ACFrOgCgPj9POJV27W9tLUNSKJJA3efKQV5z6zuYUn0SLJBwRwuDbJuEJG9bNDd0H4SbwGFgo vBeSMQYomEt 5HdnuTN70T4IBwgVB4HWa9HDqqkS2l1 CJ4jNEQjb4hLH1iCzMIzsBV1OeAqhG

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 24

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์

รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มัธยมศึกษาปที่ 3

จงเลือกคำตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. ในทุงหญาแหงหนึ่งมีสิ่งมีชีวิตหลายชนิด เชน หญา ตนไม กวาง กระตาย แมลง มด เสือ และงู
โดยสิ่งมีชีวิตเหลานี้มีความสัมพันธกันทั้งทางตรงและทางออม
นอกจากนี้สิ่งมีชีวิตยังมีความสัมพันธกับแหลงที่อยูอาศัยดวยเรียกความสัมพันธดังกลาววาอยางไร (มฐ. ว
1.1 ม.3/1)
1. โซอาหาร 2. ระบบนิเวศ
3. กลุมสิ่งมีชีวิต 4. สายใยอาหาร
2. ขอใดไมใชปจจัยทางกายภาพในระบบนิเวศ (มฐ. ว 1.1 ม.3/1)
1. น้ำ 2. ดิน
3. ปาไม 4. อุณหภูมิ
3. ขอใดคือความหมายของประชากร (มฐ. ว 1.1 ม.3/1)
1. สิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลกในชวงเวลาหนึ่ง
2. สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อยูในแหลงที่อยูเดียวกันในชวงเวลาหนึ่ง
3. สิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดที่อยูในแหลงที่อยูเดียวกันในชวงเวลาหนึ่ง
4. สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่กระจายอยูตามแหลงตางๆ ทั่วโลกในชวงเวลาหนึ่ง
4. เหตุใดตั๊กแตนบางชนิดจึงมีรูปรางเหมือนใบไม (มฐ. ว 1.1 ม.3/1)
1. ตั๊กแตนมีการปรับตัวทางดานสรีระ
2. ตั๊กแตนมีการปรับตัวทางดานรูปราง
3. ตั๊กแตนสามารถเปลี่ยนรูปรางใหกลายเปนใบไมได
4. ตั๊กแตนมีการปรับตัวทางดานพฤติกรรมและการแสดงออก
5. ขอใดไมใชพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตที่ไดรับผลกระทบจากอุณหภูมิ (มฐ. ว 1.1 ม.3/6)
1. การจำศีลของกบ
2. การอพยพยายถิ่นของนก
3. หมีขั้วโลกมีขนยาวปกคลุม
4. การหันตามดวงอาทิตยของดอกทานตะวัน

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 1


6. ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตรูปแบบใดที่มีผลตอการควบคุมสมดุลของจำนวนประชากร (มฐ. ว 1.1
ม.3/10)
1. ภาวะปรสิต 2. ภาวะลาเหยื่อ
3. ภาวะพึ่งพากัน 4. ภาวะการไดรับประโยชนรวมกัน
7. ขอใดคือการอยูรวมกันที่มีความสัมพันธแบบ -, - (มฐ. ว 1.1 ม.3/2)
ก. ภาวะอิงอาศัย ข. ภาวะพึ่งพากัน
ค. ภาวะไดประโยชนรวมกัน
1. ขอ ก เทานั้น 2. ขอ ข เทานั้น
3. ขอ ข และ ค 4. ขอ ก ข และ ค
8. ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตคูใดที่เหมือนกัน (มฐ. ว 1.1 ม.3/2)
ก. เห็บบนตัวสุนัข ข. กาฝากบนตนไมใหญ
ค. กลวยไมบนตนไมใหญ ง. แบคทีเรียในรากพืชตระกูลถั่ว
1. ขอ ก และ ข 2. ขอ ข และ ค
3. ขอ ก และ ง 4. ขอ ข และ ง
9. ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตใดทีแ่ ตกตางจากขออื่น (มฐ. ว 1.1 ม.3/2)
1. พยาธิในลำไสหนู 2. โพรโทซัวในลำไสปลวก
3. ราที่อาศัยอยูรวมกับสาหราย 4. แบคทีเรียไรโซเบียมในรากพืชตระกูลถั่ว
10. ปจจัยใดที่สำคัญที่สุดที่ทำใหสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศมีความสัมพันธกัน (มฐ. ว 1.1 ม.3/4)
1. อาหาร 2. พลังงาน
3. ที่อยูอาศัย 4. การหมุนเวียนของสาร
11. สิ่งมีชีวิตในขอใดที่จัดเปนผูบริโภคประเภทเดียวกัน (มฐ. ว 1.1 ม.3/4)
1. ไก วัว จิ้งจก 2. เสือ แรด สิงโต
3. กบ คางคก ยีราฟ 4. มา แกะ กระตาย
12. นกพิราบกินขาวสารเปนอาหารและยังสามารถกินหนอนเปนอาหารไดดวยควรจัดอยูในผูบริโภคกลุมใด
(มฐ. ว 1.1 ม.3/4)
1. ผูบริโภคพืช 2. ผูบริโภคสัตว
3. ผูบริโภคทั้งพืชและสัตว 4. ผูบริโภคซากพืชซากสัตว
13. สิ่งมีชีวิตที่สามารถเปลี่ยนสารอนินทรียใหเปนสารอินทรียคือขอใด (มฐ. ว 1.1 ม.3/4)
1. ผูผลิต 2. ผูบริโภค
3. ผูยอยสลาย 4. ถูกตองทั้งขอ 1 และ 3

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 2


14. สิ่งมีชีวิตใดที่ไดรับพลังงานนอยที่สุดในพีระมิดพลังงาน (มฐ. ว 1.1 ม.3/3)
1. ผูผลิต 2. ผูบริโภคลำดับ 1
3. ผูบริโภคลำดับสุดทาย 4. ผูยอยสลายอินทรียสาร
15. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับโซอาหาร (มฐ. ว 1.1 ม.3/3)
1. การเขียนโซอาหารนั้นตองหันหัวลูกศรเขาหาผูที่กิน
2. แสดงความสัมพันธดานการบริโภคของสิ่งมีชีวิตในแหลงที่อยูตางๆ
3. แสดงความสัมพันธดานการถายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลก
4. ไมมีขอใดถูกตอง
16. ถากระตายกินหญาที่มีพลังงานรวม 200 กิโลแคลอรี สุดทายเหยี่ยวจะไดรับพลังงานที่สงตอมาถึงเทาไร
(มฐ. ว 1.1 ม.3/3)
1. 0.2 แคลอรี 2. 200 แคลอรี
3. 2 กิโลแคลอรี 4. 20 กิโลแคลอรี
17. วัฏจักรของสารใดไมจำเปนตองหมุนเวียนผานสิ่งมีชีวิต (มฐ. ว 1.1 ม.3/6)
1. วัฏจักรน้ำ 2. วัฏจักรคารบอน
3. วัฏจักรไนโตรเจน 4. วัฏจักรฟอสฟอรัส
18. วัฏจักรคารบอนในธรรมชาติแกสคารบอนไดออกไซดจะถูกนำไปใชในกระบวนการใด (มฐ. ว 1.1 ม.3/6)
1. กระบวนการหายใจ 2. กระบวนการคายน้ำ
3. กระบวนการยอยสลาย 4. กระบวนการสังเคราะหดวยแสง
19. การสังเคราะหดวยแสง การหายใจ และการขับถายเปนกระบวนการที่ทำใหเกิดวัฏจักรใด (มฐ. ว 1.1
ม.3/6)
1. วัฏจักรน้ำ 2. วัฏจักรคารบอน
3. วัฏจักรไนโตรเจน 4. วัฏจักรฟอสฟอรัส
20. ขอใดไมใชบทบาทของแบคทีเรียตอการหมุนเวียนไนโตรเจน (มฐ. ว 1.1 ม.3/6)
1. ใหพลังงานที่จำเปนตอการหมุนเวียนไนโตรเจน
2. เปลี่ยนไนโตรเจนในอากาศใหสามารถนำไปใชประโยชนได
3. เปลี่ยนสารประกอบไนโตรเจนใหกลับไปเปนไนโตรเจนอิสระในบรรยากาศ
4. ทำใหมีการหมุนเวียนของไนโตรเจนจากภายนอกเขาสูสิ่งมีชีวิตและกลับคืนสูธรรมชาติ
21. ขอใดจัดเรียงองคประกอบในนิวเคลียสจากใหญไปเล็กไดถูกตอง (มฐ. ว 1.3 ม.3/1)
1. โครโมโซม → ยีน → ดีเอ็นเอ 2. โครโมโซม → ดีเอ็นเอ → ยีน
3. ดีเอ็นเอ → โครโมโซม → ยีน 4. ดีเอ็นเอ → ยีน → โครโมโซม

