โยคสังครหเปรตพลีวิธี

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 360

瑜伽集要施食儀軌

โยคสังครหเปรตพลีวธิ ี

~1~
Nationnal Library of Thailand Catologing in Publication Data
ข้ อมูลทางบรรณานุกรม ของสํานักหอสมุดแห่งชาติ
ชื่อผู้แปลและเรี ยบเรี ยง (นามแฝง) : 菩提金剛 โพธิพฤกษ์ โพธิวชั ระ ;
ชื่อหนังสือ : 瑜伽集要施食儀軌 โยคสังครหเปรตพลีวธิ ี –
กรุงเทพ ฯ : Tripurity Books, 2561. April 2018
จํานวนหน้ า 360 หน้ า
หมวด 290 ศาสนาพุทธ (มหายาน และ วัชรยาน)
ISBN : 978-616-468-237-5

 Creative Commons License This work is licensed under a


Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International
License.
 เป็ นธรรมทาน ไม่สงวนลิขสิทธิ์ แต่ ห้ ามแก้ ไข ดัดแปลง ตัดทอน ต่อเติม และ ห้ ามนําไปใช้
เพื่อการเรี่ ยไร ห้ ามนําไปใช้ เพื่อการขอรับบริ จาค ห้ ามนําไปใช้ เพื่อการแลกเปลี่ยนใด และ
ห้ ามนําไปใช้ เพื่อการพาณิชย์ ทังโดยตรงและโดยอ้
้ อม
 อํานวยการผลิตโดย Mahapadma ; เว็บไซต์ : www.mahapadma.org
 พิมพ์ครัง้ ที่ 1 ปกอ่อน (พิมพ์ขาวดํา) จํานวน 50 เล่ม : เมษายน พ.ศ. 2561 (April 2018)
 จัดพิมพ์โดย : Tripurity Books ; เว็บไซต์ : www.Tripurity.com
ติดต่อ https://www.facebook.com/tripurity และ tripurity@gmail.com
 ออกแบบปก และ พิสจู น์อกั ษร : เมฆา วลาหก
 พิมพ์ที่ : บริ ษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จํากัด
โทรศัพท์ : 0-2809-2281-3 ; Fax. 0-2809-2284
 ผู้ช่วยสื่อสิ่งพิมพ์ : Fast-book ; เว็บไซต์ : www.fast-books.com
 คําแนะนําในการพิมพ์ : ขนาด A5 (148 x 210 mm)

~2~
~3~
~4~
本師釋迦牟尼佛 शाक्यमनु ि พระศากยมุนีพทุ ธเจ้ า

~5~
~6~
蓮池祩宏 พระอาจารย์จหู ง

~7~
~8~
บานแผนก

緣起 。。。。。。。。。。。。。。。。。。13

คําชี ้แจงในการพิมพ์ฉบับนี ้ 。。。。。。。。。。。19

อักษรรัญชนา ๒๐ ตัว 。。。。。。。。。。。。。27

มณฑล 。。。。。。。。。。。。。。。31 – 33

อธิบายนัยแห่งมณฑล 。。。。。。。。。。。。35

ปารมิตา (บารมี) ทัง้ ๑๐ บนฝ่ ามือ 。。。。。。。。59

คํานําฉบับภาษาจีน 。。。。。。。。。。。。。61

คํานําฉบับภาษาไทย 。。。。。。。。。。。。65

ประเพณีทิ ้งกระจาด 。。。。。。。。。。。。81

โยคสังครหเปรตพลีมณฑลพิธี 。。。。。。。。。89

ประวัติพระอาจารย์จหู ง 。。。。。。。。。。。353

~9~
~ 10 ~
ขอหนังสือเล่มนี้ ตอบแทนพระคุณ บิดรและมารดา แห่งข้าพเจ้า

๏ ข้ าพเจ้ าขอตังจิ
้ ตอุทิศผล บุญกุศลนี ้แผ่ไปให้ ไพศาล

ถึงบิดามารดาครูอาจารย์ ทังลู
้ กหลานญาติมิตรสนิทกัน

คนเคยรักเคยชังแต่ครัง้ ไหน ขอให้ มีสว่ นได้ ในกุศลผลของฉัน

ทังเจ้
้ ากรรมนายเวรและเทวัน ขอให้ ทา่ นได้ กศุ ลผลนี ้เทอญ ๚ะ๛

๏ โอมฺ สะรวะ กุศะละ-มูลานิ ปราณิน ทุหยามิ สะรวะ กุศะละ-มูละ ประ-


ปัญจะ ธะรมะตา สวะ-ภาวะ สิธยะ อรฆะ นะตะเย ๚ะ๛

~ 11 ~
~ 12 ~
緣起

此書吾譯而釋之,特答父母生育恩,

幾年恩怨難解分,既恩亦怨吾苦人。

迴向兄妹兩手足,跟母鑼鼓唱和行,

視吾為僕踩踏盡,天旋地轉跟吾拼。

迴向六親諸眷屬,各世各代祖先族,

還有冤親和債主,放下怨仇自得福。

迴向先賢大德人,一切眾人諸有恩,

迴向師長祖師等,迴向龍天護法神。

迴向所有諸教徒,仙道僧尼未脫俗,

買賣信仰執三毒,重名重利真糊塗;

輕慢祖師之教義,三業本來行不一,

擅說偽詐諸法理,內心修行卻如戲;

好教他人不明己,自作好人心未必,

~ 13 ~
批評好鬥抬高己,貪著觀寺諸法器。

迴向歷代富貴冑,得意忘本造諸仇,

耗費資源行淫欲,傷天害理對人欺。

迴向武士好戰爭,為名為利造人災,

對人對己有傷害,死後地獄墮火埃。

迴向知識書呆子,舞文弄墨喜吟詩,

花言巧語不爛舌,繁華之夢不可得。

迴向猛烈勇男女,世假義氣憂愁死,

青史留名永不在,幾年過後無人知。

迴向數術醫玄學,太極河洛星地穴,

五行陰陽及煉丹,相術符錄算不完;

浪說是為握天機,能造人福也救己,

往往落在各名利,此乃術人之歪理。

迴向商人做買賣,靠眾人財得利快,

有的生意只過活,也有富有可敵國;

~ 14 ~
賺錢賺錢賺人錢,賺多自喜可人嫌,

生敗家子討債怨,死成惡鬼在黃泉。

迴向上下職權官,善惡兩面難免端,

一失足成千古恨,官棺無奈實在亂。

迴向勞工一生苦,為人之下常惱怒,

身勞心累厭倦度,苦盡甘來則獲福。

迴向難產諸母子,平安無礙順生來,

若得產難或墮胎,願生極樂得依賴。

迴向諸苦三惡道,有佛指導而受度,

遠離八難三塗災,福慧雙全生蓮海。

迴向附佛諸外道,智慧開發莫再迷,

邪見非法不可取,皈依正法勝義諦。

迴向緣覺及聲聞,迴小向大莫再笨,

發廣大願三菩提,乃諸如来之法喜。

迴向一切諸有情,十方三世法界盡,

~ 15 ~
所有意到意不到,享福受苦皆接領;

得生淨土彌陀剎,不落一個佛來引,

蒙恩諸佛大悲心,一切眾生成佛盡。

迴向各國一切人,風調雨順無災害,

五穀豐登發大財,福壽康寧而自在。

迴向六道諸眾生,正知正見悟法義,

不要生為糊塗地,死後又作糊塗厲;

上之自往生西方,下之飄魂落茫茫,

願諸眾生淨土聚,莫再施場而相遇。

吾今情義兩盡絕,放下萬緣求往生,

世俗之間吾不爭,宗教方面吾也扔。

菩提金剛敬提

01/08/2018

~ 16 ~
~ 17 ~
~ 18 ~
คาชี้แจงในการพิมพ์ฉบับนี้

ในการพิมพ์ฉบับนี ้ ใช้ 《瑜伽集要施食儀軌》(CBETA X1080)


ในสมัยหมิง เป็ นต้ นฉบับ ในการแปล เรี ยบเรี ยง และจัดพิมพ์ โดยรูป
ภาพประกอบในหน้ า 211 และ 212 นัน้ นํามาจาก《瑜伽燄口註集纂
要儀軌》(CBETA X1084) ในสมัยราชวงศ์ชิง

ในหน้ า 95 – 104 ได้ เพิม่ มหากรุณาธารณี ในหน้ า 158 – 164 ได้ เพิ่ม รูป
และพระนาม ของพระพุทธเจ้ าทัง้ ๓๕ พระองค์ ส่วนในหน้ า 165 – 166 ได้
เพิ่ม พระปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร ในหน้ า 283 – 284 ได้ เพิ่ม รูป
ประกอบและพระนามของพระอมฤตราชตถาคต และในหน้ า 324 ได้ เพิ่ม
สุขาวดีวยูหธารณี ซึง่ ต้ นฉบับภาษาจีนเดิม ได้ ออกนาม แต่ไม่ได้ ระบุ
รายละเอียดไว้

