผ่านอ่าวไทย ว และปะททะ
ขออบฝั่งตะวันออกของอ่
อ าวไไทย เริ่มตั้งแตต่กลางเดือนพพฤษภาคมแลละ
สิ้นนสุดในกลางเดือนตุลาคม ขณะพัดผ่านปประเทศไทยไได้หอบเอาไอนน้ํา
จาากมหาสมุทรมมาจํานวนมากก จึงทําให้มีฝนนตกชุก
ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรู้ฯ วิทยาศาสสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2
1117

2. ลลมมรสุมตะวัวันออกเฉียงใตต้ หรือ ลมมรรสุมฤดูหนาว


เป็นนลมที่เกิดขึ้นเนื เ ่องจากการทที่อุณหภูมิของอากาศบนภาคพื้น
ทวีป ลดต่ํ าลลงมากกว่ าอุณหภู ณ มิ ของอากาศเหนื อพื้ นผิว น้ําทะเเลและ
มหาสมุทร
ส่ ง ผผลให้ บ ริ เ วณณพื้ น ทวี ป มี ความกดอากาาศสู ง กว่ า คว ามกด
อากาศเหนื อพื้นผิวน้ําท ะเลและมหาาสมุท ร ทําให้ห้เ กิดลมพัดจากใจ จ
กลางทวี ป ไไปสู่ ที่ ที่ มี ค ว ามกดอากาศต่ํ า กว่ า บริ เวณศู น ย์ สู ตร
ต คื อ
บริเวณทะเลลและมหาสมุทร ซึ่งจะนําความหนาวเย็ ค ย็นและแห้งแล้ล้งมาสู่
ดินแดงต่างๆๆที่ลมพัดผ่าน
ลมมรสุมฤดูหนาาวในประเทศศไทยเรียกอีกกอย่างว่า ลมมรสุม
ตะวั น ออก เฉี ย งเหนื อ โดยพั ด จากกประเทศจี นนและไซบี เ รี ยผ่ า น
ภาคเหนือแและภาคตะวันออกเฉี น ยงเหหนือของไทย ลงมาจนถึงบริ บ เวณ
อ่ า วไทยตออนใต้ ทํ า ให้ อ ากาศมี ค วามหนาวเย็ น ตั้ ง แต่ เ ดื อ นกลาง

ตุลาคมจนถึง กลางเดือนกกุมภาพันธ์ ทีม่ า : หนังสือสื่อการเรียน รู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึ
ธ กษาปีที่ 1 เล่ม 2
1118

6 พายุยุหมุนเขขตร้อน
พา ยุ ห มุ น เขตร้ อน
อ หมายถึ ง พายุ ห มุ น ที่ เกิ ด ขึ้ น บริ เ วณทะเลและมหาสมุ ท รในนเขตร้ อ น โดดยในทะเลหรืรื อ
มหาสมุทรที่ีมีอุณหภูมิของผิวน้ําสูงกว่า 26.5°C
อากกาศร้อนชื้นจึงลอยตั
ง วขึ้นอยย่างรวดเร็วทําาให้ความกดออากาศบริเวณนนั้นต่ํา จึงทําใให้เกิดลมพยุพัพดั หมุนเวียนเเข้า
หาศูนย์กลางงความกดอากกาศ
พายยุที่พัดแรงมากกๆ จะมี “ตาพพายุ” ซึ่งมีลักษษณะกลมหรือกลมรี อ มีขนาดดเส้นผ่านศูนย์ กลางประมาณณ 100 กิโลเมตร
บริเวณตาพาายุลมจะสงบเเงียบ ท้องฟ้าโปร่ โ ง ไม่มีฝน แต่บริเวณใกกล้ศูนย์กลางรรอบๆ ตาพายุยุกลับเป็นบริเวณที่ มีเมฆมาก
มีฝนตกหนัก
เมื่ออพายุเคลื่อนทีที่ไปยังบริเวณ
ณมหาสมุทรห รืื อทะเลที่มีอุอุณหภูมิต่ํากว่าหรือเข้าสู่แผผ่นดิน พายุจะอ่
ะ อนกําลังแลละ
สลายตัวไป

ที่มา : หนังสือสื่อการรเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

ที่มา : หนังสือสื่อการรเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2


1119

ประเภทของงพายุหมุนเขตร้อน
การรจําแนกประเเภทของลมพาายุหมุนเขตร้ออนใช้ความเร็วลมสู
ว งสุดรอบจุดศูนย์กลาง เป็นเกณฑ์
ควาามเร็วลมสูงสุด
ประะเภทของพายยุ รอบบจุดศูนย์กลาง ลักษณะของงพายุ
(กิโลเมตร/ชั
ล ่วโมงง)
พพายุดีเปรสชั่น ไม่เกิน 63 เป็นพายุที่มีกําลังอ่อน ฝนตกกปานกลางถึงตกหนั
ต ก
พพายุโซนร้อน 63 -117 เป็นพายุทมีี่ กําลังปานกลลาง ฝนตกหนนัก
พายุไต้ฝุ่น มากกว่า 117 เป็นพายุที่มความรุ
คี นแรงมาากฝนตกหนักมาก

ความเร็วของพายุ
ข หมุนเขตร้
เ อนมีทั้งคความเร็วลมทีพั่พดเวียนเข้าสูศู่ นย์กลางควาามกดอากาศตต่ํา
และคววามเร็วในการรเคลื่อนทีข่ องพพายุซึ่งหมายถึถึง ความเร็วทั้งระบบที่พายยุเคลื่อนที่ไป

บริเวณที่เกิดดพายุหมุนเขขตร้อน
1. แแถบหมู่เกาะอิอินดีสตะวันตกก ทะเลแคริบบเบียนและอ่าวเม็
ว กซิโก
2. ททางด้านตะวันตกของมหาส
น สมุทรแปซิฟิกกเหนือรวมทะเลจีนใต้ หมู่เกาะฟิ
ก ลิปปิน แและหมู่เกาะญีญี่ปุ่น
3. ททางด้านตะวันตกของมหาส
น สมุทรแปซิฟิกกใต้
ใ รวมหมู่เกาาะฟิจิ และชายฝัง่ ด้านตะวันนนออกของทวีปี ออสเตรเลีย
4. ชชายฝั่งมหาสมมุทรแปซิฟิกทางด้
ท านตะวันอออกของเม็กซิโก และสหรัฐอเมริฐ กา
5. มมหาสมุทรอินเดี
น ยแถบเกาะะมาดากัสการ์
6. ททะเลอาหรับ และอ่าวเบงกกอล

การเรียกชื่ออตามบริเวณทีที่เกิด
พายยุหมุนเขตร้อนยั
น งมีการเรียกชื
ก ่อแตกต่างกกันไปตามบริเวณที
เ ่เกิดขึ้นอีกด้วย เช่น
ชื่อขอองพายุ บริเวณทีที่เกิด
ไต้ต้ฝุ่น ทะะเลจีนใต้ มหาาสมุทรแปซิฟกตอนเหนื
ิ อด้ านตะวันตก
ไซโโคลน มหาสมมุทรอินเดีย หรื
ห อ มหาสมุทรแปซิฟิกตอนนใต้ด้านตะวันตก

เฮออรเคน มหาสมมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออกก หรือ มหาสมมุทรแอตแลนติก
วิลลี –วิลลี ออสเตรรเลีย
บาเกียว ฟิลิปปินส์
1220

ผลของพายุยุหมุนเขตร้อน
1. พายุหมุนเขขตร้อนในทะเลทําให้เกิดคคลื่นขนาดใหญ ญ่
เป็นอันตรายยต่อการเดินเรืรือ ถ้าคลื่นพัดเข้
ด าสู่ฝั่ง เรียกว่า คลื่นพายยุ
ซัดฝั่ง
2. พายุหมุนที่พัดเข้าสู่ฝั่ง ทําให้บ้านเรืออนพังเสียหายย
ต้นไม้หัก น้ําาท่วม พื้นดินพัพงทลาย

ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรู้ฯ วิทยาศศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีปีที่ 1 เล่ม 2


1221

แบบบฝึกหัด 3 ลมมรสุ
ล ม และพายุหมุนเขตร้อน
ชื่อ – นามสกุล _______________________________________________________ ชั้น มม.1/______ เลขที
เ ่ _______