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 3


22. การแบงเซลลแบบใดที่ทำใหจำนวนโครโมโซมในเซลลลดลงครึ่งหนึ่งจากเซลลเดิม (มฐ. ว 1.3 ม.3/4)
1. ไมโทซิส 2. ไมโอซิส I
3. ไมโอซิส II 4. ถูกตองทุกขอ
23. ในการแบงเซลลแบบไมโทซิสระยะใดที่โครมาทิดถูกดึงไปยังขั้วของเซลล (มฐ. ว 1.3 ม.3/4)
1. โพรเฟส 2. เมทาเฟส
3. แอนาเฟส 4. เทโลเฟส
24. ขอใดไมถูกตอง (มฐ. ว 1.3 ม.3/4)
1. การแบงเซลลแบบไมโอซิสจะมีขั้นตอนการแบงเซลล 2 ขั้นตอน
2. การแบงเซลลแบบไมโทซิสเปนการแบงเพื่อเพิ่มจำนวนเซลลรางกาย
3. การแบงเซลลแบบไมโทซิสเมื่อแบงเสร็จแลวจะมีจำนวนโครโมโซมเทาเดิม
4. การแบงเซลลแบบไมโอซิสเมื่อแบงในแตละครั้งเสร็จแลวจะไดเซลลสืบพันธุ 2 เซลล
25. ขอใดไมถูกตอง (มฐ. ว 1.3 ม.3/2)
1. ลักษณะเดนสามารถปรากฏไดเมื่อมีแอลลีลเดนเพียงแอลลีลเดียว
2. ลักษณะเดนสามารถปรากฏไดเมื่อแอลลีลเดนเขาคูกัน 2 แอลลีล
3. ลักษณะดอยสามารถปรากฏไดเมื่อมีแอลลีลดอยเพียงแอลลีลเดียว
4. ลักษณะดอยสามารถปรากฏไดเมื่อแอลลีลดอยเขาคูกัน 2 แอลลีล
26. ลักษณะความผิดปกติทางพันธุกรรมขอใดที่เกิดจากความผิดปกติของยีนเดนบนออโตโซม (มฐ. ว 1.3
ม.3/5)
1. ตาบอดสี 2. ฮีโมฟเลีย
3. ทาลัสซีเมีย 4. ทาวแสนปม
27. ลักษณะผิดปกติทางพันธุกรรมขอใดที่เกิดจากความผิดปกติของยีนดอยบนออโตโซม (มฐ. ว 1.3 ม.3/5)
1. คนแคระ 2. ผิวเผือก
3. G-6-PD 4. กลามเนื้อแขนขาลีบ
28. ลักษณะผิดปกติทางพันธุกรรมขอใดที่มีโอกาสเกิดในเพศชายมากกวาเพศหญิง (มฐ. ว 1.3 ม.3/5)
1. ตาบอดสี 2. ทาลัสซีเมีย
3. ทาวแสนปม 4. เซลลเม็ดเลือดแดงเปนรูปเคียว

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 4


29. สามีภรรยาคูหนึ่งไปตรวจภาวะของการเปนโรคทาลัสซีเมีย ปรากฏวามีภาวะเปนพาหะของโรคทั้งคู
อยากทราบวาอัตราสวนที่สามีภรรยาคูนี้จะมีลูกที่เปนปกติและเปนโรคทาลัสซีเมียเปนเทาไร (มฐ. ว 1.3
ม.3/3)
1. 1 : 1 2. 1 : 3
3. 3 : 1 4. 4 : 0
30. ครอบครัวหนึ่งมีลูกที่มีหมูเลือด O พอและแมของครอบครัวนี้ควรมีลักษณะหมูเลือดตามขอใด (มฐ. ว 1.3
ม.3/3)
1. IAIB × IAIB 2. IAIA × IAi
3. IAIB × IBi 4. IAi × IBi
31. จากขอ 30 พอและแมคูนี้มีโอกาสมีลูกที่มีหมูเลือด A รอยละเทาไร (มฐ. ว 1.3 ม.3/3)
1. 25 2. 50
3. 75 4. 100
พิจารณาขอความตอไปนี้ แลวตอบคำถามขอ 32-33
ฮีโมฟเลียเปนโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากแอลลีลดอย
ถาที่เปนปกติแตงงานกับหญิงที่เปนพาหะของโรคฮีโมฟเลีย
กำหนดให  = แอลลีลเดน 
= แอลลีลดอย
32. ขอใดคือลักษณะการเขาคูของแอลลีลของลูกที่เกิด (มฐ. ว 1.3 ม.3/2)
1. XX XX XY XY
  2. XX X X X Y X Y
    

3. XX XX XY XY


 4. XX XX X Y XY
 

33. โรคทางพันธุกรรมใดที่ผูปวยจะมีจำนวนโครโมโซมเทากับคนปกติ (มฐ. ว 1.3 ม.3/5)


1. กลุมอาการดาวน 2. กลุมอาการพาทัว
3. กลุมอาการเอ็ดเวิรด 4. กลุมอาการคริดูชาต
พิจารณาขอความตอไปนี้แลวตอบคำถามขอ 34-40
“เมนเดลเลือกถั่วลันเตาตนสูงผสมกับถั่วลันเตาตนเตี้ย โดยเรียกรุนนี้วารุนพอแมหรือรุน P
เมื่อผสมกันจะไดรุนลูกออกมา เรียกวา รุน F1 หลังจากนั้นเมนเดลนำลูกรุน F1
มาผสมพันธุภายในดอกเดียวกัน (self cross) ออกมาเปนรุนหลานหรือรุน F2”