ในการแปลพระสูตร คาถา ธารณี ฯลฯ เพื่อความเป็ นมาตรฐาน ก็จะใช้


สําเนียงจีนกลางเป็ นหลัก ที่ประเทศจีน สําเนียงจีนกลาง ถูกใช้ เป็ นภาษา
ราชาการอย่างน้ อยที่สดุ ก็ตงแต่
ั ้ สมัยหมิง (ในความจริงอาจก่อนหน้ านัน)

แต่การแปลพระสูตรพุทธศาสนาสูภ่ าษาจีน เริ่ มมีมาตังแต่
้ สมัยฮัน่ (หรื อ

~ 19 ~
ก่อนหน้ านัน)
้ บางพระสูตร ต้ นฉบับที่เป็ นสันสกฤต ได้ หายสาบสูญไปแล้ ว
หรื อแม้ แต่พระสูตรที่แปลเป็ นภาษาจีน ก็หายไปบางส่วนเช่นกัน และการที่
จะแปลจากภาษาจีน กลับไปเป็ นภาษาสันสกฤต บางส่วนทําได้ แต่
บางส่วนก็ทําไม่ได้ และแม้ กระทําได้ ก็ไม่มใี ครยืนยันได้ วา่ สิง่ ที่ทาํ นัน้
ถูกต้ อง ในแง่การศึกษา จึงมีการสอบทานระหว่าง พระไตรปิ ฏกจีนเอง ทัง้
สมัยหมิง ชิง และพระไตรปิ ฏกเกาหลี ญี่ปนุ่ ทิเบต ฯลฯ

พุทธศาสนามหายานและวัชรยาน หลอมรวมกับสังคมและวัฒนธรรมจีน
คําศัพท์ภาษาจีนในชีวติ ประจําวัน หลายคํามาจากพุทธศาสนา แม้ แต่
ศาสนาเต๋าและหรู (ขงจื่อ) ก็ยงั ต้ องยืมคําไปใช้ ทังอรรถกถาหลายเล่
้ ม ก็
เขียนขึ ้นในแผ่นดินจีน จึงอาจกล่าวได้ วา่ เป็ นพุทธศาสนามหายานแบบจีน
อาจจะไม่จําเป็ นต้ องเหมือนกับทีท่ ิเบต หรื อของเดิมที่มาแต่อินเดีย ๑๐๐%
แต่อย่างใด

การแปลจะสูตรอินเดียสูภ่ าษาจีน มี ๒ วิธี คือ ๑.音譯 แปลโดยพยัญชนะ


หรื อ แปลทับเสียง และ ๒. 意譯 แปลโดยอรรถ คือ แปลโดยความหมาย
พูดแล้ วก็อาจจะงงได้ ขอยกตัวอย่างคําว่า 北俱盧洲 แปลว่า อุตรกุรุทวีป
(อุตตรกุรุทวีป) โดย คํานี ้ แบ่งออกเป็ น ๓ ส่วน

~ 20 ~
๑. อุตร หรื อ อุดร แปลว่า ทิศเหนือ จึงแปลเป็ นคําว่า 北 ที่แปลว่า
ทิศเหนือ นี ้เป็ นการแปลแบบ แปลโดยอรรถ

๒. กุรุ แปลทับเสียง เป็ น สําเนียงจีนกลางว่า 俱盧 จวี ้หลู (เข้ าใจ


เองว่า ตอนที่แปลคํานี ้ ไม่ได้ ใช้ สาํ เนียงจีนกลาง เพราะถ้ าใช้ สาํ เนียง
อื่น เช่น ฮกเกี ้ยน จะออกใกล้ เคียงคําว่า กุรุ มากกว่านี ้)

๓. ทวีป รูปศัพท์คือ ทวิ + อาป แปลว่า สถานที่ ๆ มีนํ ้ากระนาบ ๒


ข้ าง หรื อก็คือมีนํ ้าล้ อมรอบ จึงแปลโดยอรรถว่า 洲

意譯 音譯 意譯
แปลโดยอรรถ แปลทับเสียง แปลโดยอรรถ
北 俱盧 洲
อุตร กุรุ ทวีป

~ 21 ~
นอกจากนี ้ อักษรจีนบางตัว ถูกคิดขึ ้น เมื่อพทธศาสนาเข้ ามาสูจ่ ีน เช่น คํา
ว่า 魔 ที่มาจากคําเต็มว่า 魔羅 โดยได้ จากการแปลทับเสียงว่า “มา-ระ” ที่
แปลว่า “มาร” เป็ นต้ น

อักษรที่จีน ที่ใช้ ในการแปลมนตร์ ธารณีในภาษาจีน จะใช้ การแปลแบบทับ


เสียง กล่าวคือ ใช้ อกั ษรจีนเลียนเสียงสันสกฤต แต่ไม่มีความหมายในเชิง
ภาษาจีน บูรพาจารย์ทา่ นใช้ การเติมอักษร 口 ด้ วยจะสือ่ ว่า เป็ นเพียงสัท
อักษร1เท่านัน้

สมัยก่อนเวลาจะพิมพ์ จะแกะแม่พิมพ์ด้วยไม้ หรื อเหล็กในการพิมพ์ ซึง่ จะ


แกะยังไงก็ได้ แต่การพิมพ์ในปั จจุบนั นัน้ บางอักษรไม่รองรับ หรื อแม้ แต่
อักษรสิทธัม2ก็ยากแล้ ว ด้ วยเหตุนี ้ จึงมีการประดิษฐ์ วิธีการพิมพ์ เพือ่ สือ่

1
擬聲字, 擬聲詞 Onomatopoeia สัทอักษร คือ อักษรที่ใช้ ในการเลียนเสียง
โดยไม่มีความหมาย
2
梵字, 梵書字, 悉曇字 อักษรสิทธัม เป็ นชื่ออักษรแบบหนึ่งของอินเดียตอน
เหนือ ที่นิยมใช้ เขียนภาษาสันสกฤต มีที่มาจากอักษรพราหมี โดยผ่านการพัฒนา
จากอักษรคุปตะ ซึง่ ก่อให้ เกิดเป็ นอักษรเทวนาครีในเวลาต่อมา และเกิดเป็ นอักษร
อื่นๆ จํานวนมากในเอเชีย เช่น อักษรทิเบต เป็ นต้ น อย่างไรก็ตาม คําว่า 梵書字

~ 22 ~
ความหมาย เช่น [口*紇] แทนตัว โดยในการพิมพ์ครัง้ นี ้ จะแก้
เป็ น 紇 ซึง่ ทัง้ ๒ ตัวนี ้ ออกเสียงเหมือนกัน

ภาษาจีนไม่มีคาํ ควบกลํ ้า เพื่อให้ รองรับการออกเสียงคําควบกลํ ้าในภาษา


สันสกฤต บูรพาจารย์จงึ กําหนดรูปแบบว่า (二合) ที่แปลว่า “ทัง้ ๒ อักษร3
รวมกัน” ซึง่ พอเวลาผ่านไป ก็ยงั คงเขียนไว้ แต่การออกเสียงเวลาสวดมนตร์
บางแห่ง ก็ไม่ได้ เน้ นการควบเสียงมากนัก อนึง่ ภาษาจีนกลาง มี ๔ เสียง
วรรณยุกต์ แต่ในการออกเสียงธารณีแบบจีน มักจะใช้ เสียงสามัญเป็ นหลัก

ในหนังสือเล่มนี ้ และอักษรสันสกฤตโบราณ ในหนังสือเล่มนี ้ ไม่ใช่อกั ษรสิทธัม


หากแต่เป็ น อักษร 蘭札文 รัญชนา (กูติลา, ลันต์ซา) ซึง่ เป็ นอักษรที่พฒ ั นามาจาก
อักษรพราหมี เมื่อราว พ.ศ. ๑๖๐๐ ใช้ เขียนภาษาสันสกฤต ในอินเดีย และเนปาล
นอกจากนี ้ ยังมีการใช้ อกั ษรนี ้ในหมูช่ าวพุทธในจีน มองโกเลีย ทิเบต และญี่ปนุ่
อักษรชนิดนี ้ นอกจากใช้ เชียนภาษาสันสกฤตแล้ ว ยังใช้ เขียนภาษาภาษาเนวารี
(เป็ นภาษาหลักภาษาหนึ่งของเนปาล อยู่ในตระกูลทิเบต-พม่า) อีกด้ วย
3
บางคํานัน้ มีลกั ษณะคล้ ายคํา ที่ไม่มีประวิสรรชนีย์ ในภาษาไทย คือ คําที่ประสม
สระอะ เวลาอ่านออกเสียงคําที่ไม่ประวิสรรชนีย์ จะอ่านออกเสียง อะ กึ่งเสียง เช่น
ขนุน ฉลาม ถลํา เมล็ด สารพัด สมัย ถนน ตลก ตลิง ทนาย ทยอย สกัด สงบ สไบ
ขโมย ฯลฯ