คําสั่ง จงเติติมคําหรือข้อความลงในช่
ค องว่
ง างให้ถูกต้อง
1. หย่อมความกดอากาศสสูง หมายถึง __________
_ ______________________________________________________
ในแผนที่ออากาศใช้ตัวอัักษรแทน คือ ___________ ส่วนหย่อมความกดอากาาศต่ําจะแทนดด้วยตัวอักษร ___________
2. ฟ้าร้องกับบฟ้าแลบ ปราากฏการณ์ใดเกิดขึ้นก่อน ________________________________________________________
เพราะ ________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
3. พายุหมุนนเขตร้อนหรือพายุ
พ โซนร้อนทีที่นักเรียนรู้จัก ได้แก่ __________________________
________________________
ส่วนใหญ่ปประเทศไทยได้รับอิทธิพลจจากพายุโซนร้ออนที่มีชอื่ ว่า __________
_ ________________________________
เพราะ ________________________________________________________________________________________
4. บริเวณตาาพายุและบริเวณรอบๆ
เ ตาพายุ อากาศมีมีลักษณะเหมือนกันหรือไม่ ________________________________
อย่างไร _________________________________________________________________
_______________________
5. วิเคราะห์์ภาพการเกิดลมพายุ
ล หมุน แล้
แ วตอบคําถาามต่อไปนี้
5.1 ศูนย์กลางของพายุ
ก ยุเกิดขึ้นที่บริเวณใด
ว ______________________________________
ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

5.2 อุณหภู
ห มขิ องอากาศและความกดอากาศบริเวณ
ว ก กับ ข เป็ป็นอย่างไร _____________
_____________________________________________________________________
5.3 พายุหมุ
ห นเขตร้อนนีนี้เกิดขึ้นที่ซีกโลกหรื
โ อหรือซีกโลกใต้ __________________________
เพราะ ______________________________________________________________
6. ลมที่พัดพพาอากาศหนาาวเย็นและควาามแห้งแล้งมาาสู่ประเทศไทย คือ _______________________________________
พัดมาจากกทิศ __________________________________________________________________________________
ซึ่งเกิดขึ้นนประมาณเดือน _________________________________________________________________________
7. ลมที่มีความสําคัญในการเพาะปลูกและการทํ
แ าเกษษตรกรรมของงประเทศไทย คือ _______
_______________________
เพราะ ________________________________________________________________________________________
1222

7 พพายุฟ้าคะนอง

นอกจากพายุหมุนเขตร้อนที่เกิดขึ้นในบริเววณต่างๆ แล้ว จะพบว่าบริริเวณที่มีอากาาศร้อนและชืนจะเกิ ้น ดพายุทีท่ีมี
ลมพัดแรง ฝฝนตกหนัก แลละเกิดฟ้าแลบบ ฟ้าร้อง และะฟ้าผ่าขึ้น พายุที่เกิดในลักษณะนีษ ้เรียกว่า พายุฝนฟ้าคะนอง

พายุชนิดนี้บางคครั้งมีลูกเห็บเกิกิดขึ้นด้วย ปรระเทศไทยซึ่งอยู่ในเขตร้อนชื
น ้นจะเกิดพาายุฝนฟ้าคะนนองในฤดูฝนช่ช่วง
เดือนพฤษภภาคม พายุนี้เกิดจากเมฆคิวมู ว โลนิมบัสที่กก่อตัวในแนวตตั้ง ซึ่งมีลักษณ
ณะยอดเมฆแบบนและแผ่ออกไปเป็
อ นบริเวณ

กว้างคล้ายรูรูปทั่งอันเป็นลักษณะของเมมฆพายุฝนฟ้า คะนอง เครืองบิ่อ นขนาดเล็กหรือเฮลิคอปปเตอร์ควรบินให้ น ห่างจากเมมฆ
ลักษณะนี้ เนืนื่องจากอาจได้รับอันตรายจากพายุที่พดัดอย่างรุนแรง รวมถึงอันตราายจากฝนตกหหนักและฟ้าผ่ผาอีกด้วย

สภาวะการเเกิดพายุฝนฟ้ฟาคะนอง แบบ่งออกได้เป็น 3 ขั้นตอน ดัังนี้


1. ขขั้นเริ่มก่อตัว
เป็นนขั้นเริ่มต้น ลักษณะเมฆเป็ป็นแบบเมฆคิ วมูลัสที่กําลังจะพั
ง ฒนาเป็นเมฆคิ
น วมูโลนินิมบัส ในขั้นนี้จะมีกระแสลลม
พัดขึ้นตามแแนวตั้งตลอดตัตั้งแต่ฐานเมฆไไปจนถึงยอดเเมฆ ความเร็วลมที ว ่พัดขึ้นไปปอาจแรงถึง 110 กิโลเมตร//ชั่วโมง บางคครั้ง
อาจถึง 50 กิโลเมตร/ชั่วโมง โ
2. ขขั้นพัฒนาเต็มทีม ่
ขั้นนี้ภายในเมฆคิวมูลัสยังมีกระแสลมที
ก ่พั ดขึ้นตามแนววตั้ง และมีกระแสลมพั
ร ดล งตามแนวตั้งจากเมฆลงมาสู่
พื้นดินตามเมม็ดฝนลงมา ในขั จ ดการกลั่นั ตัวเป็นเม็ดน้นําและมีขนาดดโดขึ้นจนหนันักเกินกว่าที่กระแสลมจะพยุง
ใ ้นนี้ไอน้ําจะเกิ
ไว้ได้ ในที่สุดดจะตกลงมาเเป็นฝนซึ่งฝนนีนี้จะเกิดขึ้นในนบริเวณระดับต่
บ ําของเมฆ แต่แ ในระดับสูงงของเมฆขึ้นไปปจะมีทั้งฝนแลละ
หิมะ สําหรับบพายุฝนฟ้าคะนองที่มีกระแสลมพัดขึ้นออย่างแรง เม็ดน้ ด ําจะถูกพัดขึ้นไปในระดับบสูงมาก และตกลงมาเป็นลุลก
เห็บได้
ขณ ณะที่มีพายุฝนฟฟ้าคะนองจะมีมีลมกระโชกแแรงและอากาศบริเวณนั้นจะเย็ จ นลง เนื่อองจากกระแสลลมซึ่งพัดลงตาม
แนวตั้งเมื่อกกระทบพื้นดินแล้วจะกระจาายออกในแนววราบไปด้านข้้าง ทําให้เกิดลมกระโชกแร
ล รงได้เป็นระยะะทางไกลๆ แลละ
อุณหภูมิของงพื้นดินจะลดลงด้วย
3. ขขั้นสลายตัว
ขั้นนี้กระแสลมทีที่พัดลงตามแแนวตั้งจะแผ่ไไปทั่วก้อนเมฆฆ จนกระทั่งกระแสลมที
ก ่พพัั ดหมดไป ทําให้
า หยาดน้ําฟ้ฟา
ค่อยๆ ลดลงง และพายุฝนฟ้ น าคะนองก็ค่คอยๆ อ่อนกําลังลงไปด้วยเช่นกัน

ทีมา
่ม : หนังสือเรียนรายวิชชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี
ษ ที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2
123

การเกิดพายุฝนฟ้าคะนองจะก่อให้ ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า และฟ้าร้องตามมา ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตมาก ซึ่งแต่


ละอย่างจะเกิดจากได้ดังต่อไปนี้

ฟ้าแลบ
หมายถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนประจุไฟฟ้าภายในก้อนเมฆ หรือ ระหว่างก้อนเมฆที่อยู่ใกล้กัน
ทําให้มีแสงหรือประกายไฟฟ้าเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว

ฟ้าผ่า
หมายถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนประจุไฟฟ้าในก้อนเมฆกับพื้นผิวโลก ประจุไฟฟ้าจะลงสู่ส่วน
ที่ใกล้ก้อนเมฆมากกว่า เช่น ต้นไม้สูง เสาสูงๆ จึงต้องทําสายล่อฟ้าบนอาคารเพื่อให้ประจุลงสู่พื้นดินได้ง่าย ทําให้
ปลอดภัยจากฟ้าผ่า
ดังนั้นขณะฟ้าคะนองจึงไม่ควรยืนอยู่ในที่โล่งจะทําให้เป็นส่วนที่สูงที่สุดบริเวณนั้น และไม่ควรหลบฝนอยู่ใต้
ต้นไม้สูง