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 5


34. ลักษณะความสูงของลำตนถั่วลันเตาในรุน F1 มีลักษณะอยางไร (มฐ. ว 1.3 ม.3/2)
1. ลำตนสูงทั้งหมด 2. ลำตนเตี้ยทั้งหมด
3. ลำตนสูงรอยละ 50 4. ลำตนสูงรอยละ 75
35. อัตราสวนของจีโนไทปในรุน F2 เปนอยางไร (มฐ. ว 1.3 ม.3/3)
1. 4 : 0 2. 3 : 1
3. 2 : 2 4. 1 : 2 : 1
36. อัตราสวนของฟโนไทปในรุน F2 เปนอยางไร (มฐ. ว 1.3 ม.3/3)
1. 4 : 0 2. 3 : 1
3. 2 : 2 4. 1 : 2 : 1
37. การทดลองของเมนเดลในรุน F2 ตนพอและแมมีลักษณะลำตนเปนอยางไร (มฐ. ว 1.3 ม.3/2)
1. สูงพันธุแททั้งคู 2. สูงพันทางทั้งคู
3. สูงพันธุแทกับสูงพันทาง 4. สูงพันธุแทกับเตี้ย
38. ถาผสมถั่วลันเตาฝกอวบสีเขียวพันธุแทกับฝกแฟบสีเหลืองพันธุแทจะไดรุนลูกที่มีลักษณะอยางไร
(เมื่อฝกอวบและฝกสีเขียวเปนลักษณะเดน) (มฐ. ว 1.3 ม.3/2)
1. ฝกอวบสีเขียว 2. ฝกอวบสีเหลือง
3. ผักแฟบสีเขียว 4. ฝกแฟบสีเหลือง
39. จากขอ 38 ถานำรุนลูกมาผสมกันเองจะไดอัตราสวนฟโนไทปเปนอยางไร (มฐ. ว 1.3 ม.3/3)
1. ฝกอวบสีเหลือง : ฝกอวบสีเขียว : ฝกแฟบสีเหลือง : ฝกแฟบสีเขียว = 9 : 3 : 3 : 1
2. ฝกอวบสีเหลือง : ฝกอวบสีเขียว : ฝกแฟบสีเหลือง : ฝกแฟบสีเขียว = 1 : 3 : 3 : 9
3. ฝกอวบสีเหลือง : ฝกอวบสีเขียว : ฝกแฟบสีเหลือง : ฝกแฟบสีเขียว = 3 : 9 : 3 : 1
4. ฝกอวบสีเหลือง : ฝกอวบสีเขียว : ฝกแฟบสีเหลือง : ฝกแฟบสีเขียว = 3 : 9 : 1 : 3
40. จากขอ 39 รุนลูกฝกอวบสีเหลืองและฝกแฟบสีเขียวควรมีจีโนไทปแบบใด ตามลำดับ
(ถาใหฝกอวบแทนดวย F ฝกแฟบแทนดวย f ฝกสีเขียวแทนดวย G และฝกสีเหลืองแทนดวย g) (มฐ. ว
1.3 ม.3/3)
1. FFGG, ffgg 2. FFgg, ffGG
3. ffGG, FFgg 4. Ffgg, FFGG

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 6


41. ขอใดไมถูกตอง (มฐ. ว 1.3 ม.3/8)
1. เทคโนโลยีสมัยใหมถูกแกไขใหมีคุณภาพจนไมมีผลกระทบตอมนุษยเลย
2. การนำความรูทางดานพันธุศาสตรมาประยุกตใชทำใหคุณภาพชีวิตของมนุษยดีขึ้น
3. มนุษยไดนำความรูทางดานพันธุศาสตรมาใชประโยชนทางการเกษตรนานมากแลว
4. ปจจุบันความรูทางดานพันธุศาสตรถูกนำมาใชหลายดานรวมทั้งดานอาชญากรรมดวย
42. การคัดเลือกพันธุผสมที่เกิดจากการผสมในสายพันธุเดียวกันมีขอเสียหลายประการยกเวนขอใด (มฐ.
ว 1.3 ม.3/7)
1. คงลักษณะเดนประจำสายพันธุนั้นๆ ไว
2. มีโอกาสที่ลักษณะดอยจะปรากฏออกมามาก
3. ไมสามารถพัฒนาสายพันธุที่เคยมีใหมีคุณภาพดีขึ้นได
4. ลดโอกาสของรุนลูกที่จะไดรับการถายทอดลักษณะใหมๆ
43. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับการโคลน (มฐ. ว 1.3 ม.3/7)
1. การโคลน คือ การคัดลอกพันธุ
2. ในกระบวนการโคลนแกะดอลลี่ตองใชแมแกะถึง 3 ตัว
3. ปจจุบันมีความนิยมโคลนวัวเพื่อใหไดผลผลิตทางการเกษตรที่ดีขึ้น
4. การโคลนจะไดสิ่งมีชีวิตใหมที่เหมือนตัวตนแบบเพียงแคลักษณะภายนอกเทานั้น
44. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับ GMOs (มฐ. ว 1.3 ม.3/8)
1. GMOs ไมสงผลตอความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ปจจุบันมีการยอมรับกันแลววา GMOs ไมเปนอันตรายตอผูบริโภค
3. GMOs เปนกระบวนการที่ทำใหเกิดผลผลิตทางการเกษตรที่มีโภชนาการเพิ่มมากขึ้น
4. GMOs เปนวิธีการปรับปรุงผลผลิตทางการเกษตรที่เกษตรกรนำไปปฏิบัติอยางแพรหลาย
45. ขอใดเปนการใชประโยชนจากเทคโนโลยีชีวภาพทางดานอุตสาหกรรม (มฐ. ว 1.3 ม.3/8)
1. การผสมโค 3 สายพันธุ
2. การโคลนเพื่อใหไดโคที่มีน้ำนมมาก
3. การผสมเทียมสัตวเพื่อเพิ่มปริมาณและคุณภาพ
4. ผลิตภัณฑแปรรูปจากผลผลิตทางการเกษตร เชน อาหารกระปองชนิดตางๆ

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 7


46. ขอใดถูกตอง (มฐ. ว 2.1 ม.3/1)
ก. พอลิเมอรที่มีโครงสรางแบบรางแหมีความหนาแนนสูง
ข. พอลิเมอรที่มีโครงสรางแบบรางแหมีจุดหลอมเหลวสูงที่สุด
ค. พอลิเมอรที่มีโครงสรางแบบเสนมีความขุนและเหนียวมากที่สุด
ง. พอลิเมอรที่มีโครงสรางแบบกิ่งมีความหนาแนนต่ำกวาพอลิเมอรที่มีโครงสรางแบบเสน
1. ขอ ก และ ง 2. ขอ ก ค และ ง
3. ขอ ข ค และ ง 4. ถูกตองทุกขอ
47 ขอใดถูกตอง (มฐ. ว 2.1 ม.3/2)
ก. ชามเมลามีนและเตาเสียบไฟฟาจัดเปนพลาสติกเทอรมอเซต
ข. ซิลิโคนใชเปนตัวประสานรอยตอของขอบกระเบื้องหรือทองเรือเพื่อกันน้ำซึม
ค. ยางสังเคราะหมีความแข็งแรงทนทานและยืดหยุนดีกวายางธรรมชาติ
ง. ยางสังเคราะห IR มีโครงสรางใกลเคียงยางธรรมชาติ
1. ขอ ก ข และ ค 2. ขอ ข ค และ ง
3. ขอ ก ข และ ง 4. ขอ ก ค และ ง
48. จากตารางแสดงชนิดพลาสติกและตัวอยางผลิตภัณฑ (มฐ. ว 2.1 ม.3/2)
ชนิดพลาสติก ตัวอยางผลิตภัณฑ
J ฟลมถายรูป ของเลนสำหรับเด็ก
Q กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟ
R เตาเสียบไฟฟา ปลั๊กไฟ
J Q และ R ควรเปนพลาสติกชนิดใด ตามลำดับ
1. พอลิไวนิลคลอไรด เมลามีน พอลิเอทิลีน
2. พอลิสไตรีน พอลิโพรพิลีน พอลิไวนิลคลอไรด
3. พอลิยูเรียฟอรมัลดีไฮด พอลิเอทิลีน พอลิสไตรีน
4. พอลิเอทิลีน พอลิไวนิลคลอไรด พอลิยูเรียฟอรมัลดีไฮด
49. ผลิตภัณฑขอใดทำจากพลาสติกเทอรมอเซตทั้งคู (มฐ. ว 2.1 ม.3/1)
1. กระเปาเดินทางและปลั๊กไฟ 2. กระเบื้องยางและทอพลาสติก
3. เตาเสียบไฟฟาและกาวอีพอกซี 4. ชิ้นสวนของตูเย็นและเตาเสียบไฟฟา

