Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

บทที่ 3

การศึกษาระบบการขับเคลือ่ นของรถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS)

3.1 มอเตอร์ ทใี่ ช้ ในรถไฟฟ้าบีทเี อส (BTS)


มอเตอร์ ไฟฟ้ าที่ใช้ในขบวนรถไฟฟ้ า BTS เป็ นชนิ ดอินดักชัน่ มอเตอร์ แบบกรงกระรอก 3 เฟส
ใน 1 ขบวน จะใช้มอเตอร์ จาํ นวน 8 ลูก โดยมีพิกดั ทางไฟฟ้ า ดังนี้

ตารางที่ 3.1 Name Plate มอเตอร์ ทใี่ ช้ ในรถไฟฟ้าบีทเี อส (BTS)

Specifications List Data Unit


Nominal voltage 554 Volt
Nominal Current 284 Amp
Nominal Power 230 kW.
Nominal Speed 1,900 rpm
Displacement Power Factor 0.91 -
Nominal Frequency 64.4 Hz
Thermal Class 200 íC
Nominal Insulation Voltage 1,500 Volt
Maximum Voltage 721 Volt
Maximum Current 440 Amp
Maximum Speed 3,467 rpm.
Circuit Star (Y) -
Supply Conductor 70 mm2 Per Phase
Specifications IEC 349 – 3 / 93 -
23

รู ปที่ 3.1 มอเตอร์ ของรถไฟฟ้าบีทเี อส

3.2 หลักการทํางานของรถไฟฟ้าบีทเี อส (BTS)

Automatic Braking Resistor


Train Control

Traction
Control Signals
Inverter

Brake
Master Controller Traction Container Current

Traction High Speed


Line current
Control Circuit
Unit Breaker
Ground Current

Interface to
Other systems Speed 3
Signal Phase Main
AC Power
Switch
Brake
Control
Unit AC - Current
Traction Collector
Motor = 750V DC

Shop
Power
Brake Unit Doors Load Sensor Wheel = 750V DC

รูปที่ 3.2 หลักการทํางานของรถไฟฟ้าบีทเี อส (BTS)

หน้ าทีง่ านของอุปกรณ์ ในระบบ ระบบการป้ อนกระแสไฟฟ้ าสู่ ตวั รถไฟฟ้ าบีทีเอสเป็ นแบบจาก
รางที่สาม (Third Rail Feeding System) ที่แรงดันไฟฟ้ า 750 VDC เพื่อส่ งต่อไปยังอุปกรณ์ต่าง ๆ ใน
ขบวนเพื่อทํางานในส่ วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
ชุ ดเคอร์ เรนต์ (Current Unit) คือตัวรับกระแสไฟฟ้ าระหว่างรถไฟฟ้ ากับรางที่สามเพื่อจ่าย
ไฟฟ้ าไปในส่ วนต่าง ๆ ของรถไฟฟ้ า
ช๊ อปเพาเวอร์ (Shop Power) เป็ นสวิตช์แบบใบมีด มี หน้าที่เลือกแหล่งจ่ายไฟฟ้ า ที่ป้อนให้
รถไฟฟ้ าบีทีเอส (BTS) ซึ่ งปกติจะสามารถรับได้สองแหล่งจ่าย คือ
24

1. รับกระแสไฟฟ้ าจากรางที่สามเพื่อใช้ในการเดินรถเพื่อรับส่ งผูโ้ ดยสาร


2. รับกระแสไฟฟ้ าจากโรงซ่อมบํารุ งเพื่อใช้ในการตรวจเช็ครถไฟฟ้ า
ไฮสปี ดเซอร์ กิตเบรกเกอร์ (High Speed Circuit Breaker) ทําหน้าที่ตดั กระแสไฟฟ้ าแบบ
ความเร็ วสู งเมื่อเกิดการลัดวงจร
แทร็ กชั่ นอินเวอร์ เตอร์ (Traction Inverter) มีหน้าที่แปลงไฟฟ้ ากระแสตรง (DC) เป็ นไฟฟ้ า
กระแสสลับ (AC)
มอเตอร์ ไฟฟ้า (Induction Motor) มีหน้าที่ขบั เคลื่อนรถไฟฟ้ า
เบรกรีซีสเตอร์ (Brake Resistor) ทําหน้าที่กาํ จัดพลังงานไฟฟ้ าที่เกิดจากรี เจนเนอร์เรเตอร์
แทร็ คชั่ นคอนโทรนยูนิต (Traction Control Unit) มีหน้าที่ควบคุม จัดส่ งกระแสไฟฟ้ าไปยัง
ส่ วนควบคุมย่อยต่าง
โหลดเซลล์ เซ็ นเซอร์ (Load Cell Sensor) ทําหน้าที่ตรวจสอบนํ้าหนักของรถไฟฟ้ า เพื่อเป็ น
เงื่อนไขหนึ่งในการขับเคลื่อน
ดอร์ เซ็ นเซอร์ (Door Sensor) ทําหน้าที่เป็ นเงื่อนไขหนึ่ งในการเปิ ด-ปิ ดประตูของรถไฟฟ้ า
เบรกคอนโทรนยูนิต (Brake Control Unit) ทําหน้าที่ควบคุมการหยุดรถไฟฟ้ าให้เหมาะสมกับ
นํ้าหนักตัวรถไฟฟ้ าโดยการใช้ลมเบรก
มาสเตอร์ คอนโทรลเลอร์ (Master Controller) ทําหน้า ที่เลื อกการควบคุ มการขับเคลื่ อน
รถไฟฟ้ า มี สองระบบ คือ การขับเคลื่ อนด้วยระบบอัตโนมัติที่ควบคุมจากหน่ วยศูนย์กลาง และระบบ
ขับเคลื่อนด้วยพนักงานเดินรถ

3.3 อุปกรณ์ ในการขับเคลือ่ นรถไฟฟ้าบีทเี อส (BTS)


ในระบบการเดินรถไฟฟ้ าจะส่ งกระแสไฟฟ้ าจากรางที่ 3 เข้ามายังตัวรถผ่านมาทางชุดเคอร์ เรนต์
(Current Unit) เพื่อใช้ในการเดินรถสําหรับการวิง่ บริ การ

รู ปที่ 3.3 รางทีส่ ามหรือรางจ่ ายไฟให้ รถไฟฟ้า


25

รู ปที่ 3.4 เคอร์ เรนต์ หรือตัวรั บไฟเข้ ารถไฟฟ้า

รู ปที่ 3.5 ชอปเพาเวอร์ หรือตัวเลือกรับไฟ

รู ปที่ 3.6 กล่องป้องของอินเวอร์ เตอร์


26

รูปที่ 3.7 มอเตอร์ ไฟฟ้าทีใ่ ชั ขับเคลือ่ น

มอเตอร์ ที่ติดตั้งในระบบรถไฟฟ้ าเป็ นแบบ อิ นดัคชั่นมอเตอร์ 3 เฟส ชนิ ดกรงกระรอก


เนื่องจากมีความทนทานสู ง การสึ กหรอตํ่า การบํารุ งรักษาง่าย และอายุการใช้งานค่อนข้างสู ง
การควบคุมการเดินรถไฟฟ้ าจะถูกกําหนดจากศูนย์ควบคุมกลางเป็ นหลัก เพื่อมีความสอดคล้อง
กันทั้งระบบของการเดินรถ หากมีเหตุฉุกเฉิ นพนักงานเดินรถประจําขบวนจะควบคุมการทํางานทดแทน
ตามสถานการณ์ที่จาํ เป็ น

You might also like