~ 23 ~
ในที่นี ้ของยกตัวอย่าง การควบเสียง ๒ คํา จากภาพประกอบหน้ า 27 ดังนี ้

เสียงสันกฤต อักษรจีน เสียงจีนกลาง เสียงจีนกลาง


แบบไม่ ควบ แบบควบเสียง
เสียง
bhrūṃ 𠽾𠾐 พู-รง พุรง
(ภรูมฺ)
Trā 怛囉 ตารา (ตะรา) ตรา
(ตรา)

ในการพิมพ์ 瑜伽集要施食儀軌 โยคสังครหเปรตพลีวิธี ครัง้ นี ้ ในตอน


แรก ว่าจะพิมพ์ต้นฉบบจีน รวมกันไปด้ วย แต่มนั ก็จะลักลัน่ สับสนเกินไป

~ 24 ~
จึงจะพิมพ์แต่ฉบับภาษาไทยเท่านัน้ และในการพิมพ์ครัง้ นี ้ ในส่วนของ
อักษรจีน จะใช้ อกั ษรจีนตัวเต็ม4

ด้ วยความเคารพ

Mahapadma.org

๗ มกราคม ๒๕๖๑

4
繁体中文 Traditional Chinese characters อักษรจีนตัวเต็ม หรื อ จีน
ดังเดิ
้ ม

~ 25 ~
~ 26 ~
อักษรรัญชนา ๒๐ ตัว5

5
ภาพนี ้เรียงพิมพ์ขึ ้นใหม่ ตามต้ นฉบับเดิม ซึง่ จากภาพ อักษรจีน 藍 และ 覽 น่าจะ
สลับกัน

~ 27 ~
อันโยคธรรมปรยาย ล้ วนมาแต่การมนสิการพีชอักขร6 รัญชนา เกิดฤทธิ
แปลเปลีย่ นพ้ นประมาณ อุปการะปวงสัตว์โดยทัว่ ตัวหนังสือในเบื ้องต้ น ทัง้
๒๐ ตัวนี ้ โยคีพงึ มนสิการให้ เป็ นวสี7 จึงจักสามารถขึ ้นมณฑล กระทําพิธี
ได้ โครงสร้ างอักษร เกิดแต่ธรรมถตา จะผิดแต่เพียงน้ อยก็มิได้ เมือ่ สอบ
ทานกันแล้ ว ไม่ส้ ตู รงกันทังหมด
้ (เพราะ) ชนภายหลัง คัดลอกสืบกันมา
วิปลาสไปเป็ นอันมาก บัดนี ้อาศัยสอบทาน กับพระปิ ฏกมังกร8 ก่อนหน้ า
นี ้ มี ๓ บรรทัด รวม ๑๕ อักขระ ต่อมาเปลีย่ นแปลง ๕ อักขระ บรรทัด
สุดท้ าย ยังมิคลายกังขา ขอผู้ปรี ชา แตกฉานในธรรมสาคร ได้ แก้ ไข ให้
ถูกต้ อง ก็จกั ดีมาก ... (จึงชี ้แจงมาเพื่อทราบ) ศึกษาชนพึงแจ้ ง ดังฉะนี ้

6
字種, 種子字 พีชอักษร พีชอักขระ คือ อักษรที่แทนด้ วยพระพุทธเจ้ าและพระ
โพธิสตั ว์ ในประเทศจีน ดังเดิ
้ มจะใช้ อกั ษรสิทธัม, อักษรรัญชนา ส่วนในทิเบต จะมี
การใช้ อกั ษรทิเบตด้ วย ในการมนสิการภาวนาด้ วย
7
วสี คือ ความชํานาญแคล่วคล่อง
8
龍藏經 ปิ ฏกมังกร คือ พระไตรปิ ฏกฉบับ 甘珠爾 བཀའ་འགྱུར “กันจูเอ๋อร์ ”
(รวบรวมพระสูตรไว้ ) ของทิเบต โดยจะคูก่ นั กับ ฉบับ 丹珠爾 བསྟན་འགྱུར “ตันจู
เอ๋อร์ (รวบรวมศาสตร์ , อรรถกถา ฯลฯ)

~ 28 ~
~ 29 ~
~ 30 ~
~ 31 ~
~ 32 ~
~ 33 ~
~ 34 ~
อธิบายนัยแห่งมณฑล

นัยแห่งโยคสังครหเปรตพลีพิธีนี ้ เป็ นนัยแห่งโยคกรรม9 แห่งอนุตตรยาน


อันจําต้ องโปรดสรรพชีวิต แต่เดิมมีพิธีกรรมที่เรียบง่าย ไม่ซบั ซ้ อนใหญ่โต
ดังที่พบในทุกวันนี ้ ทังไม่
้ มกี ารใช้ โภคะจํานวนมาก ในการประกอบพิธี
อย่างไรก็ตาม ที่ทาํ ในปั จจุบนั นี ้ ก็ไม่ถือว่าผิด เพราะของที่ผา่ นการกระทํา
พิธี ก็ได้ นําไปบริ จาค ให้ คนยากจนอนาถา ถือเป็ นทานมัย บุญกิริยาวัสดุ
ประการหนึง่

ตามนัยแห่งบุราณ นอกจากวัชระและระฆัง ที่เป็ นของอันพิเศษแล้ ว


อุปกรณ์ในการทําพิธี ก็คือสิง่ ของทัว่ ไป เช่น บาตรพระ อันเป็ นอัฐบริ ขาร
ข้ าว ดอกไม้ เครื่ องหอม ฯลฯ ซึง่ เป็ นของที่ ทายก ทายิกา นํามาถวาย

9
โยคกรรม คือ กิจแห่งผู้ประพฤติธรรม และอย่าได้ หมายเอาว่า เป็ นนัยแห่งโยคา
จาร มาธยมกะ ฯลฯ ทรรศนะทังนี ้ ้ ผิดพลาดมานาน พุทธศาสนา เป็ นหนึ่งเดียว ไม่มี
สอง อันสํานักต่าง ๆ คือ นัยแห่งการถ่ายทอด ไม่ใช่การแบ่งพวก หรือ ทรรศนะที่
ต่างกัน ชนที่แทงตลอด ในพระสัทธรรมนัย จะพบว่า ธรรมทังหลายเป็
้ นเอก ไม่มีสว่ น
ใดที่ขดั กัน

~ 35 ~
วิธีการทําพิธี ก็จะควํา่ บาตรขึ ้น ใช้ ก้นบาตรจําลองมณฑลพิธี ตามนัยแห่ง
สกลจักรวาล ใจกลางก้ นบาตร คือเขาสิเนรุราชบรรพต แวดล้ อมด้ วย ตะวัน
จันทรา สัปตรัตนะ คือ แก้ ว ๗ ประการ แห่งพระเจ้ าจักรพรรดิ ซึง่ ตามนัย
อนุตตรยาน จะเพิ่มขึ ้นมาอีก ๑ คือ มหานิธนรัตนะ (ขุมทรัพย์แก้ ว) รวมเป็ น
๘ ทิศ ดังนี ้

อัษฏรัตนะ หรื อ แก้ ว ๘ ประการ ของพระเจ้ าจักรพรรดิ ได้ แก่

๑. 輪寶 จักรรัตนะ (จักรแก้ ว)
10
๒. 象寶 คชรัตนะ (ช้ างแก้ ว)

๓. 馬寶 วาชีรตั นะ (ม้ าแก้ ว)11

๔. 如意寶 มณีรัตนะ (มณีแก้ ว หรื อ แก้ วจินดามณี)


12
๕. 女寶 สตรี รัตนะ (นางแก้ ว)
13
๖. 主藏寶 บุรุษรัตนะ (ขุนคลังแก้ ว)

10
บ้ างออกนามว่า “หัตถีรัตนะ” ฯลฯ
11
บ้ างออกนามว่า “อัสสรรัตนะ” ฯลฯ
12
บ้ างออกนามว่า “อิตถีรัตนะ” ฯลฯ

~ 36 ~
14
๗. 將軍寶 คฏครัตนะ (ขุนพล หรื อ แม่ทพั แก้ ว)

๘. 寶藏瓶 มหานิธนรัตนะ15 (ขุมทรัพย์แก้ ว)

ชันถั ั ฑ์คีรี16 และวงถัดออกมา คือ มหา


้ ดออกมาเป็ นเทือกเขาสัตตบริ ภณ
ทวีปทัง้ ๔ ได้ แก่

๑. 南贍部洲 ชมพูทวีป อยูห่ นทักษิ ณ (ทิศใต้ )

๒. 西牛賀洲 อปรโคทานีทวีป17 อยูห่ นปั จฉิม (ทิศตะวันตก)