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 8


50. ขอใดไมถูกตอง (มฐ. ว 2.1 ม.3/1)
1. ซิลิโคนที่มีลักษณะเปนยางเหนียวมีโครงสรางเปนแบบรางแห
2. ซิลิโคนใชเปนกาวประสานรอยตอของขอบกระเบื้องหรือทองเรือเพื่อกันน้ำซึม
3. ซิลิโคนวองไวในปฏิกิริยาเคมี สลายตัวงาย ไมทนตอการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ
4. ซิลิโคนที่มีลักษณะเปนน้ำมันมีโครงสรางเปนพอลิเมอรที่มีขนาดเล็กกวาซิลิโคนที่มีลักษณะเปนขี้ผึ้ง
51. ขอใดถูกตอง (มฐ. ว 2.1 ม.3/1)
ก. เสนใยที่หุมเมล็ดฝาย นุน และใยมะพราวจัดเปนเสนใยเซลลูโลส
ข. ลินินและปอจัดเปนเสนใยจากเปลือกไม
ค. ผาไหมหดตัวเมื่อไดรับความรอนและความชื้น
1. ขอ ก และ ข 2. ขอ ข และ ค
3. ขอ ค และ ก 4. ถูกตองทุกขอ
52. เสนใยสังเคราะหมีสมบัติพิเศษหลายอยางตางไปจากเสนใยธรรมชาติ ดังนี้
ก. ทนตอเชื้อราและจุลินทรีย ข. ไมยับงาย ไมดูดน้ำ ทนตอสารเคมี
ค. ผลิตไดครั้งละมาก ๆ และรวดเร็ว
ขอใดถูกตอง (มฐ. ว 2.1 ม.3/1)
1. ขอ ก และ ข 2. ขอ ข และ ค
3. ขอ ค และ ก 4. ถูกตองทุกขอ
53. ขอใดเปนการเลือกปฏิบัติไดเหมาะสมที่สุด (มฐ. ว 2.1 ม.3/2)
1. เก็บขวดพลาสติกที่ไมใชแลวใสไวในน้ำมันเบนซิน
2. เก็บถวยชามประเภทเมลามีนที่ชำรุดเพื่อนำกลับมาใชใหม
3. ใชถวยชามที่ผลิตจากพอลิเอทิลีนอุนอาหารในเตาไมโครเวฟ
4. ใชภาชนะที่เคลือบดวยพอลิเตตระฟลูออโรเอทิลีนในการทอดปลา

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 9


54. สัญลักษณแสดงประเภทของพลาสติกรีไซเคิล ขอใดถูกตอง (มฐ. ว 2.1 ม.3/2)
ก. แทนพลาสติกรีไซเคิลประเภทฟลมถายรูปและถุงรอน

ข. 4 แทนพลาสติกรีไซเคิลประเภทถุงเย็น

ค. 5 แทนพลาสติกรีไซเคิลประเภทถุงเลือด
1. ขอ ก และ ข 2. ขอ ข และ ค
3. ขอ ค และ ก 4. ถูกตองทุกขอ
55. เรียงลำดับมาตรการจัดการขยะพลาสติกที่กอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากนอยไปมาก (มฐ. ว 2.1
ม.3/2)
ก. การนำพลาสติกกลับมาหลอมใชใหม (ทำรีไซเคิล)
ข. การใชงานภาชนะหรือวัสดุบรรจุหีบหอซ้ำแลวซ้ำอีก
ค. การนำพลาสติกไปเผา
1. ก < ข < ค 2. ก < ค < ข
3. ค < ข < ก 4. ข < ก < ค
56. ขอใดไมใชการเปลี่ยนแปลงทางเคมี (มฐ. ว 2.1 ม.3/3)
1. ใสโลหะโซเดียมลงในน้ำ 2. ผสมกรดเกลือกับโซดาไฟ
3. เผาเหล็กใหรอนจนหลอมเหลว 4. วิตามินซีสลายตัวเมื่อถูกความรอน
57. ขอใดกลาวถึงการเกิดปฏิกิริยาเคมีไมถูกตอง (มฐ. ว 2.1 ม.3/3)
1. ตองมีสารใหมเกิดขึ้น 2. ตองมีการเปลี่ยนสถานะของสารเสมอ
3. มีทั้งการดูดพลังงานและคายพลังงาน 4. ถาเปนระบบปดจะเปนไปตามกฎทรงมวล
58. เมื่อนำสังกะสี (Zn) มาทำปฏิกิริยากับกรดเกลือ (HCl) จะไดผลิตภัณฑเปนซิงคคลอไรด (ZnCl2)
และแกสไฮโดรเจน (H2) เขียนเปนสมการเคมีไดตามขอใด (มฐ. ว 2.1 ม.3/3)
1. Zn(s) + 2HCl(ℓ) → ZnCl2(ℓ) + H2(g)
2. Zn(s) + 2HCl(ℓ) → ZnCl2(aq) + H2(g)
3. Zn(s) + 2HCl(aq) → ZnCl2(aq) + H2(g)
4. Zn(s) + 2HCl(aq) → ZnCl2(ℓ) + H2(g)

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 10


59. ขอใดดุลสมการไดถูกตอง (มฐ. ว 2.1 ม.3/3)
1. Al(s) + O2(g) → Al2O3(s) 2. 2Al(s) + O2(g) → Al2O3(s)
3. 2Al(s) + 3O2(g) → Al2O3(s) 4. 4Al(s) + 3O2(g) → 2Al2O3(s)
60. ขอใดกลาวถึงกฎทรงมวลไมถูกตอง (มฐ. ว 2.1 ม.3/4)
1. เกิดในระบบปดเทานั้น 2. ไมขึ้นกับการเปดหรือปดภาชนะ
3. ไมมีการถายเทมวลใหกับสิ่งแวดลอม 4. มวลของสารกอนและหลังเกิดปฏิกิริยาเทากัน
61. ใหสาร A ทำปฏิกิริยากับสาร B 10 กรัม ในบีกเกอรที่มีฝาปด เกิดเปนสาร C จำนวน 12 กรัม และแกส
D 8 กรัม ถาการทดลองนี้เปนไปตามกฎทรงมวลแสดงวาปฏิกิริยานี้ใชสาร A กี่กรัม (มฐ. ว 2.1 ม.3/4)
1. 8 กรัม 2. 10 กรัม
3. 12 กรัม 4. 20 กรัม
62. สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด (KI) 1.56 กรัม ทำปฏิกิริยากับเลด (II) ไนเตรต 1.66 กรัม
ไดเปนโพแทสเซียมไนเตรต (KNO3) และเลด (II) ไอโอไดด ถามีโพแทสเซียมไนเตรตเกิดขึ้น 2.4 กรัม
อยากทราบวามีเลด (II) ไอโอไดดเกิดขึ้นกี่กรัม (มฐ. ว 2.1 ม.3/4)
1. 0.10 กรัม 2. 0.82 กรัม
3. 1.56 กรัม 4. 3.22 กรัม
63. การละลายของโซเดียมไฮดรอกไซดนี้เปนการเปลี่ยนแปลงแบบใด (มฐ. ว 2.1 ม.3/5)
1. การเปลี่ยนแปลงแบบดูดอุณหภูมิ 2. การเปลี่ยนแปลงแบบคายอุณหภูมิ
3. การเปลี่ยนแปลงแบบดูดความรอน 4. การเปลี่ยนแปลงแบบคายความรอน
64. ปฏิกิริยาเคมีที่มีการถายเทพลังงานใหกับสิ่งแวดลอมเรียกวาอะไร (มฐ. ว 2.1 ม.3/5)
1. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน 2. ปฏิกิริยาการเผาไหม
3. ปฏิกิริยาดูดความรอน 4. ปฏิกิริยาคายความรอน
65. แกสแอมโมเนียสลายตัวดังสมการตอไปนี้
2NH3(g) + 93 kJ → N2(g) + 3H2(g)
ปฏิกิริยานี้เปนการเปลี่ยนแปลงแบบใด (มฐ. ว 2.1 ม.3/5)
1. การเปลี่ยนแปลงแบบดูดอุณหภูมิ 2. การเปลี่ยนแปลงแบบดูดความรอน
3. การเปลี่ยนแปลงแบบคายอุณหภูมิ 4. การเปลี่ยนแปลงแบบคายความรอน