ฟ้าร้อง
เมื่อเกิดฟ้าแลบหรือฟ้าผ่า อากาศจะมีอุณหภูมิสูงประมาณ 30,000 องศาเซลเซียส ทําให้เกิดการขยายตัวของ
อากาศอย่างรวดเร็ว และมีการเคลื่อนที่ของอากาศ และละอองน้ําในก้อนเมฆเกิดการเสียดสีกันอย่างรุนแรงทําให้เกิด
เสียงดังเรียกว่า “ฟ้าร้อง”

สิ่งที่จะพบในปรากฏการณ์พายุฝนฟ้าคะนอง คือ
1. เกล็ดน้ําแข็ง ผลึกน้ําแข็ง
2. หิมะ
3. ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า
4. หยดน้ําฝน

วิธีป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า
1. ไม่ควรอยู่ใกล้สิ่งที่เป็นตัวนําไฟฟ้าที่จะเป็นสื่อของฟ้าผ่า เช่น เสาไฟฟ้า แหล่งน้ํา รั้วโลหะ
2. หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้สิ่งที่สูงในโล่งแจ้ง เช่น ใต้ต้นไม้ใหญ่ เพราะต้นไม้ใหญ่เป็นตัวนําไฟฟ้าที่ดี เนื่องจากมีน้ํา
อยู่มากและมีความสูงกว่าวัตถุในบริเวณเดียวกัน ทําให้เป็นสื่อของฟ้าผ่า น้ําในต้นไม้จะร้อนจัดจนกลายเป็นไอน้ําอย่าง
ฉับพลัน ทําให้ต้นไม้เกิดการระเบิดอย่างรุนแรง
3. หากอยู่กลางแจ้งและรู้สึกว่าผมบนศีรษะตั้งขึ้นแสดงว่ากําลังจะเกิดฟ้าผ่า ให้ก้มตัวให้ต่ําที่สุดในท่านั่งก้มหน้า
ลง มือทั้งสองวางบนเข่า ปลายเท้าชิดกัน และเขย่งเท้าขึ้น อย่านอนราบกับพื้น ทั้งนี้เพื่อให้ร่างกายมีส่วนที่สัมผัสพื้นดิน
น้อยที่สุด เพื่อลดโอกาสที่กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านร่างกายหากเกิดฟ้าผ่าลงมายังพื้นดินในบริเวณที่ใกล้เคียง
4. ขณะเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง ไม่ควรใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าและควรถอดเต้าเสียบออก เช่น โทรทัศน์ วิทยุ ไดร์เป่า
ผม และโทรศัพท์ เพราะอาจมีกระแสไฟฟ้าที่เกิดจากฟ้าผ่าไหลผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโทรศัพท์เข้าสู่ร่างกายได้
1224

แแบบฝึกหัหด พพายุฟ้าคะนองง
ชื่อ – นามสกุล _______________________________________________________ ชั้น มม.1/______ เลขที
เ ่ _______

คําสั่ง จงเติติมคําหรือข้อความลงในช่
ค องว่
ง างให้ถูกต้อง
1. พายุฟ้าคะะนอง เกิดจากกเมฆชนิดใด _______________________________________________________________
ซึ่งมีลักษณ
ณะ __________________________________________________________________________________
2. เมื่อเกิดพพายุฝนฟ้าคะนนองจะเกิดปราากฏการณ์ใดบบ้าง
_____________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
3. ขณะเกิดพพายุฟ้าคะนองควรหลบฝนนใต้ต้นไม้ใหญ่หหรือไม่ __________________________
_______________________
เพราะ ________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________
4. ให้เขียนเคครื่องหมาย  ลงใน  ของตารางต่ออไปนี้ ว่าควรปปฏิบัติหรทอไมม่ควรปฏิบัติอ ย่างไรจึงจะปลอดภัยจาก
อันตรายแและป้องกันคววามเสียหายของทรัพย์สินที่เกิดจากฟ้าผ่าอันเกิดจากพพายุฝนฟ้าคะนนอง
กิจกรรรม ควรปฏิบตั ติิ ไม่ควรปฏิ
ค บัติ
4.1 ขณะขขับรถให้รีบจออดรถ และอออกนอกรถทันที  
4.2 งดการตีกอล์ฟเมื่อเกิดพายุฝนฟ้าคะนองในบริริเวณใกล้เคียง  
4.3 งดตกกปลาเมื่อเกิดพายุ
พ ฝนฟ้าคะนนองในบริเวณณใกล้เคียง  
4.4 หลบใในบ้านหรืออาาคาร  
4.5 หลบใใต้ต้นไม้ใหญ่  
4.6 พูดคุยยกันทางโทรศัศัพท์  
4.7 หลบขข้างเสาไฟฟ้า  
4.8 นั่งยอองๆ เก็บแขนขขาชิดลําตัว  
4.9 ถอดสสายเสาอากาศศออก  
4.10 ติดตั้งสายล่อฟ้าตามอาคารสู
ต ง  
1225

8 เอลนีโญ
ญและลลานีญา
ปราากฏการณ์ภาวะแห้ า งแล้งและน้
แ ําท่วมรุนนแรงที่มีผลกรระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแแวดล้อม ได้แก่ก ปรากฏการรณ์
เอลนีโญ แลละลานีญา ปรากฏการณ์ทงั้ 2 แบบนี้ เป็ปนปรากฏการรณ์ทางสมุทรศศาสตร์ที่เกิดขึ้ นตามปกติทางธรรมชาติ แต่ แ
ความถี่เพิ่มขึ้นและระยะเเวลาอาจจะยาวนานขึ้นกว่ว่าในอดีต จึงเกิ เ ดผลกระทบบต่อมนุษย์แลละสิ่งแวดล้อมมากขึ ม ้น และยัง
ส่ ง ผลกระททบต่ อ ประเททศที่ อ ยู่ แ ถบชชายฝั่ ง มหาสสมุ ท รแปซิ ฟิ กด้
ก า นตะวั นออกและตะวั อ วั น ตก ซึ่ ง ปัจจั จ ย ที่ ทํ า ให้ เ กิ ด
ปรากฏการณ ณ์ทั้งสองนี้ คือ กระแสน้ําอุ่น และ กระแแสน้ําเย็น
โ ด ย ป ก ติ บ ริ เ วณ
ว เ ส้ น ศู น ย์ สู ต ร เ ห นื อ
มหาสมุทรแแปซิฟิก ลมสิสินค้าตะวันออกจะพัดจากก
ประเทศเปรู(ชายฝั่งทวีปอเมริ อ กาใต้) ไปปทางตะวันตกก
ของมหาสมุมุทรแปซิฟิก แล้ แ วยกตัวขึ้นบริ
น เวณเหนือ
ประเทศอิ นนโดนี เ ซี ย ทํ าให้
า มี ฝ นตกมมากในเอเชี ย
ตะวันออกเฉีฉียงใต้ และทวีวีปออสเตรเลียตอนเหนื
ย อ
กร ะแสลมสิ น ค้้ า พั ด ให้ ก ระแแสน้ํ า อุ่ น จากก
พื้นผิวมหาสสมุทรแปซิฟิกไปรวมตั
ก วกันทางตะวั
น นตกก ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2
จนมีระดับสู งกว่าน้ําทะเเลปกติประมาณ 60 – 700
เซนติเมตร แแล้วจมตัวลง
กระะแสน้ําเย็นใต้ต้มหาสมุทรแปปซิฟิกเข้ามาแแทนที่กระแสนน้ําอุ่นแถบพืนผิ ้น วซีกตะวันอออก และนําธาตุ ธ อาหารต่างๆ
จากก้นมหาสสมุทรขึ้นมา ทํทาให้มีปลาชุกชุ ก ม เป็นประโโยชน์ต่อการททําประมงชายยฝั่งของประเททศเปรู และประเทศใกล้เคียง ย

เอลนีโญ
เอลลนี โ ญ เป็ น คํค า ภาษาสเปปน
แปลว่า “บุตตรของพระคริสต์”ชาวประมง
เปรู แ ละเอ กวาดอร์ ใ ช้ คํ า นี้ ใ นควาาม
หมายถึง กระะแสน้ําอุ่นทีไหลเลี
่ไ ยบชายฝั่ง
เปรู ล งไปทาางใต้ ทุ ก ๆ 2 – 3 ปี ทํ า ให้