13
บ้ างออกนามว่า “คหบดีรัตนะ” ฯลฯ
14
บ้ างออกนามว่า “ปรินายกรัตนะ” ฯลฯ
15
มหานิธนรัตนะ, มหานิธิรัตนะ
16
สัตตบริภณ ั ฑ์คีรี เป็ นชื่อภูเขาในตํานานพุทธศาสนา เชื่อว่าตังอยู
้ ่กลางป่ าหิม
พานต์ มีเทือกเขา ๗ เทือก ประกอบด้ วย ๑. เทือกเขายุคนธร ๒. เทือกเขาอิสินธร ๓.
เทือกเขากรวิก ๔. เทือกเขาสุทสั ๕. เทือกเขาเนมินธร ๖. เทือกเขาวินตกะ ๗.
เทือกเขาอัสกรรณ แต่ละเทือกเขาจะเรียงเป็ นชัน้ ๆ ล้ อมรอบเขาพระสุเมรุ และจะมี
แม่นํ ้าสีทนั ดร อีกเจ็ดสาย คัน่ เทือกเขาแต่ละเทือกไว้ ซึง่ ในการประกอบพิธีนี ้ จะข้ าม
คือละเว้ น สัตตบริภณ ั ฑ์คีรีนี ้ไป ในขณะที่ มีการอธิบายว่า สัปตรัตนะ (แก้ ว ๗
ประการ) แห่งพระเจ้ าจักรพรรดินี ้ ก็คือ เทือกเขาสัตตบริภณ ั ฑ์คีรี นัน่ เอง
17
เถรวาทออกนาม Aparagodānī “อปรโคทานี” ว่า “อมรโคยาน”

~ 37 ~
๓. 東勝神洲 ปูรววิเทหทวีป18 อยูห่ นบูรพา (ทิศตะวันออก)

๔. 北俱盧洲 อุตตรกุรุทวีป อยูห่ นอุดร (ทิศเหนือ)

และยังมีอนุทวีปอีก ๘ 19 ที่ออกนาม ดังต่อไปนี ้

ทางหนหรดี (ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ) ได้ แก่

๑. 最勝洲 อุตตรมันตรี นีทวีป20

๒. 小拂洲 จามรทวีป

ทางหนพายัพ (ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ) ได้ แก่

18
บางแห่งออกนามว่า “บุพพวิเทหทวีป” ว่า “ปุพพวิเทหทวีป”, “บุรพวิเทหทวีป”,
“บูรพวิเทหทวีป” ฯลฯ
19
อนุทวีปทัง้ ๘ นี ้ คัมภีร์ฝ่ายเถรวาท ไม่ได้ แสดงไว้ แต่ปรากฏทังใน
้ มหายานและ
วัชรยาน
20
อุตตรมันตรีนีทวีป, อุตตรมนตรีทวีป บางแห่งออกนามว่า Viśeṣavatī “วิเศษา
วดี”

~ 38 ~
๓. 妙拂洲 วรจามรทวีป21

๔. 小行洲 กุรุทวีป

ทางหนอีสาน (ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ) ได้ แก่

๕. 勝道行洲 ควรทวีป

๖. 小勝神洲 เทหทวีป

ทางหนอาคเนย์ (ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ) ได้ แก่

๗. 勝勝神洲 วิเทหทวีป
22
๘. 諂勝洲 ศกทวีป

และทีน่ อกออกไปคือ กําแพงจักรวาล23 ตามภาพดังนี ้

21
ในปั จจุบนั พระคุรุปัทมสัมภวะ ได้ พํานักและแสดงธรรม อยู่ที่วรจามรทวีปนี ้
22
Shakdvipa, Shakadvipa ศกทวีป; ในวิษณุปรุ าณะ กล่าวว่าเป็ นเกาะกลาง
ทะเล อยู่ทางใต้ ของศิระสาคร ขณะที่บางแห่งอธิบายว่า เป็ นอีกชื่อของชมพูทวีป

~ 39 ~
อันใจกลางจักรวาลนัน้ อนุตตรยานแสดงว่า คือ เขาพระสุเมรุน้อยและเขา
พระสุเมรุใหญ่ อันพระสุเมรุน้อยนัน้ ก็คือ เขาพระสุเมรุในทางเถรวาท ที่

23
กําแพงจักรวาลนัน้ ภาษาจีนแบ่งออกเป็ น ๒ คือ 輪圍山 และ 鐵圍山 แต่ใน
ภาษาสันสกฤตนัน้ หมายเอากําแพงจักรวาลเหมือนกัน

~ 40 ~
ยอดเขาจะมีพระอาทิตย์และพระจันทร์ โคจรล้ อมรอบ ยอดเขาเป็ นที่สวรรค์
ที่มีเทพทัง้ ๓๓ องค์ปกครอง มีท้าวสักกริ นทราธิบดีเป็ นประธาน ด้ วยมีอติ
เทพทัง้ ๓๓ องค์ สวรรค์นี ้จึงได้ นามว่า “ตรัยตรึงส์”24 หรื อ “ดาวดึงส์” ใน
ภาษาไทย

24
บาลีออกว่า “เตตฺตสึ ”

~ 41 ~
เขาพระสุเมรุใหญ่ คือ สวรรค์ตงแต่
ั ้ ชนยามาขึ
ั้ ้นไป แสงอาทิตย์และจันทร์
จะส่องไปไม่ถึง แต่ยงั สุกใสส่องสว่าง ด้ วยรัศมีจากกายแห่งเทพทังหลาย

เขาพระสุเมรุใหญ่นี ้ กอปรไปด้ วยสวรรค์ ตังแต่
้ ชนยามาจนถึ
ั้ งชันปั
้ ญจ
สุทธาวาสเป็ น25ที่สดุ

ปฏิมากรรม “เขาพระสุเมรุ ”

หน้ าพระตําหนักยงเหอ พระราชวังต้ องห้ าม กรุงปั กกิ่ง ประเทศจีน

25
五淨居天, 五不還天 ปั ญจสุทธาวาส หรื อ สุทธาวาสภูมิ เป็ นชันที
้ ่เหล่าพระ
พรหมในชันนี
้ ้ ต้ องเป็ นพระพรหม อริ ยบุคคล ในพุทธศาสนา ระดับอนาคามี เท่านัน้

~ 42 ~
เหนือเขาพระสุเมรุใหญ่ไปแล้ ว เป็ นเขตของพระมหาโพธิสตั ว์และ
พระพุทธเจ้ า โดยมีพระเบญจธยานิพทุ ธแห่งวัชรธาตุเป็ นประธาน ได้ แก่

~ 43 ~
๑. 毗盧遮那佛 พระไวโรจนพุทธเจ้ า อันเป็ นพระตถาคตแห่ง
ธรรมธาตุสวภาวชญาน26 พระฉวีสขี าว ดํารงอยูศ่ นู ย์กลาง27

26
法界體性智 ธรรมธาตุสวภาวชญาน (ธัมธาตุสภาวญาณ) ความรู้โดยรอบ
อันแจ้ งในสภาวะแห่งธรรมธาตุทงปวง
ั้

~ 44 ~
๒. 阿閦佛 พระอักโษภยพุทธเจ้ า อันเป็ นพระตถาคตแห่ง
อาทรศชญาน28 พระฉวีสคี ราม29 ดํารงอยูห่ นบูรพา30

27
บางแห่งแสดงว่า พระไวโรจนพุทธเจ้ าทรงนิรมาณกาย ออกมาเป็ นอีก ๔ พระ
ตถาคตที่เหลือ (บ้ างออกนามว่า “大日如來”)
28
大圓鏡智 อาทรศชญาน (อาทัสสนญาณ) ความรู้ โดยรอบ อันแทงตลอดใน
สรรพสิ่งทังหลาย

~ 45 ~
๓. 阿彌陀佛 พระอมิตาภพุทธเจ้ า อันเป็ นพระตถาคตแห่ง
ปรตยเวกษณาชณาน31 พระฉวีสแี ดง ดํารงอยูห่ นประจิม

29
สีคราม คือ สี (ของท้ อง) ฟ้า หรือ สีนํ ้าเงิน
30
บ้ างออกนามว่า “不動佛”
31
妙觀察智 ปรตยเวกษณาชณาน ความรู้ โดยรอบ ความจําแนกแห่งลักษณะ
ทังหลาย

~ 46 ~
๔. 寶生佛 พระรัตนสัมภวพุทธเจ้ า อันเป็ นพระตถาคตแห่งสม
ตาชญาน32 พระฉวีสเี หลือง ดํารงอยูห่ นทักษิ ณ

32
平等性智 สมตาชญาน (สมตาญาณ) ความรู้ โดยรอบ อันแจ้ งในความเป็ น
เช่นนันเองแห่
้ งสรรพสิ่งทังหลาย

~ 47 ~
๕. 不空成就佛 พระอโมฆสิทธิพุทธเจ้ า อันเป็ นพระตถาคต
แห่งกฤตยานุสถานชณาน33 พระฉวีสนี ีล34 35 ดํารงอยูห่ นอุดร