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 11


66. X + กรด → สาร + H2O + CO2 จากสมการ สาร X ควรเปนสารใด (มฐ. ว 2.1 ม.3/6)
1. น้ำ 2. เบส
3. โลหะ 4. หินปูน
67. การทดลองใดเกิดแกสชนิดเดียวกัน (มฐ. ว 2.1 ม.3/6)
การทดสอบ สารตั้งตน
1 สังกะสี + กรดซัลฟวริก
2 หินปูน + กรดไฮโดรคลอริก
3 กรดเกลือ + โซดาไฟ

1. การทดลองที่ 1 และ 2 2. การทดลองที่ 1 และ 3


3. การทดลองที่ 2 และ 3 4. ไมมีการทดลองใดที่เกิดแกสชนิดเดียวกัน
68. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการเกิดสนิม (มฐ. ว 2.1 ม.3/6)
1. สนิมเกิดขึ้นไดกับโลหะทุกชนิด
2. แกสตาง ๆ ในอากาศสามารถทำใหเกิดสนิมได
3. ปจจัยสำคัญที่ทำใหเกิดสนิม คือ น้ำและอากาศ
4. แกสคารบอนไดออกไซดเปนปจจัยสำคัญที่ทำใหเกิดสนิม
69. ชอนอะลูมิเนียมเมื่อใชไปนาน ๆ ผิวจะไมมันวาวเหมือนตอนแรก ๆ เพราะเหตุใด (มฐ. ว 2.1 ม.3/7)
1. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับกรด 2. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับเบส
3. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับแกสออกซิเจน 4. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับแกสไฮโดรเจน
70. วิธีแกปญหาของใครที่ไมไดเกิดจากการบูรณาการความรูทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร วิศวกรรมศาสตร
และเทคโนโลยี (มฐ. ว 2.1 ม.3/8)
1. กานใหรปภ.หมูบานโทรมาบอกเมื่อรถขายไอศกรีมกำลังจะเขาหมูบาน
2. แกวเชื่อมตอโทรศัพทมือถือเขากับกลองวงจรปดในหองของลูกเพื่อใชดูลูกในเวลากลางคืน
3. กลาตั้งเวลาและอุปกรณเปด-ปดอัตโนมัติไวที่ขวดอาหารเพื่อใหอาหารแมวในเวลาที่ไปตางจังหวัด
4. เกงติดเซนเซอรรับแสงที่ราวตาผาเพื่อใหสามารถหดเก็บเขาที่รมไดเมื่อมีฝนตกตอนไมมีคนอยูบาน

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 12


71. ถาตองการวัดคาความตางศักยไฟฟาควรใชเครื่องมือชนิดใดและตอเขากับวงจรไฟฟาอยางไร (มฐ. ว 2.3
ม.3/3)
1. แอมมิเตอรตอแบบขนานกับวงจร 2. โวลตมิเตอรตอแบบขนานกับวงจร
3. แอมมิเตอรตอแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลตมิเตอรตอแบบอนุกรมกับวงจร
72. ถาตองการวัดปริมาณกระแสไฟฟาควรใชเครื่องมือชนิดใดและตอเขากับวงจรไฟฟาอยางไร (มฐ. ว 2.3
ม.3/3)
1. แอมมิเตอรตอแบบขนานกับวงจร 2. โวลตมิเตอรตอแบบขนานกับวงจร
3. แอมมิเตอรตอแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลตมิเตอรตอแบบอนุกรมกับวงจร
73. ขอใดแสดงถึงกฎของโอหม (มฐ. ว 2.3 ม.3/1)
1. ความตานทานแปรผันตรงกับชนิดของสาร
2. กำลังไฟฟาเปนอัตราสวนของพลังงานที่ใชกับเวลา
3. ความจุไฟฟา คือ อัตราสวนของประจุไฟฟากับความตางศักย
4. ความตางศักยเทากับผลคูณของกระแสไฟฟากับความตานทาน
74. กราฟแสดงความสัมพันธระหวางความตางศักยไฟฟากับกระแสไฟฟาดังรูป
หากตองการหาความตานทานจะตองทำอยางไร (มฐ. ว 2.3 ม.3/2)

1. ใชพื้นที่ใตกราฟ 2. ใชจุดตัดบนแกน X
3. ใชจุดตัดบนแกน Y 4. ใชความชันของกราฟ
75. ถาตอตัวตานทานที่มีคาความตานทาน 36 โอหม เขากับความตางศักย 12 โวลต
ตัวตานทานดังกลาวจะมีกระแสไฟฟาไหลผานกี่แอมแปร (มฐ. ว 2.3 ม.3/1)
1. 0.03 แอมแปร 2. 0.33 แอมแปร
3. 3.33 แอมแปร 4. 33.3 แอมแปร
76. วัดกระแสไฟฟาที่ตอเขากับความตางศักย 220 โวลต ไดเทากับ 0.01 แอมแปร
ตัวตานทานนี้มีคาความตานทานเปนเทาไร (มฐ. ว 2.3 ม.3/1)
1. 20 โอหม 2. 220 โอหม

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 13


3. 2,200 โอหม 4. 22,000 โอหม

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 14


พิจารณาวงจรไฟฟาตอไปนี้ แลวตอบคำถามขอ 77-80

77. จากรูป ความตานทานรวมมีคาเทาไร (มฐ. ว 2.3 ม.3/4)


1. 2 โอหม 2. 3 โอหม
3. 4 โอหม 4. 5 โอหม
78. กระแสไฟฟาที่ไหลผานตัวตานทาน 1 โอหม มีคาเทาไร (มฐ. ว 2.3 ม.3/4)
1. 1 แอมแปร 2. 2 แอมแปร
3. 3 แอมแปร 4. 4 แอมแปร
79. กระแสไฟฟาที่ไหลผานตัวตานทาน 6 โอหม มีคาเทาไร (มฐ. ว 2.3 ม.3/4)
1 2
1. 3 แอมแปร 2. 3 แอมแปร
4
3. 3 แอมแปร 4. 1 แอมแปร
80. ความตางศักยที่ครอมตัวตานทาน 2 แอมแปร มีคาเทาไร (มฐ. ว 2.3 ม.3/4)
1. 1 โวลต 2. 2 โวลต
3. 3 โวลต 4. 4 โวลต
81. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับไฟฟาลัดวงจร (มฐ. ว 2.3 ม.3/9)
1. จุดที่ไฟฟาเกิดการลัดวงจรจะมีความรอนสูง
2. การลัดวงจรจะเกิดขึ้นเมื่อสายไฟฟาที่ไมมีฉนวนหุมมาแตะกัน
3. จุดที่ไฟฟาเกิดการลัดวงจรขึ้นจะมีกระแสไฟฟาไหลผานปริมาณมาก
4. จุดที่ไฟฟาเกิดการลัดวงจรขึ้นจะมีความตานทานไฟฟาต่ำกวาบริเวณอื่น