อุ ณ หภู มิ ข อองอากาศสู งขึ้ น โดยเริริ่ ม
ประมาณช่ ววงเทศกาลคคริ ส มาสต์ น าน า
ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรู้ฯ วิทยาศาสสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2
2 – 3 เดื อ น แต่ บ างครั้งอาจจะเกิ
ง ด ขึ้ น
ยาวนานมากกกว่านี้
เมื่ออเกิดปรากฏเออลนีโญ กระแแสลมสินค้าต ะวันออกอ่อนกํ น าลัง กระแสสลมพื้นผิวเป ลี่ยนทิศทาง พัดจากประเททศ
อินโดนีเซีย และออสเตรเลียตอนเหนือไปทางตะวั ไ นอออก แล้วยกตัตัวขึ้นเหนือชายฝั่งทวีปอเมริริกาใต้
ทําใให้เกิดฝนตกกหนัก และแผผ่นดินถล่ม ในนประเทศเปรรู เอกวาดอร์ร์ และตอนเหหนือของทวีปอเมริ ป ก าใต้ แต่ แ
ก่อให้เกิดคววามแห้งแล้งในเอเชี ใ ยตะวัวันออกเฉียงใใต้ และออสเเตรเลียตอนเหนือ ทําให้เกิ ดไฟไหม้ป่าอย่างรุนแรงใใน
ประเทศอินโโดนีเซีย
1226

ลานีญา
ลา นี ญ า เป็ น คํ า ภาสเปน
แ ป ล ว่ า “ บุ ต ร ธิ ด า ” เ ป็ น
ปรากฏการณ ณ์ที่มีลักษณะะตรงข้ามกับ
เอลนีโญ คือ มีลักษณะคคล้ายคลึงกับ
สภาวะปกติติแ ต่รุนแรงกวว่า กล่าวคือ
กระแสลมสินนค้าตะวันออกมีกําลังแรง
ทํ า ใ ห้ ระดัั บ น้ํ า ทะเล บ ริ เวณซี ก
ตะวั น ตกขอองมหาสมุ ท รแปซิ ร ฟิ ก สู ง ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

กว่าสภาวะปปกติ
ลมสินค้าบกตัวเหนือประเทศศอินโดนีเซีย ททําให้เกิดฝนตตกอย่างหนักในอิ ใ นโดนีเซีย เอเชียตะอออกเฉียงใต้ แลละ
ทวีปออสเตรรเลียตอนเหนืนอ
แต่จจะทําให้เกิดความแห้
ค งแล้งอย่
ง างมากใน เปรู เอกวาดออร์ และตอนเหนือของทวีปปอเมริกาใต้ กระแสน้ ก ําเย็นใต้

มหาสมุทรยกตัวขึ้นแทนทีที่กระแสน้ําอุนบริ น่ เวณพื้นผิววแปซิฟิกตะวัันออก ทําให้มีมปี ลาชุกชุมบ ริิ เวณชายฝั่งประเทศเปรู ป และ

ประเทศใกล้ล้เคียง

ปราากฏการณ์เอลลนีโญและลานนีญา มีชื่อเรียยกทางการว่า “El Nino – Southern OscillationW หรือ ENSSO


หมายถึง การเปลี่ยนแปลงซึ่งเกิดขึ้นบริริเวณมหาสมุททรแปซิฟิกตอนใต้

เอลนีโญทําให้
ใ บริเวณที่เคยมี
ค ฝนตกชุกมีปริมาณฝนลลดลง บริเวณแแห้งแล้งจะมีฝฝนมากขึ้น
ลานีญาทําให้
ใ บริเวณที่มฝนตกชุ
ฝี กมีฝนตตกหนักเพิ่มขึึ้น และบริเวณ
ณที่แล้งจะแห้งงยิ่งขึ้น
เอลนีโญและลานีญามีชวงการเปลี
่ว ่ยนแแปลง 2 – 100 ปี
1227

9 การพยยากรณ์
ณ์อากาศศ
ลมฟฟ้าอากาศมีอิทธิพลต่อชีวตประจํ
ิต าวันขอองสิ่งมีชีวิตทั้งทางตรงและททางอ้อม ดังนั้ นข้อมูลและผผลการวิเคราะะห์
ลักษณะอากกาศจึงเกี่ยวข้องกั
อ บบุคคลทุกอาชีพ ไม่ว่าาจะเป็นเกษตรรกร นักบิน ชาวประมง พ่ออค้าแม่ค้าหรือตั
อ วนักเรียนเออง
การพยากรณ
ณ์อากาศ
หมายถึง การคาดดหมายสภาวะของลมฟ้าอาากาศและปราากฏการณ์ทางงธรรมชาติทจี่ จะเกิดขึ้นล่วงหหน้า

การพยากรณ ณ์อากาศแบ่งได้
ง เป็น3 ระยยะ ดังนี้
1. กการพยากรณ์อากาศระยะสัสั้น
เเป็นการพยากกรณ์อากาศในช่วงระยะเวลาไม่เกิน 72 ชั่วโมงส่วนใหญญ่พยากรณ์ในนรอบ 1 วัน หรื
ห อ 24 ชั่วโมงง
2. กการพยากรณ์อากาศระยะปปานกลาง
เเป็นการพยากกรณ์อากาศในระยะเวลามากกว่า 72 ชั่วโมงจนถึ
โ ง 40 วัน
3. กการพยากรณ์อากาศระยะนนาน
เเป็นการพยากกรณ์อากาศตั้งแต่ 10 วันขึน้นไป

อุตุนิยมวิทยาา
เป็นวิทยาศาสตร์ร์สาขาหนึ่งที่ศศึึ กษาเกี่ยวกบบการเปลี่ยนแปลงของอาากาศ บรรยากาศ
ปรากฏการณ์ ณ์ต่างๆ ที่เกิดขึน้ ในชั้นบรรยยากาศ และกาารพยากรณ์อากาศ

หน่วยงานทีที่เกี่ยวข้องกับการพยากรณ
บ ณ์อากาศ
หน่นวยงานของปรระเทศไทยทีทํ่ทาหน้าที่ในกาารตรวจสอบสสภาพอากาศและปรากฏก ารณ์ธรรมชาติ เพื่อพยากรรณ์
อากาศและเเตือนภัยที่เกิดจากธรรมชาติ
ด ติ คือ กรมอุตตุุนิยมวิทยา กระทรวงดิ
ก จทัทิ ลั เพื่อเศรษฐฐกิจและสังคมม
ห า ที่ เกี่ ย วกักั บ การตรวจสสภาพอากาศศและการพยากรณ์ อ ากาศศแล้ ว กรมอุตุ นิ ย มวิ ท ยา ยั ง
นอ กจากจะทํ า หน้
ทําการศึกษษาวิจัยด้านอุตุนิยมวิทยา ในนกิจการด้านตต่างๆ เป็นศูนย์ น โทรคมนาคคมประจําภาคคพื้นเอเชียตะะวันออกเฉียงใต้

รวมทั้งรวมมืมือและประสาานงานกับองค์ค์การอุตุนิยมวิวิทยาโลก องคค์การบินพลเรืรือนระหว่างปประเทศ และหหน่วยงานอื่นๆที ๆ ่
เกี่ยวข้อง

หลักการพยยากรณ์
หลัักการพยากรณ ณ์อากาศประกอบด้วยระบบที่สําคัญ 3 ระบบคื
ร อ
ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรูฯ้ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

1. ระบบการตรรวจอากาศ ในระบบการรตรวจอากาศศจะประกอบด้วยสถานี
ตรวจอากาศศทั้งทางบก ทะเล และในอากาศ ดังนี้
1.1 สถถานีตรวจอากาศบนบกหหรือพื้นผิว แต่ละแห่งไม่ควรห่างกัน
เกิน 150 กิโลเมมตรตรวจวัดอุณหภูมิ ความมชื้นของอากาาศ ความกดออากาศเมฆ
ฝน ฯลฯ ทุก 3 ชั่วโมง
น เกิน 300 กิโลเมตร
1.2 สถถานีตรวจอากาศชั้นบนคควรอยู่ห่างกันไม่
ตรววจวัดทิศทางลลม ความเร็วลม
ล ทุก 6 ชั่วโโมง และตรวจวัด อุณหภูมิมิ ความชื้น
ฯลฯ ทุก 12 ชั่วโมง