33
成所作智 กฤตยานุสถานชณาน (กตานุสถานญาณ) ความรู้ โดยรอบ อันแจ้ ง
ในความสําเร็จแห่งสถานะทังหลาย

~ 48 ~
จากนันแล้
้ ว เหนือพระธยานิตถาคตขึ ้นไป ถือเป็ นจุดสูงสุดของจักรวาล อัน
36
เป็ นที่ประทับของพระอาทิพทุ ธเจ้ า

34
นีล สีเขียวเข้ ม
35
เรื่องสีพระฉวีของพระอักโษภยพุทธเจ้ าและพระอโมฆสิทธิพทุ ธเจ้ า บางแห่ง
แสดงไว้ สลับกัน
36
“พระอาทิพทุ ธเจ้ า” มีอีกนามว่า “พระสมันตภัทรตถาคต”

~ 49 ~
~ 50 ~
ทังนี
้ ้ คือ สิง่ ที่ต้องความเข้ าใจ และจดจําให้ เป็ นวสี เพื่อการทํา โยคสังครห
เปรตพลีพิธี จะได้ ถกู ต้ อง ไม่ผิดเพี ้ยน

~ 51 ~
ดังที่ได้ แสดงในเบื ้องต้ นแล้ วว่า จําเดิม ใช้ ก้นบาตรควํา่ ขึ ้น และอธิษฐาน
มณฑลพิธี ณ. ก้ นบาตรนัน้ มีการอัญเชิญ พระพุทธเจ้ าและพระโพธสัตว์
มาเป็ นสักขี เมื่อกระทําพิธี จะมีการสวดธารณี ใช้ ข้าว เพื่ออธิษฐานอุปกรณ์
ในการประกอบพิธี และกําหนดจุด รายละเอียด ในก้ นบาตรนัน้ เริ่มแต่เขา
พระสุเมรุ จนสุดขอบกําแพงจักรวาล กระทํานิมิตว่า พระพุทธเจ้ าพระ
โพธิสตั ว์มาประทับ มีรัตนวิหาร ประภาคาร ฯลฯ ซึง่ ทังสิ
้ ้นต้ องกําหนดนิมิต
ภายในใจ โดยจะผิดพลาดไม่ได้ ต่อมาเพื่อให้ ง่ายขึ ้น จึงมีการทํา
เครื่ องหมายลงลงก้ นบาตร ดังทีเ่ ราพบกันในปั จจุบนั

~ 52 ~
ภาพแสดงอุปกรณ์ ที่ใช้ ในการทํา โยคสังครหเปรตพลีพิธี

~ 53 ~
อย่างไรก็ตาม ในวัชรยานเอง ก็มพี ิธีที่มีแนวคิดเช่นเดียวกัน หากแต่จะ
ต่างกันในรายละเอียด

~ 54 ~
~ 55 ~
ภาพแสดงอุปกรณ์ ที่ใช้ ในการอภิเษกมณฑล เพื่อบูชาพระพุทธเจ้ าและพระโพธิสตั ว์ ของวัชรยาน

~ 56 ~
~ 57 ~
~ 58 ~
หัตถ์ทงั ้ ๒ (นิ ้วทัง้ ๑๐) นัน้ สําแดงซึง่ ปารมิตาทัง้ ๑๐ (พึง) มนสิการหัตถ์
แห่งตน ตามลําดับให้ ชดั เจน รวมลงในหัตถ์ให้ ตน แลในหัตถ์ของชนอื่น ให้
มนสิการตรงกันข้ าม (กล่าวคือ) ขวาเป็ นซ้ าย ซ้ ายเป็ นขวา ศึกษาชนพึงแจ้ ง
ดังฉะนี ้

~ 59 ~
~ 60 ~
คานาฉบับภาษาจีน

โยคเปรตพลี มีด้วยกันหลายฉบับ ซึง่ จําเดิมก็มาแต่ที่พระตถาคตทรงแสดง


ธารณีแก่พระอานนท์เท่านัน้ 37 แลทรงสอนให้ ภาวนา ๒๑ คาบ ซึง่ ก็คือ
มนตร์ เปลีย่ นโภชนะในปรัตยุยนั จําเนียรกาลผ่านมา พิธีกรรมค่อย ๆ
เพิ่มขึ ้น จนเป็ นที่โยคสังครหะ คัมภีรภาพเป็ นที่สดุ ไม่อาจยิง่ ไปกว่านี ้ แลมี
บางอาจารย์บางพวก ได้ เพิ่มระเบียบพิธีจนเกินการณ์ จนเคลือ่ นคลายนัย
แห่งบุราณ บ้ างก็มกี ารจัดเบญจบูชา38 มีการกระทํามุทรา ของ
พระพุทธเจ้ าทัง้ ๓๕ พระองค์ แลพระตถาคต ๓๕ องค์ ๑ พระองค์ ก็ ๑
มุทรา ซึง่ ไม่แจ้ งว่ามาแต่พระสูตรใด ทังยั
้ งจะเป็ นการเสียเวลา สับสน

37
ความข้ อนี ้ มาแต่ 佛說救拔焰口餓鬼陀羅尼經 เปรตมุขาคนีวาลายศร
การธารณีสตู ร ที่มีความโดยสังเขปว่า เมื่อครัง้ ที่พระอานนท์ประพฤติธรรมอยู่ในป่ า
มีพระมุขาคนีวาลเปรต มาปรากฏให้ เห็น แล้ วกล่าวว่า ตนเป็ นเจ้ าแห่งเปรต และพระ
อานนท์จกั ต้ องมรณภาพใน ๓ ทิวา เมื่อทํากาลกิริยาแล้ ว ต้ องล่วงลงสูป่ ิ ตติวิสยั การ
จะพ้ นภัยทังนี
้ ้ ต้ องให้ ทานเปรตทังร้้ อยพัน ทังยั
้ งต้ องอังคาสพราหมณ์ บูชาพระ
รัตนตรัย ดังนี ้แล้ ว พระอานนท์จึงนําความขึ ้นกราบบังคมทูลสมเด็จพระผู้มีพระภาค
เจ้ า พระพุทธองค์จึงทรงแสดงธารณีนี ้ แก่พระอานนท์ ด้ วยอานุภาพแห่งธารณีนี ้
กระทําการอธิษฐานโภชนะ เบื ้องบนบูชาพระรัตนตรัย เบื ้องล่างให้ ทางแก่ปวงเปรต
เปรตนันรั
้ บโภชนะแล้ ว ย่อมสละจากเปรตภาวะ ไปอุบตั ิ ณ. เทวโลก ฯลฯ
38
五供養 เบญจบูชา คือ เครื่ องบูชา ๕ ประการของวัชรยาน ได้ แก่ บุปผา, ธูป,
ประทีป, คันธะ, โภชนะ

~ 61 ~
วุน่ วาย กลับกิจที่พงึ กระทํา ก็กลับเร่งรัดโดยเร็ ว ฤๅจะเป็ นการเหนือ่ ยยาก
แต่ไร้ ผล ? ด้ วยเกรงว่า เพลานานผ่านไป ชนจักไม่ชดั แจ้ ง สละทีบ่ ริ บรู ณ์
แล้ ว ไปคัดลอกไว้ ทังยั
้ งมีภทั รชนอธิบายโดยสังเขป ต้ นฉบับไม่ชดั เจน
มาตรว่าพีชอักษรสิ ้นแล้ ว ก็จกั มนสิการไม่ได้ (แลถ้ า) คําอธิบายหาย แม้ นมี
พีชอักษร ก็ไม่ร้ ูจกั มนสิการเช่นไร ทังหลายทั
้ งปวง
้ คือความไม่บริบรู ณ์ บัดนี ้
อุบาสกจือซินเสียน39 ตังมหาปรณิ
้ ธาน รวบรวมสรรพกําลัง พิมพ์พระวินยั
, ศาสตร์ , ปิ ฏก เพิ่มเติมในสิง่ ที่บรุ าณชน ได้ กระทําไว้ ไม่ครบ จนเป็ นที่
บริ บรู ณ์ เพื่อยังให้ เข้ าถึงมณฑล แลประจักษ์ วา่ อันโยคะนัน้ ไตรทวารต้ อง
สัมพันธ์ หัตถ์กระทํา (มุทรา) จิตรมนสิการ อย่าได้ กระทํา (พิธี) ดุจระบํา
นาฏกรรม แลปากสวด (ธารณี) ก็ต้องจริ งจังและซื่อตรง อย่าได้ กระทําเป็ น
การละเล่น แลละแล้ วซึง่ รหัสยนัย ต้ องตังใจเป็
้ นหนึง่ เดียว อย่าได้ ซดั ส่าย
ฟุ้งซ่าน จนไม่อาจมนสิการได้ โดยแยบคาย แลเมื่อกายวาจาใจพรรคพร้ อม
กายและจิตรรวมเป็ นหนึง่ การโปรดสัตว์ทงนี
ั ้ ้ ก็คือการโปรดตนเอง บุญกุศล
เป็ นอจินตยะ40 ขอให้ โยคบุคคลนัน้ บําเพ็ญลักษณะ (กาย) และสัตยะ
(ใจ) ด้ วยกําลังสามารถ