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 15


82. จากวงจรไฟฟาที่กำหนดให หลอดไฟฟา A, B และ C มีลักษณะที่เหมือนกันทุกประการ ถาสับสวิตช S
ลงขอใดถูกตอง (มฐ. ว 2.3 ม.3/5)

1. A, B ดับและ C สวาง 2. A, B และ C สวางเทากัน


3. A, B สวางมากขึ้นและ C ดับ 4. A, B สวางนอยลงและ C สวางมากขึ้น
83. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการใชอุปกรณไฟฟาในบาน (มฐ. ว 2.3 ม.3/9)
1. สายไฟฟาสามารถใชแทนฟวสเสนไดในเวลาที่คับขัน
2. สะพานไฟตองตอแบบอนุกรมกับวงจรไฟฟาทั้งหมดในบาน
3. ควรใชสวิตชอันเดียวในการเปดและปดวงจรไฟฟาหลายๆ วงจรเพื่อความสะดวก
4. เมื่อเตาเสียบอยูในตำแหนงที่ต่ำสามารถดึงเตาเสียบออกจากเตารับโดยจับที่สายไฟไดทันที
84. กระทอมกลางนาหลังหนึ่งใชฟวสที่ทนกระแสไฟฟาไดสูงสุด 10 แอมแปร
ถาในกระทอมมีเครื่องใชไฟฟาดังนี้ หลอดไฟฟา 100 วัตต 2 ดวง เตารีดไฟฟา 1,500 วัตต 1 อัน
และโทรทัศน 450 วัตต 1 เครื่อง
ขอใดถูกตอง (มฐ. ว 2.3 ม.3/8)
1. ถาเพิ่มหลอดไฟอีกดวงฟวสจะขาดทันที
2. กระทอมหลังนี้ควรใชฟวสขนาด 15 แอมแปร
3. เมื่อเปดเครื่องใชไฟฟาทั้งหมดพรอมกันฟวสจะขาดทันที
4. ขอมูลไมเพียงพอในการคำนวณครั้งนี้
85. นาย ก เปดพัดลมตั้งแตเวลา 20.00 น. และตั้งเวลาใหพัดลมปดเองในเวลา 23.00 น. สวนนาย ข
เริ่มเปดพัดลมพรอมนาย ก แตปดพัดลมในเวลา 6.00 น. ของวันรุงขึ้น ถาพัดลมทั้งสองใชกำลังไฟฟา
150 วัตตเทากันและอัตราคาไฟฟาราคาหนวยละ 2.00 บาท นาย ก จะประหยัดคาไฟฟาไดมากกวานาย
ข ในครั้งนี้เปนเงินกี่บาท (มฐ. ว 2.3 ม.3/8)
1. 7.00 บาท 2. 1.40 บาท
3. 2.10 บาท 4. 2.80 บาท

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 16


86. หอพักแหงหนึ่งมีเครื่องใชไฟฟาดังนี้ หลอดไฟฟา 40 วัตต จำนวน 2 หลอด ใชวันละ 5 ชั่วโมง โทรทัศนสี
95 วัตต จำนวน 2 เครื่อง ใชวันละ 4 ชั่วโมง ตูเย็น 250 วัตต จำนวน 1 เครื่อง ใชตลอดเวลา
เครื่องเลนดีวีดี 10 วัตต 1 เครื่อง ใชวันละ 2 ชั่วโมง พัดลม 50 วัตต จำนวน 1 เครื่อง ใชวันละ 9 ชั่วโมง
และหมอหุงขาว 650 วัตต 1 ใบ ใชวันละ 2 ชั่วโมง
ผูเชาคนนี้ตองจายคาไฟฟาใหแกเจาของหอพักเทาไรในเดือนเมษายน ถาคาไฟฟาราคาหนวยละ 5 บาท
(มฐ. ว 2.3 ม.3/8)
1. 1,339.50 บาท 2. 1,384.15 บาท
3. 1,452.75 บาท 4. 1,485.77 บาท
87. ในวงจรไมมีอุปกรณอิเล็กทรอนิกสชนิดใด (มฐ. ว 2.3 ม.3/7)

1. ไดโอด 2. LED
3. ทรานซิสเตอร 4. ตัวเก็บประจุ
88. ขอใดคือความหมายของตัวตานทานแอลดีอาร (มฐ. ว 2.3 ม.3/6)
1. เปนตัวตานทานที่มีคาคงที่
2. เปนตัวตานทานที่ปรับคาไดจากการหมุน
3. เปนตัวตานทานที่ปรับคาไดจากการไดรับแสงสวาง
4. เปนตัวตานทานที่ปรับคาไดจากการไดรับความรอน
89. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับไดโอด (มฐ. ว 2.3 ม.3/6)
1. ตอเขากับวงจรโดยไมตองคำนึงถึงขั้ว
2. ประกอบดวยสารกึ่งตัวนำซอนกัน 3 ชั้น
3. มีหนาที่ควบคุมทิศทางการไหลของกระแสไฟฟา
4. เปลี่ยนไฟฟากระแสตรงใหเปนไฟฟากระแสสลับ

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 17


90. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับตัวเก็บประจุ (มฐ. ว 2.3 ม.3/6)
1. ตอเขากับวงจรโดยไมตองคำนึงถึงขั้ว
2. ทำหนาที่กักเก็บประจุไฟฟาไวใชงาน
3. เปนสวนประกอบสำคัญในเครื่องสำรองไฟฟา
4. ประกอบดวยตัวนำ 2 แผน ซึ่งถูกกั้นดวยฉนวนไฟฟา
91. ทำใหเกิดคลื่นบนเสนเชือกที่ปลายทั้งสองดานถูกขึงตึง พบวามีความถี่และความยาวคลื่นคาหนึ่ง
ถาทำใหความถี่ในการสั่นเพิ่มขึ้นเปน 2 เทาของความถี่เดิม ขอใดถูกตอง (มฐ. ว 2.3 ม.3/10)
1. ความยาวคลื่นบนเสนเชือกเทาเดิมเนื่องจากคลื่นเกิดบนตัวกลางเดิม
2. ความยาวคลื่นบนเสนเชือกเพิ่มขึ้น เนื่องจากคลื่นมีการเคลื่อนที่อยางตอเนื่อง
3. ความยาวคลื่นบนเสนเชือกลดลงเหลือครึ่งหนึ่งเนื่องจากคลื่นเคลื่อนที่ในตัวกลางเดิม
4. ความยาวคลื่นบนเสนเชือกเพิ่มขึ้นเปน 2 เทาเนื่องจากปริมาณทั้งสองแปรผันตามกัน
92. คลื่นตามขวางรูปไซนบนเสนเชือกกำลังเคลื่อนที่ไปทางขวามือ ขณะหนึ่งจุด A ซึ่งเปนจุดสีแดงแตมเล็กๆ
บนเสนเชือกกำลังอยูที่สันคลื่นพอดี อีกนานเทาไรจุด A จึงจะเคลื่อนที่ลงมาอยูที่ตำแหนงปกติ (มฐ. ว 2.3
ม.3/10)