1228

1.3 สถถานีตรวจอากกาศของทุกปประเทศรวมกันจะได้สถานีนีเครือข่ายครรอบคลุมทุกส่วนของโลกที
ว ่เป็น
พืน้นดิน
1.4ลมฟ้ฟ้าอากาศในททะเลและมหาาสมุทรจะอาศัศัยเรือพาณิชย์ขนาดใหญ่
ข ที่สญ
ั จรไปมาทําหน้
ห าที่ตรวจ
อากกาศ
1.5 การรตรวจอากาศศชัน้ บนจะอาาศัยเครื่องบินพาณิ
พ ชย์ระหว่ว่างประเทศ
1.6 บริเวณป่าดงดิบและในมหาส
บ สมุทรที่ไม่มีการสั
า ญจรไปมาา จะใช้ ดาวเทีทียมตรวจอากกาศที่โคจรผ่าน
ช่วงงบริเวณนั้นเป็ป็นประจํา

ที่มา : หนังสือสื่อการรเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

2. รระบบการสือ่ สาร
สถ านีต รวจอากกาศในแต่ ล ะแห่ ง เมื่ อ ตรว จอากาศตามมเวลาที่ กํ าหนนด จะต้อ งรี บส่ ง ผลการตตรวจไปยัง ศู นย์น
พยากรณ์อากาศโดยเร็ว การรายงานผล
ก ลการตรวจอาากาศจึงต้องเป็ป็นข้อความทีที่สั้นที่สุดแต่ไดด้ใจความ เพืพื่อให้เสียเวลาใน
การส่งน้อยทีที่สุด และต้องมีระบบการสื่อสารที่มีปรระสิทธิภาพดี ปัจจุบันนี้การติดต่อสื่อสาารระหว่างสถานีตรวจอากาศ
ะ ทยุโทร พิมพ์ โทรสาร จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ อินเตอร์เน็ตซึ่งสามารถส่ง
และศูนย์พยยากรณ์อากาศ ซึ่งจะใช้ระบบวิ
รายงานได้รววดเร็วมาก
3. ศูนย์พยากรณ์
พ อากาาศ
การพยากรณ์ อ ากาศ ที่ ป ฏิ บั ติ ต ามมศู น ย์ พ ยากรรณ์
อากาาศทั่วๆไป มีขั้นตอนการปฏิฏิบัติงานดังนี้
3.1 การเขียนแผนที่พพนักงานเขียนแผนที่อากาศ
ของศศูนย์พยากรณ์ ณ์อากาศจะเขี ยนแผนที่ตามมแบบที่องค์การ ก
อุ ตุ นินิ ย มวิ ท ยาโลกกํ า หนด โดดยเขี ย นเป็ น ตั ว เลข แลละ
สัญลักษณ์ตามตําแหน่งต่างๆ ที ่กําหนดลงบบนแผนที่ที่มีการ ก
ตรว จอากาศ ณ ที่ ส ถานี ต รววจอากาศตั้ งอยู่ มี ทั้ ง แผนนที่
อากาาศพื้นผิว แผนนที่อากาศชั้นบบน และแผนทีที่ประกอบอืนๆ น่
ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรู้ฯ วิททยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีปีที่ 1 เล่ม 2
1229

ที่มา : หนังสือสื่อการรเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

3.22 การวิเคราะะห์แผนที่อากาาศที่เขียนเสร็จจแล้วจะถูกส่งไปให้
ง ผู้วิเคราาะห์ ทําการวิเเคราะห์ตามหหลักวิชาการแลละ
วิธีการของแแผนที่อากาศนันั้นๆ เมื่อวิเครราะห์เสร็จแล้ววจะทําให้ทราบระบบอากาศต่างๆ
3.33 การพยากรรณ์อากาศผูพยากรณ์ ้พ อากาาศจะใช้แผนที่อากาศที่วิเคราะห์
ค แล้วเป็ป็นเครื่องมือในการพยากร
ใ รณ์
อากาศที่จะเเกิดขึ้นต่อไปข้ข้างหน้าทั้งระยยะสั้น ระยะปปานกลาง และะระยะยาว โดดยวิธีพยากรณณ์อยู่ 2 วิธี คือ
- เปรียบเที
บ ยบแผนทีอากาศที่อ ่แล้วๆ มากับแผนทีที่อากาศในปัจจุ
จ บัน
- คํานวณจากค่าสถิติตทิ ี่ได้จากการรวิเคราะห์ข้อมูล ลมฟ้าอากาศมาเป็นระะยะเวลานานนๆ โดยใช้ระบบบ
คอมพิวเตอร์มาช่วยในการคํํานวณ หลังจจากนั้นนักอุตุตุนิยมวิทยาจะะส่งผ่านข้อมู ลการพยากรรณ์อากาศไปยัง
หนันังสือพิมพ์ โทรรทัศน์ อินเตออร์เน็ต เพื่อรายงานให้ประชชาชนทราบต่อไปอ

ข้อมูลที่ใช้ในนการรายงานนสภาพอากาศศหรือพยากรรณ์อากาศ
1. ทท้องฟ้าและเมมฆ เช่น ท้องฟ้ฟ้าแจ่มใส ท้องงฟ้าโปร่งใส ท้องฟ้ามีเมฆบบางส่วน
2. สสภาพอากาศ แสดงลักษณะความรุนแรงง เช่น ฝนตกหหนัก ฝนปานกกลาง และแสดดงบริเวณที่ตก เช่น ฝนฟ้า
คะนองเป็นแแห่งๆ 30% ของพื ข ้นที่
3. ลลักษณะทะเล เช่น ทะเลเรียบ ทะเลมีคลืน่ ปานกลาง
4. คความกดอากาาศ หรือความดัน ทิศทางกาารเคลื่อนที่
5. คความเร็วลม
6. ออุณหภูมิสูงสุด – ต่ําสุด
1330
เพิม่มเติมความรู้ 
1. คําศัพท์ททีใ่ ช้ในการพยากรณ์อากาาศ
คําศัพท์ ความหมาย
ละติติจูด เส้นรุ้งภูมิศาสตร์ (เสส้นระดับ)
ลองงติจูด เส้นแววงภูมิศาสตร์ (เส้
( นตั้ง)
ลมฝฝ่ายใต้ ลมที่พัดมาจากทางทิทิศใต้
ลมฝฝ่ายเหนือ ลมที่พัดมาจากทางทิทิศเหนือ
หย่ออมความกดอากาศต่ํา บริเวณ
ณความกดอากกาศต่ํา แผ่ปกคลุมพื้นทีเ่ ป็นนวงกลม
หย่ออมความกดอากาศสูง บริเวณ
ณความกดอากกาศสูง แผ่ปกคลุมพื้นที่เป็นนวงกลม
ฟ้าคคะนองกระจาาย มีฝนตกกฟ้าคะนองเกืกือบทั่วไปในพืพืน้ ที่หนึ่ง
ฟ้าหหลัว ฟ้าปกคคลุมด้วยเมฆททั่วไป
กาลลอากาศ สภาพออากาศในที่ใดที ด ่หนึ่ง ซึง่ อาจจเปลี่ยนแปลงงได้ในช่วงเวลลาสั้นๆ
เช่น 1 วัน 1 สัปดาหห์
ควาามกดอากาศสูสูงแผ่ลมิ่ ปกคลลุม บริเวณ
ณความกดอากกาศสูงที่ขยายตัวออกจากหหย่อมความกดด
อากาศศสูงเป็นแนวยาวปกคลุมพืนที ้น ่
ทัศนวิสัย การมอองเห็นทิศทางรอบสถานที่ ซึ่งในทางอุตนุ นิิ ยมวิทยาใช้ค่คา่
ระยะททางที่มองเห็นต่ํามารายงานน

2. สัญลักษษณ์ในแผนที่อากาศทางอุ
อ ตุตนุ ิยมวิทยาที่ควรทราบ

ที่มา : หนังสื อสื่อการเรียนร้ฯ วิทยาาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาาปีที่ 1 เล่ม 2


