Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

ศาสนิกชน

ตัวอย่าง
พระนาคเสน - พระยามิลินท์

นางสาวสุชานาถ ศรีพิทักษ เลขที่37 ม.4/6


พระนาคเสนเป็ นบุตรของพราหมณช่ อ ื โสณุตตระเมื่ออายุได ๗ ปี บิดามารดาได
ใหเรียนไตรเพทซึ่งเป็ นวิชาของพราหมณนาคเสนกุมารไดพบและสนทนาธรรม
กับพระโรหณะเถระจึงเกิดความเลื่อมใสศรัทธาไดขออนุญาตบิดามารดาบวช
เป็ นสามเณรที่ถ้าํ คูหารักขิตเลณะและไดเรียนพระอภิธรรม๗คัมภีรโดยใชเวลา
เรียนไมนานก็สามารถจดจําพระอภิธรรมคัมภีรไดหมด
เมื่อสามเณรนาคเสนมีอายุครบ ๒๐ ปี ไดอุปสมบทเป็ นพระภิกษุโดยมีพระ
โรหณะเถระเป็ นพระอุปัชฌายซ่ งึ ไดสงพระนาคเสนไปศึกษาอภิธรรมกับพระอัส
สคุตที่วัตตนิยเสนาสนะวันหนึ่งมีอุบาสิกาคนหนึ่งนิมนตพระอัสสคุตกับพระนาค
เสนไปฉันภัตตาหารที่บานเมื่อฉันอาหารเสร็จแลวพระนาคเสนไดกลาว
อนุโมทนากถาดวยธรรมที่สมควรกับสติปัญญาของอุบาสิกาซึ่งไดฟังโดย
พิจารณาตามไปดวยจนไดบรรลุโสดาบันและพระนาคเสนเองก็ไดบรรลุเป็ นพระ
โสดาบันดวย
ในชวงเวลาเดียวกัน ไดมีกษัตริยเชื้อสายกรีกพระองคหนึ่ง พระนามวา เมนันเดอร หรือที่เรียกกันตามพระบาลี
วา พระยามิลินทซ่ งึ พระองคไดอวดอางวาเป็ นผูรูศาสนาและปรัชญามากกวาใคร ๆ และทาโตวาทะกับสมณ
พราหมณและประชาชนทัว ่ ไป เมื่อไมมีใครมาโตดวย ก็สําคัญผิดคิดวาตนเองเป็ นผูมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดมาก
พระยามิลินทตรัสถามพวกอํามาตยวา ยังมีภิกษุรูปใด ๆในชมพูทวีปอีกบางหรือไมที่สามารถตอบปั ญหาและโต
วาทะกับเราได เมื่ออํามาตยทูลวา มีภิกษุรูปหนึ่งชื่อนาคเสน อยู ณ สังไขยบริเวณ ทานเป็ นผูฉลาด สามารถ
คงจะเจรจาและวสัชนาปั ญหาตาง ๆ กับพระองคได จึงพรอมดวยบริวารเป็ นอันมากเสด็จเขาไปหาพระนาคเสน
และมีการโตตอบถามปั ญหาซึ่งกันและกัน การสนทนาโตตอบระหวางพระนาคเสนกับพระยามิลินท ไดบันทึกไว
ในหนังสือ มิลินทปั ญหา ซึ่งเป็ นคัมภีรสําคัญเลมหนึ่งในพระพุทธศาสนาและเมื่อพระยามิลินทไดรับการ ถวาย
วิสัชนาปั ญหาจากพระนาคเสนแลว ไดเกิดความเขาใจในหลักธรรมแหงพระพุทธศาสนา สละความเห็นผิด
ยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาในที่สุด
คุณธรรมที่ควรถือเป็ นแบบอยาง
1.เป็ นแบบอยางเป็ นผูใฝ หาความรูอยางยิ่งและเป็ นผูมีปัญญาพระนาคเสนเป็ นผูมีใจใฝ
หาความรูมาตัง้ แตเด็กเรียนจบไตรเพทแลวยังศึกษาศิลปวิทยาอื่นอีกเมื่อบวชในพระพุทธ
ศาสนาก็ศึกษาจนเชี่ยวชาญในพระไตรปิ ฎกทานเป็ นผูมีปัญญากลาวคือสามารถเรียนรูสิ่ง
ตางๆใหเขาใจไดรวดเร็
2.มีความฉลาดในการแสดงธรรมทานรูจักใชปฏิภาณในการโตตอบปั ญหาและมีวิธีการ
แสดงธรรมที่ดีเชนการยกอุปมาอุปไมยเปรียบเทียบใหผูฟังเห็นเป็ นรูปธรรม
3.รูจักยอมรับผิดและแกไขตนเองการที่ทานมีความรูมากมีความเชื่อมัน ่ ในตนเองสูงบาง
ครัง้ กลายเป็ นทิฐิมานะดูหมิ่นดูแคลนคนอื่น แตเมื่อทานรูตัวก็รับผิดและพยายามแกไข
ตนเอง

You might also like