39
茲心弦居士 อุบาสกจือซินเสียน
40
不可思議 อจินตยะ อจินไตย ไม่อาจคาดคิดได้

~ 62 ~
รัชสมัยวานลี่ ปี ที่ ๓๔ ปี ปิ๋ งอู41
่ ฤดูร้อน ตะวันกระจ่างฟ้ า ณ. อารามเมฆา
วาส42

จูหง43 ลิขิตคํานําด้ วยความระมัดระวัง

41
ปี ปิ๋ งอู่ 丙午 ตรงกับปี ค.ศ. ๑๖๐๖
42
雲棲寺 อารามเมฆาวาส เป็ น ๑ ใน ๕ อารามสําคัญ ของเมืองหังโจว ประเทศ
จีน
43
蓮池祩宏 พระอาจารย์จห
ู ง (ค.ศ. ๑๕๓๕ – ๑๖๑๕) พระมหานายกาจารย์
องค์ที่ ๘ ของนิกายสุขาวดี

~ 63 ~
~ 64 ~
คานาฉบับภาษาไทย

วันหนึง่ ผมฟั งพระสวด จนถึงบทอัญเชิญ ในพิธีโยคเปรตพลี44 ฟั ง ๆ แล้ วก็


ยิ ้ม เรา ๆ ท่าน ๆ ที่มีและไม่มี อํานาจ เงิน ความรู้ ความสามารถ ชื่อเสียง
ทุกส่วนของสังคม ทุกสาขาอาชีพ ไม่เว้ นแม้ แต่บรรพชิตในพุทธศาสนา พอ
ตายแล้ วมีสกั กี่คน ที่ไม่ตกลงสูอ่ บาย คือ เปรต นรก เดรัจฉาน คนเราเล่น
ละครในโลกนี ้ อย่างออกรสชาติ สุข ทุกข์ หัวเราะ ร้ องไห้ ดีใจ เสียใจ
สมหวัง ผิดหวัง เลยไม่แจ้ งสารัตถะว่า ที่แท้ จริ งแล้ ว มันคืออะไร ?

โยคสังครหเปรตพลีมณฑลพิธีฉบับที่แปลไทยนี ้ ทําขึ ้นเพื่อให้ ชนเข้ าใจใน


ความหมาย ไม่ได้ เพื่อให้ ไปประกอบพิธีกรรม เพราะผู้ที่กระทําได้ ต้ องมี
อาจารย์ถา่ ยทอดอย่างถูกต้ อง จะอาศัยแต่อา่ นหนังสือไม่ได้ และต้ องเป็ นผู้
กําลังมีศมาธิมาก เพราะพิธีกรรมค่อนข้ างยาว และมีรายละเอียดมาก โดย
จะผิดพลาดไม่ได้

44
瑜伽焰口召請文 บทอัญเชิญ ในพิธีโยคเปรตพลี (อ่านรายละเอียดได้ ใน
หน้ า 214 – 243)

~ 65 ~
โยคสังครหเปรตพลีมณฑลพิธีนี ้ จัดอยูใ่ นประเภทตันตระรหัสยยาน
กล่าวคือ โยคบุคคล หรื อผู้ประพฤติธรรมนัน้ ต้ องแปรไตรทวาร คือ กาย
วาจา และใจ ให้ เป็ นไตรรหัส กล่าวคือ

๑. กาย คือ มือ ต้ องกระทํามุทรา

๒. ปาก คือ วาจา ต้ องพรํ่ าสวดคาถาธารณี

๓. จิตร คือ ใจ ต้ องมนสิการ พระพุทธเจ้ า พระโพธิสตั ว์ สัตยเทวดา


ฯลฯ ตามที่บรู พาจารย์ได้ กําหนดไว้

ซึง่ ต้ องมีศมาธิ วสี ไม่เช่นนันแล้


้ ว พิธีกรรมทังนั
้ น้ ก็จะเป็ นเพียงการแสดง
เชิงประเพณีและวัฒนธรรม แต่ไม่อาจโปรดสรรพชีวิตได้ ซึง่ ในเรื่ องนี ้ พระ
อาจารย์จหู ง และบูรพาจารย์ทา่ นอื่น ๆ เน้ นยํ ้ามาก ในแง่สงั คมและ
วัฒนธรรม การประกอบพีธี ย่อมต้ องมีทาํ นองลีลาในการสวดร้ อง แต่ผ้ ู
ประกอบพิธี ทังบรรพชิ
้ ตและคฤหัสถ์ ต้ องตังจิ
้ ตรไว้ อย่างถูกต้ อง ไม่ยินดี ไม่
ยินร้ าย อย่าได้ ทําเป็ นการนาฏกรรม ระบํารํ าฟ้ อน ไม่เช่นนัน้ คือการไม่
เคารพ ต่อพระพุทธเจ้ า พระโพธิสตั ว์ สัตยเทวดา ฯลฯ

~ 66 ~
ในแง่คาํ สวดคาถาธารณี ในหนังสือเล่มนี ้ จะใช้ สาํ เนียงสันสกฤตเป็ นหลัก

อนึง่ ในที่นี ้ ขอกล่าวถึงการแปลทับเสียง โดยเฉพาะในการถ่ายทอดเสียง


จากภาษาสันสกฤต ไปสูภ่ าษาจีน โดยยกตัวอย่างอักษร ๒ ตัว ดังนี ้

อักษรจีน เสียงจีนกลาง เสียงจริง เสียงที่มักใช้


ทั่วไป เวลาสวด
มนตร์
攞 luó หลอ la ละ ลา
囉 luō ลอ ra ระ รา

และดังเช่นคําว่า 魔羅 ที่หมายถึง “มาร”

อักษรจีน เสียงจีนกลาง เสียงสันสกฤต เสียงที่มักใช้


ทั่วไป จริง เวลาสวด
มนตร์
魔 mó หมอ mā มา มา
羅 luó หลอ ra ระ รา

~ 67 ~
หรื อ เช่น คําว่า 摩訶般若波羅蜜多 “มหาปรัชญาปารมิตา”

อักษรจีน เสียงจีนกลาง เสียงสันสกฤต เสียงที่ใช้ เวลา


ทั่วไป จริง สวดมนตร์
摩 mó หมอ มะ มา
訶 hē เฮอ หา หา (ฮา)
般 bō ปอ ปรัช ปั ญ
若 ré เหรอ ญา (ช) ญา
波 bō ปอ ปา ปา
羅 luó หลอ ระ รา
蜜 mì มี่ มิ มิ
多 duō ตวอ ตา ตา

คําว่า 般若 ที่แปลว่า “ปรัชญา” สําเนียงจีนกลาง ในปั จจุบนั ออกเสียงว่า


“ปอเหรอ” แต่สาํ หรับคนนอกพุทธศาสนา จะออกเสียงเป็ น “ปั นรว่อ” (มัก
พบในหนังจีนกําลังภายใน ที่เกี่ยวข้ องกับพุทธศาสนา) ซึง่ ก็นบั ว่า คล้ ายกับ
คําว่า “ปั ญญา” (ปรัชญา) อยู่ ในสําเนียงจีนกลาง เสียงพินอิน45ตัว R ใน

45
拼音 (pīnyīn) Pinyin พินอิน คือ ระบบในการถอดเสียงภาษาจีนมาตรฐาน
ด้ วยตัวอักษรละติน ความหมายของพินอิน คือ "การรวมเสียงเข้ าด้ วยกัน" (โดยนัยก็
คือ การเขียนแบบสัทศาสตร์ การสะกด การถอดเสียง หรือการทับศัพท์)

~ 68 ~
ภาษาสันสกฤต จะแทนด้ วย เสียง ญ ส่วนเสียง ร และ ล นัน้ จะแทนด้ วย
พินอินตัว L ดังคําว่า 囉 และ 攞 ที่กล่าวไว้ แล้ วในข้ างต้ น

เพราะด้ วยความที่ชนในภายหลัง ไม่ได้ ศกึ ษาวิธีการเทียบเสียงของ


บูรพาจารย์ ก็เลยใช้ การอ่านอักษรจีน ตามแบบสําเนียงของตน เช่น คําว่า
說囉耶 ที่มาจากคําว่า “ศวรายะ” ซึง่ ตามสําเนียงสวดมนตร์ แบบจีนกลาง

ควรจะออกเสียงว่า “ซวารายา” กลายเป็ นว่า ทุกวันนี ้ มักจะออกเสียงกันว่า


“ซวอหลอเย46” หรื อ “ซอลอเย”