1331

ความสําคัญ
ญของการพยาากรณ์อากาศ
1. ด้านการบิน นักบินต้องทราบลักษณะออากาศตลอดททางตั้งแต่ต้นทาง ท ระหว่างททาง และปลาายทางเพื่อความ
ปลอดภัยแลละประหยัด
2. ดด้านการประมมง ผู้มีอาชีพทํ
พ าการประมมงต้องรู้สภาพอากาศตลอดเวลาว่าควรนํนําเรือออกจากกฝั่งหรือไม่ คลืลื่น
ลมแรงเพียงใใด
3. ดด้านการเกษตตร การเพาะะปลูก ควรปลูกพืชชนิดใด ช่ชวงเวลาใดทีเ่ หมาะสมกับปปริมาณน้ําฝน
4. ดด้านอุตสาหกกรรมบางประะเภท เช่น การรทํานาเกลือ การทําแป้งมันสํ น าปะหลัง
5. กการพัฒนาแหหล่งน้ําเช่น การชลประทานน การสร้างเขืขื่อน
เ ่อความปลลอดภัยเช่น ผู้ที่อยู่ใกล้ทะเล ที่ราบ กาารเตรียมอุปกรณ์
6. การดํารงชีวิวิตประจําวันเพื ก สําหรับการ
เดินทางไปทํทํางาน และกาารดูแลรักษาสุสุขภาพ

ที่มา : http://looadebookstogo.bloggspot.com/2012/09/ooccupation-cartoon.html#.WIFZf1N97IU
1332

แแบบฝึกหัหด การพพยากรณ
ณ์อากาศศ
ชื่อ – นามสกุล _______________________________________________________ ชั้น มม.1/______ เลขที
เ ่ _______

คําสั่ง จงเติติมคําหรือข้อความลงในช่
ค องว่
ง างให้ถูกต้อง
1. การพยากกรณ์อากาศในนชีวิตประจําวัันส่วนใหญ่พยยากรณ์ในช่วงระยะเวลากี
ง ชัช่ ่วั โมง ___________________________
2. สถานีตรววจอากาศชั้นบนตรวจสภาพ
บ พอากาศอะไรรบ้าง ____________________________
_____________________
ซึ่งตรวจโดดย __________________________________________________________________________________
3. การพยากกรณ์อากาศจะะอาศัยข้อมูลจาก
จ ____________________________________________________________
__________________________________________________________________________________________
4. ข้อมูลที่ไดด้จากการพยาากรณ์อากาศ ได้แก่ _________________________________________________________
5. การพยากกรณ์อากาศในนแต่ละวันมีผลต่
ล ออาชีพใดมมากที่สุด ______________________________________________
1333

10
0 การเปลีลี่ยนแปลลงอุณหภู
ห มิและะสภาพออากาศขของโลกก
อุณ
ณหภูมิอากาศขของโลกมีแนววโน้มที่จะเพิ่มมขึ้นทุกๆ ปี นักวิทยาศาสตตร์ได้ทํานายแแนวโน้มของกการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิโลกกในอนาคตไว้ ศึกษาได้จากกราฟแสดงแนนวโน้มของอุณหภู ณ มิอากาศในอนาคตแล ะในอดีต ดังนี้

ที่มา : หนังสือสื่อการรเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

- a และ b แสดงงแนวโน้มของงการเปลี่ยนแปปลงอุณหภูมโลกในอนาคต
ิโ ต
- c แสดงแนวโน้น้มของการเปลีลี่ยนแปลงอุณ
ณหภูมิโลก ในออดีต
- จะพบว่าในอดีดีตการเปลี่ยนแปลงอุ
น ณหภูภูมิของโลกจะะเปลี่ยนแปลงงเพียงเล็กน้อ ย จึงไม่มีผลตต่อสิ่งมีชีวิตแลละ
สิ่งแวดล้อมมมาก
- แต่แนวโน้มของการเปลี่ยนแแปลงอุณหภูมมิิของโลกในอนนาคตค่อนข้างมากและรวด
ง ดเร็ว ผลกระทบจึงเกิดมาก
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี
ก ่ยนแปปลงอุณหภูมิข องโลก ได้แก่ ปัจจัยทางธรรมชาติ และะปัจจัยที่เกิดจากการกระททํา
ของมนุษย์
134

6.1 ปัจจัยทางธรรมชาติ
1. ตําแหน่งภูมิประเทศบนพื้นผิวโลก
เช่น บริเวณเส้นศูนย์สูตรจะได้รับพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์มากกว่าบริเวณอื่น อุณหภูมิบริเวณเส้น
ศูนย์สูตรจึงสูงกว่าบริเวณอื่น
ส่วนบริเวณขั้วโลก อากาศจะเย็นจัดและมีน้ําแข็งปกคลุมอยู่ตลอดเวลาจึงมีอุณหภูมิต่ํากว่าบริเวณอื่นๆ
2. ลม
ทําให้อุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลงไปตามชนิดของลมที่พัดผ่าน เช่น บริเวณที่มีลมร้อนพัดผ่านจะทําให้
อุณหภูมิของอากาศในบริเวณนั้นสูงขึ้นด้วย ส่วนบริเวณที่มีลมเย็นหรือลมที่พัดมาจากที่ที่มีอากาศหนาวเย็นหรือความกด
อากาศสูง จะทําให้อุณหภูมิของอากาศบริเวณนั้นต่ําลงไปด้วย เช่น เมื่อลมทะเลพัดผ่านพื้นที่บริเวณหนึ่งนานประมาณ
15 -20 นาที จะทําให้อุณหภูมิของอากาศในพื้นที่บริเวณนั้นลดลงประมาณ 7 - 8°C เป็นต้น
3. กระแสน้ําในมหาสมุทร
สามารถทําให้อุณหภูมิของโลกเปลี่ยนแปลง เช่น บริเวณที่มีกระแสน้ําอุ่นไหลผ่านจะทําให้อุณหภูมิของ
อากาศบริเวณนั้นสูงขึ้นแต่ถ้ามีกระแสน้ําเย็นไหลผ่านก็จะทําให้อากาศในบริเวณนั้นลดต่ําลง
4. เมฆ
ที่ปกคลุมท้องฟ้าจะช่วยกั้นพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ โดยละอองน้ําในก้อนเมฆจะ ดูดซับพลังงาน
ความร้อนจากดวงอาทิตย์เอาไว้ และในขนาดเดียวกันก็จะช่วยกั้นความร้อนที่พื้นผิวโลกคายออกไปด้วย
ในวันที่ท้องฟ้ามีเมฆน้อย โลกจะได้รับพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ประมาณร้อยละ 80 ซึ่งปริมาณ
ความร้อนที่โลกได้รับนี้จะเปลี่ยนแปลงอยู่ในช่วงร้อยละ 0 - 45
5. ภูเขาไฟระเบิด
คือ ช่องทางระบายแรงดันของพลังงานที่อยู่ในรูปแมกมาหรือหินที่หลอมเหลวออกมาสู่นอกโลก การระเบิด
ของภูเขาไฟจําทําให้มีแมกมาจํานวนมากถูกพ่นออกมา ส่วนที่เป็นแก๊สจะฟุ้งกระจายออกไปในบรรยากาศส่วนทีเหลือ
เรียกว่า ลาวาเมื่อภูเขาไปเย็นลงจะกลายเป็นหินสีดํา ความร้อนจากการระเบิดของภูเขาไฟจะทําให้อุณหภูมิของโลก
บริเวณนั้นสูงขึ้นเป็นอย่างมากซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต ทําให้มนุษย์ สัตว์ และพืชตายไปจํานวนมาก สิ่งแวดล้อมและ
ระบบนิเวศถูกทําลาย อุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนไป
6. ไฟป่า
เกิดจากลมที่พั ด แรงทําให้เกิ ดต้ น ไม้ เกิ ดการเสีย ดสีกั น จนเกิ ด ความร้ อนพอที่ จะทํ าให้ เกิ ด การลุ ก ไหม้
โดยเฉพาะในบริเวณที่แห้งแล้ง

6.2 ปัจจัยที่เกิดจากการกระทําของมนุษย์
1. การทําลายป่าไม้ การเผาป่าที่เป็นต้นกําเนิดของน้ํา
2. การใช้ น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ทั้ ง ยานพาหนะ และโรงงานอุ ต สาหกรรม การหุ ง ต้ ม นครั ว เรื อ น ทํ า ให้ เ กิ ด แก๊ ส
คาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้ํา เขม่า และแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์
3. การสร้างอาคารสูงทําให้ขวางกั้นการถ่ายเทของอากาศ
4. การใช้เครื่องปรับอากาศและสารเคมี
5. การเน่าเปื่อยของขยะมูลฝอย ทําให้เกิดแก๊สมีเทน (CH4) ซึ่งเป็นแก๊สเรือนกระจกชนิดหนึ่ง
135