1. 15 ms 3. 20 ms
4. 30 ms 5. 40 ms
93. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับคลื่นแมเหล็กไฟฟา (มฐ. ว 2.3 ม.3/11)
1. คลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนคลื่นตามขวาง
2. มีคลื่นแมเหล็กไฟฟาบางชนิดตองอาศัยตัวกลางในการเดินทาง
3. คลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนคลื่นที่มีทั้งสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก
4. เมื่อคลื่นแมเหล็กไฟฟาเดินทางในตัวกลางที่เปลี่ยนไปอัตราเร็วของคลื่นจะเปลี่ยนไป
94. คลื่นในขอใดที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุด (มฐ. ว 2.3 ม.3/11)
1. รังสีเอกซ 2. คลื่นวิทยุ
3. คลื่นไมโครเวฟ 4. รังสีอินฟราเรด

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 18


95. คลื่นไมโครเวฟถูกนำมาผลิตตรวจจับอัตราเร็วของรถยนตเนื่องจากสมบัติขอใด (มฐ. ว 2.3 ม.3/12)
1. อำนาจทะลุทะลวงสูง
2. สะทอนจากผิวโลหะไดดี
3. มีความถี่ใกลเคียงกับความถี่เดียว
4. ทำใหบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟยรมีประจุไฟฟาอิสระและไอออน
96. พิจารณาวัตถุที่วางอยูหนากระจก

ถาผูสังเกตอยูหนากระจกที่ตำแหนง ก. อยากทราบวาจะมองเห็นภาพในกระจกเปนวัตถุใดบาง
(มฐ. ว 2.3 ม.3/14)
1.  2.  
3.   4.   
97. ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับการมองเห็นภาพตัวเองในกระจกเงา (มฐ. ว 2.3 ม.3/14)
1. ถานักเรียนยกมือขวาภาพในกระจกจะเปนภาพมือซายของเรา
2. นักเรียนสูง 168 เซนติเมตร ภาพในกระจกก็เทากับ 168 เซนติเมตร
3. นักเรียนยืนหางจากกระจก 2 เมตร ระยะภาพในกระจกก็จะเทากับ 2 เมตร
4. ภาพในขณะที่นักเรียนสองกระจกจะเปนภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเทากับวัตถุ
98. เรือดำน้ำลำหนึ่งตองการยิงเครื่องบินรบที่กำลังบินอยูสูงจากพื้นดิน 3 กิโลเมตร ถาเปนการสังเกต
จากในน้ำตองหันปนใหญของเรือดำน้ำทำมุมกับแนวเสนปกติ และวิถีกระสุนปนใหญจะเคลื่อนที่
เปนแนวตรง เรือดำน้ำลำนี้จะยิงปนใหญในลักษณะใดจึงจะมีโอกาสตรงเปาหมายมากที่สุด (มฐ. ว 2.3
ม.3/15)
1. ยิงในแนวตั้งฉากกับเรือ 2. ยิงใหเทากับตำแหนงภาพที่เห็น
3. ยิงใหต่ำกวาตำแหนงภาพที่เห็น 4. ยิงใหสูงกวาตำแหนงภาพที่เห็น

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 19


99. ใหมยืนอยูที่ทาน้ำกำลังมองปลาตัวหนึ่งในแนวตรงและตั้งฉากกับผิวน้ำ ถาปลาอยูลึกจากผิวน้ำ 10
เซนติเมตร อยากทราบวาใหมจะมองเห็นปลาอยูในตำแหนงใด (มฐ. ว 2.3 ม.3/15)
1. อยูลึกกวา 10 เซนติเมตร 2. อยูตื้นกวา 10 เซนติเมตร
3. อยูที่ตำแหนง 10 เซนติเมตรพอดี 4. อยูที่ผิวน้ำพอดี
100.ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการเกิดมุมวิกฤต (มฐ. ว 2.3 ม.3/15)
1. ตัวกลางที่ 1 มีความหนาแนนเทากับตัวกลางที่ 2
2. ตัวกลางที่ 1 มีความหนาแนนนอยกวาตัวกลางที่ 2
3. ตัวกลางที่ 1 มีความหนาแนนมากกวาตัวกลางที่ 2
4. ตัวกลางที่ 1 เปนตัวกลางเดียวกับตัวกลางที่ 2
101.การเกิดรุงกินน้ำใชสมบัติของแสงเชนเดียวกับปรากฏการณใด (มฐ. ว 2.3 ม.3/15)
ก. ภาพหัวตั้งที่เกิดจากกระจกนูน
ข. สเปกตรัมของแสงขาวที่สองผานแทงพลาสติกรูปสามเหลี่ยม (ปริซึม)
ค. แสงออโรรา (aurora) ที่เกิดบริเวณขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต
1. ขอ ก และ ข 2. ขอ ข
3. ขอ ค 4. ขอ ข และ ค
102.ขอใดถูกตอง (มฐ. ว 2.3 ม.3/16)
อุปกรณ ชนิดภาพ
1. เลนสนูน เกิดภาพจริงหัวกลับเทานั้น
2. เลนสเวา เกิดภาพเสมือนหัวตั้งและภาพจริงหัวกลับ
3. กระจกนูน เกิดภาพเสมือนหัวตั้งเทานั้น
4. กระจกเวา เกิดภาพเสมือนหัวกลับและภาพจริงหัวกลับ

103.ถาตองการใหเกิดภาพเสมือนหัวตั้งที่มีขนาดใหญกวาวัตถุมากที่สุดควรเลือกใชอุปกรณในขอใด (มฐ.
ว 2.3 ม.3/16)
1. เลนสนูน 2. เลนสเวา
3. กระจกนูน 4. กระจกเวา

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 20


104.พิจารณาภาพที่เกิดจากเลนสนูนตอไปนี้ (มฐ. ว 2.3 ม.3/16)

ขอใดเปนตำแหนงของภาพที่ถูกตอง
1. A 2. B
3. C 4. D

พิจารณาอุปกรณที่ 1 และ 2 เมื่อมีแสงเดินทางผาน ดังรูปตอไปนี้ แลวตอบคำถามขอ 105-106

105.ขอใดระบุชนิดของอุปกรณที่ 1 และ 2 ไดถูกตอง (มฐ. ว 2.3 ม.3/17)


อุปกรณที่ 1 อุปกรณที่ 2
1. เลนสนูน เลนสเวา
2. กระจกนูน กระจกเงา
3. เลนสเวา กระจกเวา
4. กระจกเงา เลนสนูน

106.ถาตองการใหแสงรวมกันที่จุดโฟกัสแตเปนการรวมแสงกับอีกดานจะตองใชอุปกรณในขอใด (มฐ. ว 2.3