คนรุ่นหลัง ไม่เข้ าใจวิธีการออกเสียง ของคนโบราณ ไปใช้ การออกเสียงด้ วย


วิธีแบบปั จจุบนั ทัว่ ไป แล้ วตูว่ า่ บูรพาจารย์ออกเสียงเพี ้ยน อันบูรพาจารย์
นัน้ บางท่านเป็ นชาวชมพูทวีป บางท่านก็เป็ นชาวฮัน่ ที่ไปอยูช่ มพูทวีป
หลายปี แล้ วท่านจะผิดได้ เช่นไร

นอกจากนี ้ ในส่วนใด ที่พอจะทราบรายเอียดเป็ นพิเศษ ก็อาจจะมีการแนบ


คําอธิบายไว้ อันที่จริ ง ถ้ าใครที่พอฟั งมาบ้ าง ก็จะพอจับทางได้ เช่น คําว่า

46
คําว่า 耶 “เย” นี ้ ปั จจุบนั เวลาสวดภาษาจีนกลาง มักออกเสียงว่า “เย” ซึง่ ถ้ า
ตามนัยแห่ง (จีน) โบราณ ต้ องออกเสียงว่า “ยะ” หรือ “ยา”

~ 69 ~
อักษรจีน เสียงสวด เสียงสวด ภาษาสันสกฤต
มนตร์ แบบจีน มนตร์ แบบจีน
กลางจริง กลาง ที่พบกัน
ทั่วไป
答塔葛達耶 ตาทากา47ตา ตาทาเกอตาเย ตถาคตายะ
ยา
斡資(二合)囉 วาชา48รา วาจือรา วัชระ
(เวลาควบเสียง
ลดเลียง “ชา”
เป็ น “ชะ” คือ
“วาชรา”)
唵 อัน อัน โอมฺ
啞 อา ยา49 อา
吽 ฮง ฮง หูมฺ

47
คําว่า 葛 “เกอ” นี ้ ปั จจุบนั เวลาสวดภาษาจีนกลาง ออกเสียงว่า “เกอ” ซึง่ ถ้ า
ตามนัยแห่ง (จีน) โบราณ มักจะออกเสียงว่า “กะ” หรือ “กา”
48
คําว่า 資 “จือ” นี ้ ปั จจุบนั เวลาสวดภาษาจีนกลาง ออกเสียงว่า “จือ” ซึง่ ถ้ าตาม
นัยแห่ง (จีน) โบราณ จะออกเสียงว่า “ชะ” หรือ “ชา” (ที่ใช้ อกั ษรนี ้แทนเสียง เพราะ
เสียง “จะ” และ “ชะ” ออกเสียงที่ปลายลิ ้นเหมือนกัน)
49
ปั จจุบนั ในบางแห่ง เสียงสวดจีนกลางเปลี่ยนเสียงนี ้ จาก “ยา” เป็ น “อา” แล้ ว

~ 70 ~
ในความจริ ง จะสวดภาษาจีน (จีนกลาง, ฝูเจี ้ยน50 ฯลฯ) สําเนียงใด หรื อ
แม้ แต่ทิเบต มองโกล ฯลฯ ก็ไม่ใช่ปัญหา เพราะไม่วา่ จะเป็ นคนไทย, จีน
ฯลฯ จะออกเสียงยังไง ก็คงไม่ชดั เจนเท่าคนอินเดีย ที่เป็ นเจ้ าของภาษา
และคนอินเดียในวันนี ้ ก็ยิ่งไม่ใช่คนอินเดีย เมื่อพันปี ก่อน และที่สบื มาจนถึง
ปั จจุบนั อย่างเช่น ปรัชญาปารมิตาสูตร มีฉบับภาษาสันสกฤต อย่างน้ อย
๘ ฉบับ มหากรุณาธารณี มีฉบับภาษาสันสกฤต อย่างน้ อย ๓ ฉบับ ซึง่ ถือ
ว่าถูกต้ องทุกฉบับ

ความสําคัญจึงอยูท่ ี่จิตร ในการสาธยายธารณี ไม่ใช่สาํ เนียง เพราะธารณี


เกิดแต่หฤทัยของพระตถาคต การเปล่งธารณี คือการเป็ นหนึง่ เดียวกับพระ
ตถาคตเจ้ าทังหลาย
้ คําว่า “มนต์” หรื อ “มนตร์ ” นัน้ มาจากคําว่า “มนะ
(มโน)” ที่แปลว่า “ใจ” คือการสือ่ ใจถึงใจ ระหว่างพระพุทธเจ้ า พระโพธิสตั ว์
และผู้ที่เจริ ญธารณี นี่คือข้ อแตกต่าง ในการสาธยายมนตร์ ระหว่างพุทธ
ศาสนามหายานกับปวงเดียรถีย์ทงหลาย
ั้ ชนใดก็ตาม ทัง้ บรรพชิ ตและ
คฤหัสถ์ แม้จะประกาศตนว่าเป็ นพุทธศาสนิ กในมหายาน51 มาตรว่าการ

50
福建 ฝูเจี ้ยน ฮกเกี ้ยน
51
大乘 มหายาน คือ ยานอันใหญ่ คือ โพธิยาน อันจักขนสรรพชีวิต ให้ พ้นจาก
ทุกข์

~ 71 ~
สาธยายมนตร์ ใด ไม่เป็ นไปทัง้ นี ้ ก็ไม่อาจสงเคราะห์ เข้าสู่นยั แห่งมหายาน
ได้

อย่างไรก็ตาม สืบเนื่องด้ วยหมูค่ ณะ จึงควรมีมาตรฐาน ในการออกเสียง


เช่น ถ้ าใช้ สาํ เนียงจีนกลาง ก็ควรใช้ จีนกลางให้ ตลอดสาย ไม่ควรกระโดดไป
มา จีนกลางที สันสกฤตที แต่ทงนี
ั ้ ้ ก็ควรพิจารณา ตามแต่ละ หมูค่ ณะนัน้ ๆ
ด้ วย

อนึ่ง สาเนียงทีใ่ ช้ในหนังสือเล่มนี ้ ทัง้ จี นกลาง สันสกฤต ฯลฯ ตลอดจน


เนือ้ หาใด ในหนังสือเล่มนี ้ เป็ นไปเพือ่ การประกอบการพิ จารณาเท่านัน้ ไม่
สามารถรับรองความถูกต้อง หรื อนาไปใช้อา้ งอิ งเพือ่ การใด ๆ ได้

อักษรจีนกับอินเดีย, สิทธัม, รัญชนา นันต่


้ างกัน รูปแบบอักษรอินเดีย
เหมือนกับของไทย คือ มี พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ แต่พื ้นฐานอักษรจีน
เกิดจากการวาดภาพ แล้ วค่อยพัฒนาเป็ นอักษรอื่น จีนไม่มคี ําควบกลํ ้า ไม่
มีตวั สะกด

~ 72 ~
ตลอดเวลาที่ยาวนาน บูรวชนได้ พยายาม ถ่ายทอดภาษาสันสกฤตสู่
ภาษาจีน ในรูปแบบของอักษรจีน ซึง่ แต่ละยุคสมัย คณะบุคคลแปลที่
ต่างกัน การใช้ อกั ษรที่ใช้ บางทีก็ตา่ งกัน ดังนี ้แล้ ว คําเดียวกัน ในอักษรจีน
อาจเขียนได้ มากกว่า ๑ รูปแบบ เช่น

ภาษา อักษรจีนแบบ อักษรจีนแบบ อักษรจีนแบบ


สันสกฤต ที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๓
นโม 捺謨 南無 那謨
โอมฺ 唵 嗡
อา 啞 阿 啊
โอมฺ อา หูมฺ 唵啞吽 嗡阿吽 唵啊吽
โอมฺ มณิ ปั ทเม 唵嘛呢叭咪 嗡嘛呢唄咪
吽 吽
หูมฺ

ในความเป็ นจริ ง มีมากกว่านี ้ นี่เป็ นเพียงการยกตัวอย่างเท่านัน้

และในที่นี ้ ขอแนบตารางเทียบระหว่าง อักษรภาษาสันสกฤต (โรมัน) กับ


อักษรไทย52ดังนี ้

52
สามารถใช้ ในกรณี การเทียบระหว่าง อักษรภาษาบาลี (โรมัน) กับ อักษรไทย ได้
เช่นกัน

~ 73 ~
สระ
ไทย โรมัน
อะ a

อา ā

อิ i

อี ī

อุ u

อู ū

ฤ ṛ

ฤๅ ṝ

ฦ ḷ

ฦๅ ḹ

เ- e

ไ- ai

โ- o

เอา au

อํ (นิคหิต), มฺ ṃ

หฺ (ฮฺ เสียงลงท้ ายนาสิก ขึ ้นจมูก) ḥ


ใช้ เพื่อเน้ นเสียง หรื อ ลากเสียง ฯลฯ '