6.3 ผลกระทบที่เกิดจากการกระทําของมนุษย์
การกระทบของมนุษย์ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก ซึ่งมีผลก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อมมากกว่าปรากฏการณ์ทางธรรมขาติมีหลายประการ ดังนี้
1. ปรากฏการณ์เรือนกระจก
ปรากฏการณ์เรือนกระจกเป็นปรากฏการณ์ที่โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นกว่าที่ควรจะเป็น สิ่งที่นักเรียนควรทราบ
เกี่ยวกับการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกมีดังนี้
โลกได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่างๆ รังสียูวี เป็นรังสีที่มีความยาวคลื่นสั้น
ความถี่สูง มีพลังงานมาก บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์มีแก็สโอโซน ช่วยกรองรังสียูวีหรืออัลตราไวโอเลตไว้บางส่วน ทํา
ให้รังสีนี้ผ่านลงมายังผิวโลกในปริมาณที่เหมาะสม ทําให้โลกอบอุ่น
ในเวลากลางคืนโลกคายพลังงานความร้อนในรูปรังสีอินฟราเรด ซึ่งเป็นรังสีคลื่นยาว พลังงานต่ํา รังสีอินฟราเรด
บางส่วนจะสะท้อนออกไปยังบรรยากาศ ผ่านชั้นแก๊สเรือนกระจกและชั้นโอโซนออกสู่บรรยากาศนอกโลกรังสีอินฟราเรด
ส่วนใหญ่จะสะท้อนกลับเข้าสู่โลกเพื่อให้เกิดความอบอุ่นในเวลากลางคืน แต่ถ้าชั้นแก๊สเรือนกระจกหนามากกว่าเดิม จะ
ทําให้รังสีอินฟราเรดผ่านชั้นแก๊สเรือนกระจกออกไปได้น้อย และสะท้อนกลับเข้าสู่โลกมากขึ้น ทําให้อุณหภูมิของโลก
ร้อนขึ้น
แก๊สเรือนกระจก
เป็นแก๊สที่ดูดซับรังสีอินฟราเรด ซึ่งเป็นรังสีความร้อน และสะท้อนกลับเข้าสู่โลกได้ ถ้าแก๊สในชั้นนี้ไม่หนามาก
การสะท้อนกลับของรังสีอินฟราเรดจะอยู่ในปริมาณที่เหมาะสม ให้ความอบอุ่น มิฉะนั้นในเวลากลางคืนอากาศจะเย็นจัด
แต่ถ้าชั้นแก๊สนี้หนาเกินไป จะทําให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นกว่าเดิมมากขึ้นจนเกิดภาวะโลกร้อนศึกษาชนิดของแก๊สเรือน
กระจกและผลกระทบที่เกิดขึ้นได้จากตารางต่อไปนี้
ตารางแสดงชนิดของแก๊สเรือนกระจก แหล่งกําเนิด และผลกระทีท่ ําให้โลกร้อน
ชนิดของแก๊สเรือนกระจก กิจกรรมที่ทําให้เกิดแก๊สเรือนกระจก ผลทีท่ ําให้โลกร้อน
- การเผาไหม้ ข องเชื้ อ เพลิ ง รถยนต์ อุ ต สาหกรรม อาคาร
1. คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 57%
บ้านเรือน ไฟไหม้ป่า เผาขยะ
- เกิดจากอุตสาหกรรมประเภทยาฆ่าแมลง เครื่องทําความเย็น
2. สารซีเอฟซี (CFC3)* 25%
สเปรย์
- เกิดจากการย่อยสลายของซากพืชซากสัตว์เช่น มูลสัตว์
- มากกว่า 1 ใน 3 ส่วนของโลก ประมาณ 900 ล้านตันต่อปี
3. แก๊สมีเทน (CH4) เกิดจากแบคทีเรียที่ผลิตมีเทน ที่อาศัยในกระเพาะอาหารสัตว์ 12%
ประเภทเอื้อง เช่น วัว ควาย แพะ แกะ ย่อยสลายพืช และ
ปล่อยแก๊สนี้เมื่อเรอหรือผายลม
- การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง
4. แก๊สไนตรัสออกไซต์(N2O) 6%
- อุตสาหกรรมที่ใช้กรดไนตริก การผลิตไนลอน พลาสติก
* สารซีเอฟซีหรือคลอโรฟลูออโรคาร์บอนมีธาตุคาร์บอน(C), ฟลูออรีน(F) และคลอรีน(Cl) เป็นองค์ประกอบมีหลายชนิด เช่น CFCl3, CF2Cl2, C2F3Cl3, C2F4Cl2, C2F5Cl

นอกจากนี้ยังมีไอน้ําในชั้นแก๊สเรือนกระจก ซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ (ไม่ใช่เมฆ เมฆจะมีหยดน้ํากับผลึก


น้ําแข็ง) ก็จะช่วยกักเก็บความร้อนได้ดีเช่นกัน
1336

2. รูโหว่โอโโซน
บรรรยากาศชั้นโออโซนจะช่วยกรองรังสียูวีให้ผ่านลงมายังโลกในปริ
โ มาณณที่พอเหมาะแแก่การดํารงชีชีวิตของสิ่งมีชีวิวิต
ในยุคอุตสาหหกรรมที่มีการรใช้สาร CFCss ในเครื่องทําาความเย็น ใช้ช้ในสเปรย์ฉีดพ่พน การทําโฟฟม ทําให้สาร CFCs หลุดลออย
ขึ้นไปบนชั้นนบรรยากาศ และไปทํ
แ าลายยโอโซน ทําให้ห้เกิดรูโหว่ในชชั้นโอโซน รังสียูวีจากภายนนอกจึง ทะลุผ่ผานลงมายังโลลก
ได้มากขึ้น ทําให้จุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตเล็กๆ ตาย รววมทั้งไปทําลาายเซลล์ผิวหนััง ทําให้เกิดโรรคมะเร็งผิวหนนัง และทําให้้ตา
เป็นต้อกระจจก และที่สําคัญก็คือทําให้อุอณหภูมิของโลลกสูงขึ้นด้วย

ที่มา : หนังสือสื่อการรเรียนรู้ฯ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2

3. ภาวะโลกกร้อน
ิ ่ยของพื้นผิวโลกและพื้นนผิวน้ําในมหาาสมุทรสูงขึ้น ซึ่ง
ปราากฏการณ์ภาวะโลกร้อน คือ ปรากฏการรณ์ที่อุณหภูมเฉลี
มีสาเหตุมาจจากชั้นแก๊สเรือนกระจกหน
อ นาขึ้นและเกิดรูโหว่โอโซน
ผลของภาวะโลกกร้อน
11. อุณหภูมิเฉลีลี่ยในแต่ละพื้นที่สูงขึ้น ทําใให้เกิดคลื่นรังสี
ง ความร้อนซึซึ่งพบว่ามีผู้เสีสยชีวิตจากคลืนรั
่ งสีความร้อน