ม.3/17)
1. กระจกเวา 2. เลนสนูน
3. เลนสเวา 4. กระจกนูน

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 21


107.ขอใดกลาวถึงแวนขยายไดอยางถูกตอง (มฐ. ว 2.3 ม.3/17)
ก. ขณะใชแวนขยายตองใหระยะวัตถุนอยกวาระยะโฟกัสของเลนส
ข. ภาพที่เกิดขึ้นเปนภาพเสมือนหัวตั้ง
ค. ภาพขยายเกิดดานตรงขามกับวัตถุ
1. ขอ ก และ ข 2. ขอ ข และ ค
3. ขอ ก และ ค 4. ขอ ก ข และ ค
108.คนสายตาสั้นควรสวมแวนโดยใชเลนสชนิดใดและเลนสชนิดนี้จะชวยอะไร (มฐ. ว 2.3 ม.3/17)
1. เลนสเวา เพื่อชวยขยายแสงที่สะทอนมาจากวัตถุใหตกที่เรตินาพอดี
2. เลนสเวา เพื่อปรับความยาวโฟกัสของเลนสใหภาพตกที่เรตินาพอดี
3. เลนสนูน เพื่อชวยรวมแสงที่สะทอนมาจากวัตถุใหตกที่เรตินาพอดี
4. เลนสนูน เพื่อปรับความยาวโฟกัสของเลนสใหภาพตกที่เรตินาพอดี
109.ขอใดอธิบายเกี่ยวกับความสวางไดถูกตองที่สุด (มฐ. ว 2.3 ม.3/19)
1. กำลังไฟฟาของหลอดไฟ
2. อัตราพลังงานแสงที่ตกบนพื้นตอพื้นที่
3. อัตราพลังงานแสงที่ตกบนพื้นใน 1 วินาที
4. อัตราพลังงานแสงที่ตกบนพื้นตอพื้นที่รับแสง
110.ขอใดกลาวไมถูกตอง (มฐ. ว 2.3 ม.3/19)
ก. ความสวางแปรผันตรงกับพื้นที่รับแสง
ข. ความสวางลดลงแสดงวาพื้นที่รับแสงมีขนาดมากขึ้น
ค. อัตราการใหพลังงานแสงจะแปรผันตรงกับความสวาง
1. ขอ ก 2. ขอ ข
3. ขอ ค 4. ถูกตองทุกขอ
111.ขอใดกลาวไมถูกตอง (มฐ. ว 3.1 ม.3/1)
1. ดาวเคราะหวงในจะมองเห็นไดตลอดทั้งคืน
2. วงแหวนของดาวเสารมีความหนาประมาณ 100 เมตร
3. ดวงอาทิตยเปนดาวฤกษทั้งยังเปนศูนยกลางของระบบสุริยะ
4. ดาวเคราะหนอยเปนกลุมดาวเคราะหแข็งที่ไมสามารถรวมตัวเปนดาวได

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 22


112.ขอใดกลาวไมถูกตอง (มฐ. ว 3.1 ม.3/1)
1. ดาวเสารเปนดวงดาวที่สามารถลอยน้ำได
2. ดาวอังคารเปนดวงดาวที่มีอัตราการหมุนรอบตัวเองใกลเคียงกับโลกมากที่สุด
3. ดาวพลูโตเปนดาวเคราะหแกสที่วิวัฒนาการมาพรอมกับการกำเนิดของดวงอาทิตย
4. เราจะมองเห็นดาวศุกรไดในมุมที่ไมเกิน 46 องศา และมองเห็นในชวง 3
ชั่วโมงกอนที่ดวงอาทิตยขึ้นหรือหลังจากลับขอบฟาไปแลว
113.สิ่งที่ชวยสนับสนุนวาทฤษฎีบิกแบงมีความถูกตองมากที่สุดในเรื่องการเกิดเอกภพคือขอใด (มฐ. ว 3.1
ม.3/1)
1. การที่ดวงดาวตางๆ กำลังเคลื่อนที่ออกจากกันอันเนื่องมาจากแรงระเบิดในครั้งนั้น
2. การที่สามารถวัดอุณหภมิพื้นหลังจากทุกทิศทางได 2.73 เคลวิน หรือประมาณ -270 องศาเซลเซียส
3.

มีบริเวณบางสวนที่ไมสามารถมองเห็นไดดวยกลองโทรทรรศนแตมีการสงแรงดึงดูดไปยังดวงดาวที่กำ
ลังเคลื่อนที่ ทำใหเชื่อวาบริเวณดังกลาวเปนสวนที่เกิดจากปฏิอนุภาคหรือสสารมืด (dark matter)
4. ถูกตองทุกขอ
114.ขอใดเปนสาเหตุของการเกิดฤดูกาลตาง ๆ กันบนผิวโลก (มฐ. ว 3.1 ม.3/2)
ก. แกนหมุนของโลกสาย ข. แกนหมุนของโลกเอียง
ค. พื้นที่ตาง ๆ บนโลกมีละติจูดตางกัน ง. วงโคจรรอบดวงอาทิตยเปนวงรี
1. ขอ ก และ ข 2. ขอ ข และ ค
3. ขอ ค และ ง 4. ขอ ก และ ง
115.ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับปรากฏการณการเกิดสุริยุปราคา (มฐ. ว 3.1 ม.3/2)
1. เกิดในเวลากลางวัน
2. เกิดจากเงาโลกบังดวงจันทร
3. เกิดวันแรม 15 ค่ำ
4. เกิดจากดวงอาทิตย ดวงจันทร และโลกโคจรมาอยูในแนวเดียวกัน

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 23


116.จากรูป ปรากฏการณน้ำขึ้น-น้ำลงเกิดขึ้นในวันใด (มฐ. ว 3.1 ม.3/3)

1. ขึ้น 5 ค่ำ 2. ขึ้น 8 ค่ำ


3. ขึ้น 15 ค่ำ 4. แรม 8 ค่ำ
117.น้ำทะเลขึ้นและลงนอยที่สุดและมากที่สุดเมื่อใด (มฐ. ว 3.1 ม.3/3)
1. วันขึ้น 8 ค่ำและแรม 8 ค่ำ 2. วันขึ้น 15 ค่ำ และแรม 15 ค่ำ
3. วันขึ้นหรือแรม 8 ค่ำ และขึ้นหรือแรม 15 ค่ำ 4. วันขึ้นหรือแรม 15 ค่ำ และขึ้นหรือแรม 8 ค่ำ
118.จากขอมูลตอไปนี้
A. ดาวเทียม B. สถานีอวกาศ
C. ยานขนสงอวกาศ D. ยานอวกาศ
การพัฒนาอุปกรณที่ใชในเทคโนโลยีอวกาศจากอดีตถึงปจจุบันเปนไปตามขอใด (มฐ. ว 3.1 ม.3/4)
1. A-D-C-B 2. B-A-D-C
3. D-B-A-C 4. D-A C-B
119.ขอใดกลาวไมถูกตอง (มฐ. ว 3.1 ม.3/4)
1. นักบินอวกาศคนแรกของโลก คือ ยูริ เอ กาการิน
2. สุนัขไลกาถูกสงขึ้นไปพรอมกับดาวเทียมสปุตนิก 1
3. ดาวเทียมดวงแรกของสหรัฐอเมริกาชื่อ เอกซพลอเรอร
4. กระสวยอวกาศเปนยานอวกาศที่สามารถลงจอดไดเหมือนเครื่องบิน
120.ขอความเกี่ยวกับกลองโทรทรรศนขอใดกลาวไดถูกตอง (มฐ. ว 3.1 ม.3/4)
1. กลองโทรทรรศนประเภทหักเหแสงประกอบดวยเลนสนูนและเลนสเวา
2. กลองโทรทรรศนประเภทสะทอนแสงประกอบดวยกระจกเงาและเลนสเวา
3. กลองโทรทรรศนวิทยุไมมีเลนสแตเปนจานสำหรับรวมสัญญาณของคลื่นแมเหล็กไฟฟา
4. กลองอวกาศฮับเบิลเปนกลองชนิดหักเหแสงที่ติดไวกับดาวเทียมที่โคจรอยูรอบๆ โลก

แบบทดสอบตามผลการเรียนรูเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 24

You might also like