เป็นจํานวนมมากและเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
22. น้ําแข็งขั้วโลลกและธารน้าแข็
ํา งจะละลาาย ระดับน้ําทะเลสูท งขึ้น ทังในมหาสมุ
้ง ทรรอินเดียและแแปซิฟิกส่งผลใให้
เกิดน้ําท่วมชชายฝั่ง พื้นดินลดลง
น พื้นน้ํามากขึ้น
33. พายุเขตร้อนทวี
น ความรุนแรงมากขึ้น เกิกิดภัยแล้ง จํานวนวั
า นที่มีอากาศร้
า อนมากกขึ้น
44. สิ่งมีชีวิตในทะเล มหาสมมุทร จะลดลง เนื่องจากอุณหภู ณ มิของน้ําจะเพิ
จ ่มสูงขึ้นมมากกว่าปกติถึถงึ 6°C ปะกาารัง
จะถูกทําลายย แหล่งอาหารของมนุษย์จะลดลง เกิดภภาวะขาดแคลนอาหาร
การรลดภาวะโลกกร้อน
11. ลดกระบวนนการที่ทําให้เกิดแก๊สคาร์บออนไดออกไซดด์ลดปริมาณกการใช้เชื้อเพลิ ง หันมาใช้พลัลงงานทดแทนนที่
ทําไม่ให้เกิดแก๊สคาร์บอนไไดออกไซด์ เชช่น พลังงานกการใช้แสงอาทิทิตย์
22. ลดการเน่าเสียของขยะมูมูลฝอยที่ทําให้ห้เกิดแก๊สมีเทนน
33. ลดการใช้สารซีเอฟซีโดยยใช้สารอื่นทดแทน
44. ลดการใช้กระดาษ
ก นําสิ่งของที่ใช้แล้้วกลับมาใช้ใหม่
ห กระดาทําจากเยื
า ่อไม้ กการใช้กระดาษษมากขึ้นทําใหห้มี
การตัดไม้มาากขึ้น พื้นที่เสียความชุ่มชืน้
1337

111 มลพิพิษทางงอากาศศ
เกิดดจากการกระททําของมนุษย์์และเกิดจากธธรรมชาติ เช่น ภูเขาไฟระเบบิด มลพิษทา งอากาศ ก่อให้เกิดผลกระททบ
ต่อสิ่งมีชีวิตแและสิ่งแวดล้อม

โดยยแบ่งออกเป็น
1. ฝุ่นละออง
ล เขม่า
- เกิดจากโรงงานไฟ
ด ฟฟ้า โรงงานปปูนซีเมนต์ แลละการเผาไหม้ม้ที่ไม่สมบูรณ์
- จะสส่งผลให้อากาศขุ่นมัว เป็นโโรคภูมิแพ้ เป็นอั น นตรายต่อระบบหายใจ
2. แก๊สจากสารประ
ส กอบไฮโดรคาาร์บอน
- เกิดจากการเผาไ
ด หม้เชื้อเพลิง การใช้สารซีเอฟซี
อ และการรสูบบุหรี่
- จะสส่งผลให้เป็นพิษต่อการหายยใจ และเป็นโรคมะเร็ง
3. แก๊สคาร์
ส บอนมอนนอกไซด์ (COO) เป็นแก๊สไมม่มสี ี ไม่มีกลิ่น
- เกิดจากการเผาไ
ด หม้ไม่สมบูรณ ณ์
- จะสส่งผลให้เวียนศศีรษะ ปวดศีรรษะ ถ้าได้รับมากอาจจะเสี
ม ยชีวิตได้
4. แก๊สซั
ส ลเฟอร์ไดอออกไซด์ (SO2) เป็นแก๊สไมม่มสี ี มีกลิน่ ฉุน
- เกิดจากการใช้
ด นามั ป เช่น ถ่านหิหิน น้ํามันดีเซลล น้ํามันเบนซิซิน การระเบิด
้ํา นเชื้อเพลิงทที่มีกํามะถันปน
ของงภูเขาไฟ
- จะสส่งผลให้เป็นพิษต่อการหายยใจเป็นอย่างมมาก และทําใหห้เกิดฝนกรด
5. แก๊สไนโตรเจนได
ส ออกไซด์ (NOO2) เป็นแก๊สมี ส สีน้ําตาลแดดง กลิ่นฉุน
- เกิดจากฟ้
ด าผ่า กาารเผาไหม้เชือ้อเพลิง และโรงงานอุตสาหกกรรม
- จะสส่งผลให้เป็นพิษต่อการหายยใจ และทําให้ห้เกิดฝนกรด

ฝนกรด
เกิดดจาก น้ําฝนลละลายแก๊สคาร์บอนไดอออกไซด์(CO2) แก๊สซัลเฟอร์ร์ไดออกไซด์ (SO2) และแก๊สไนโตรเจนนได
ออกไซด์ (NO2) ที่เกิดจากกการเผาไหม้้ของน้ํามันเชื้ออเพลิงที่ใช้กบรถยนต์
ับ โรงงงานอุตสาหกรรรม ซึ่งจะทําให้
ใ น้ําฝนมีสภาพ

เป็นกรด
ถ้านน้ําฝนมีค่า pHH ต่ํากว่า 5.6 จะเรียกว่า ““ฝนกรด” ซึ่งแก๊สซัลเฟอร์ร์ไดออกไซด์ (SO2) และแแก๊สไนโตรเจนนได
ออกไซด์ (NNO2) มีผลทําให้ ใ เกิดฝนกรดดมากที่สุด

ที่มา : หนังสือเรียนราย วิิ ชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2


138

ผลกระทบทีเ่ กิดขึ้นจากฝนกรด
1. อาคารบ้านเรือนผุกร่อน โดยเฉพาะส่วนที่เป็นหินปูนและโลหะเกิดสนิม
2. พืชผักต่างๆจะตาย เนื่องจากภาวะที่เป็นกรดในดิน ในน้ํา
3. สัตว์ที่กินหญ้าหรือพืชผักต่างๆจะล้มตาย เนื่องจากกินหญ้าที่มีน้ําฝนที่เป็นกรดติดตามใบไม้ใบหญ้าเข้าไป
4. โบราณสถานที่มีค่าจะถูกฝนกรดกัดกร่อน ผุพัง
5. ประชาชนที่อาศัยยู่บริเวณนั้นเกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคเกี่ยวกับทางเดินลมหายใจ ผิวหนัง และภูมแิ พ้
1339

แแบบฝึกหัหด การเปปลี่ยนแปลงอุณหภูมิแลละสภาพอากกาศของโลกก
และมลพิษทางอากาศ
ษ ศ
ชื่อ – นามสกุล _______________________________________________________ ชั้น มม.1/______ เลขที
เ ่ _______

คําสั่ง จงเติติมคําหรือข้อความลงในช่
ค องว่
ง างให้ถูกต้อง
1. ปรากฏกาารณ์เรือนกระะจกเกิดจากโลลกได้รับรังสีชนิดใดมาก ______________________________________________
และไม่สาามารถสะท้อนรั
น งสีชนิดใดอออกสู่บรรยากกาศภายนอกได้ __________________________________________
2. แก๊สเรือนนกระจก ได้แก่ก __________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
3. สารซีเอฟฟซีประกอบด้วยธาตุ
ว ______________________________________________________________________
4. บรรยากาาศชั้นที่มีโอโซซนมีประโยชน์ต่อโลกอย่างไไร ____________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
5. สารทีท่ ําลลายโอโซนในบบรรยากาศ คือ _______________________________________________________________
มีผลทําให้ห้ ____________________________________________________________________________________
ซึ่งจะทําใหห้อุณหภูมิของอากาศเป็นอย่
อ างไร ___________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
6. ภาวะโลกกร้อนเกิดจากสสาเหตุใด ______________
_______________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
7. แก๊สที่ทําใให้เกิดฝนกรดด ได้แก่ _______________________________________________
_______________________
___________________________________________________________________________________________
8. แก๊สที่จัดเป็นแก๊สมลพิพิษในอากาศ ได้
ไ แก่ ____________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
9. สารมลพิษษทางอากาศทีที่อาจก่อให้เกิดโรคมะเร็ง คือ ____________________________________________________
ซึ่งเกิดจากก ____________________________________________________________________________________
140

Note : _________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
141

_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
142

_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
143

เอกสารอ้างอิง
บัญชา แสนทวี และลัดดา อินทร์พิมพ์. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม1. กรุงเทพมหานคร :
สํานักพิมพ์วัฒนาพานิช.

บัญชา แสนทวี และลัดดา อินทร์พิมพ์. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม2. กรุงเทพมหานคร :


สํานักพิมพ์วัฒนาพานิช.

ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ, รัตนากรณ์ อิทธิไพสิฐพันธ์, และสุภาภรณ์ หรินทรนิตย์. สื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างทักษะตาม


มาตรฐานและตัวชี้วัดชั้นปี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 เล่ม1. กรุงเทพมหานคร :
นิยมวิทยา.

ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ, รัตนากรณ์ อิทธิไพสิฐพันธ์, และสุภาภรณ์ หรินทรนิตย์. สื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างทักษะตาม


มาตรฐานและตัวชี้วัดชั้นปี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 เล่ม2. กรุงเทพมหานคร :
นิยมวิทยา.

You might also like