~ 74 ~
พยัญชนะ

วรรค ก วรรค จ วรรค ฏ วรรค ต วรรค ป


กk จc ฏṭ ตt ปp
ข kh ฉ ch ฐ ṭh ถ th ผ ph
คg ชj ฑḍ ทd พb
ฆ gh ฌ jh ฒ ḍh ธ dh ภ bh
งṅ ญñ ณṇ นn มm
ยy รr ลl วv
ศś ษṣ สs
ห (ฮ) h

หมายเหตุ : การเทียบระหว่าง อักษรภาษาสันสกฤต (โรมัน) กับอักษรไทย บางแห่งอาจต่างไปจากนี ้

*** คําว่า “โอมฺ” และ “โอม” นันต่


้ างกัน, คําว่า “หูม”ฺ และ “หูม” ก็ตา่ งกัน
คําว่า “นํ (นมฺ)” กับ นัม” คําว่า “สํ (สมฺ)” และ “สัม” และ “สัง” ก็ตา่ งกัน (มี
มากกว่านี ้ นีเ่ พียงยกตัวอย่าง ไว้ ให้ พิจารณาเท่านัน)
้ ***

~ 75 ~
สมัยนี ้ต่างกับสมัยก่อน จํานวนคนมีมากขึ ้น ทัว่ โลกมีการศึกษา ภาษาจีน,
สันสกฤต, อักษรสิทธัม, อักษรรัญชนา ฯลฯ มากขึ ้นเรื่ อย ๆ ต่อไป คงมีผ้ ู
อธิบายให้ แก่ผ้ สู นใจ มากขึ ้นกว่านี ้ ในที่นี ้ กล่าวไว้ ให้ เป็ นทรรศนะ แต่ใน
เบื ้องต้ นเท่านัน้

อันคาถาและธารณีทงหลาย
ั้ ทังยาวและสั
้ น้ เกิดแต่พระหฤทัยแห่งพระ
ตถาคตและพระโพธิสตั ว์ทงหลาย
ั้ ซึง่ นอกจาก บางส่วนของธารณี ที่กอปร
ขึ ้นจากพีชมนตร์ แล้ ว ในเชิงภาษา สามารถแปลได้ ทงหมด
ั้ แต่ก็จะไม่แปล
กัน เพราะ แต่ละพยางค์ ต่างมีความหมายอัประมาณ มีแต่พระตถาคตและ
พระมหาโพธิสตั ว์เท่านัน้ จึงจักสามารถแทงตลอด ไหนเลยที่แค่
นักภาษาศาสตร์ ปถุ ชุ น จักสามารถเข้ าถึง โดยตลอดได้

สารัตถะแห่งพิธีโยคสังครหเปรตพลีนี ้ มีนยั ๕ ประการ คือ

๑. นัยแห่ง พระโพธิญาณ เพื่อโปรดสรรพชีวิต (ศราวกยาน53 มี


การอุทิศกุศล แต่ไม่มีการโปรดสัตว์)

53
聲聞乘 ศราวกยาน สาวกยาน ยานแห่งพระสาวก ยานแห่งผู้สดับ คือ เถรวาท

~ 76 ~
๒. นัยแห่ง โพธิจติ ร ที่มีอยูใ่ นทุกสรรพชีวิต โดยเหตุนี ้สรรพชีวติ จึง
สามารถแจ้ งในธรรม สามารถได้ รับการโปรด และสามารถตรัสรู้ได้

๓. นัยแห่ง อนาตมัน คือความไม่มี สัตว์, บุคคล, ตัวตน ฯลฯ ดังนี ้


แล้ ว จึงไม่มีผ้ โู ปรดสัตว์ ไม่มีการโปรด และไม่มีสตั ว์ที่ถกู โปรด

๔. นัยแห่ง อนิจจสัญญา คือ การสําเหนียกถึงความไม่เที่ยง ที่มใี น


ทุกขณะจิตร

๕. นัยแห่ง อัปปมาทธรรม คือ ความไม่ประมาท อย่าให้


กลายเป็ นว่า เสียทรัพย์มากมาย แต่เป็ นเพียงประเพณี หรื อการ
แสดง หรื อการละเล่น ที่โปรดใครไม่ได้ จริ ง และทังบรรพชิ
้ ตและ
ฆราวาส ต่างก็ต้องมีสติในการดํารงอยู่บนพระสัทธรรม ทังกาย

วาจา และ จิตร ตังอยู
้ ใ่ น ศึกษาบททัง้ ๓ คือ ศีล ศมาธิ และปรัชญา
อย่าได้ กลายเป็ นว่า เมื่อยามยังมีชีวิตอยู่ ก็มงุ่ แต่จะโปรดสัตว์อื่น ทัง้
ที่ตน ก็ไม่มีคณ
ุ สมบัติพอ ที่จะโปรดใคร และตนเอง ก็ยงั โปรด
ตนเองไม่ได้ เบื ้องหน้ าแต่ตายเพราะกายแตก ก็ยงั ต้ องเข้ าถึง อบาย
ทุคติ วินิบาต นรก แล้ วรอให้ ชนอืน่ มาโปรดตนอีกที

ดูผิวเผินแล้ ว หนังสือเล่มนี ้ เป็ นหนังสือเชิงพิธีกรรม แต่ในความจริงนัน้ มีสา


รัตถธรรมในพุทธศาสนามหายานมากมาย อันพุทธศาสนานัน้ ไม่วา่ จะใน

~ 77 ~
ยานใด ก็ไม่อาจพ้ นหลัก ปริ ยตั ิ ปฏิบตั ิ และปฏิเวธ ไปได้ ซึง่ ทังหลายทั
้ งปวง

นัน้ ปริ ยตั ิ คือ ความใจที่ถกู ต้ อง จึงเป็ นปากทางเริ่มต้ น แห่งสัมมาทิฐิ
ทังหลาย
้ การกราบไหว้ สวดมนตร์ ตลอดจนพิธีกรรมต่าง ๆ โดยไม่มีความรู้
และความเข้ าใจ ในเชิงอุปายะนัน้ ก็ยงั ถือว่ามีคณ
ุ อยู่ แต่ยอ่ มไม่อาจเทียบ
ได้ กับการมีความรู้ที่แท้ จริง จึงหวังว่า หนังสือเล่มนี ้ จะมีประโยชน์แก่ทกุ
ท่าน โดยทัว่ กัน

ด้ วยความเคารพ

โพธิพฤกษ์ โพธิวชั ระ (นามแฝง)

๙ มกราคม ๒๕๖๑

~ 78 ~
~ 79 ~
~ 80 ~
ประเพณี ทิ้งกระจาด

ไม่วา่ จะชนชาติภาษาใด ล้ วนย่อมต้ องมีการรฤกถึงบูรพชน โดยเฉพาะ บิดร


มารดา ญาติ มิตร ที่ลว่ งลับไปแล้ ว

หลังจากสิ ้นฤดูเพาะปลูกแล้ ว ในฤดูศารทเดือน ๗ จันทรคติจีน คนจีนก็จะ


นําผลผลิต ที่เก็บเกี่ยวได้ มาเซ่นไหว้ บรรพบุรุษ เพื่อเป็ นการขอบคุณ และ
รายงานบรรพบุรุษว่า ผลผลิตในปี นัน้ เป็ นเช่นไร นอกจากนี ้ ยังเป็ นการ
ขอบคุณ 田神 เทพเกษตร ที่อํานวยความสมบูรณ์ ในกิจการกสิกรรม โดย
การสังเวยเทพกสิกรรมนี ้ สามารถนับย้ อนไป อย่างน้ อยที่สดุ ก็คือ สมัยฮัน่
คือ เมื่อประมาณ ๒,๐๐๐ ปี มาแล้ ว

ตามความเชื่อท้ องถิ่นของจีน เดือน ๗ เป็ นเดือนของคนตาย เป็ นเดือนผี


โดยเชื่อกันว่า ประตูนรกจะเปิ ดออก ให้ ภตู ผีทงหลาย
ั้ กลับมาเยี่ยมญาติ
มิตร ในโลกมนุษย์ โดยนอกจาก จะมีการเซ่นไหว้ แล้ ว ก็ยงั มีการลอย
ประทีป ด้ วยเชื่อกันว่า เพื่อให้ ดวงวิญญาณทังหลาย
้ จะได้ มองเห็นทาง

~ 81 ~
เมื่อพระพุทธศาสนาเข้ าสูแ่ ผ่นดินจีน ในสมัยฮัน่ การแปลพระสูตรสู่
ภาษาจีน ก็มีมาโดยลําดับ ความเชื่อเรื่ องเดือน ๗ ของจีน ถูกหลอมรวมกับ
ความเชื่อของพระพุทธศาสนา อย่างน้ อย ๒ เรื่ อง ได้ แก่ เรื่ องพระโมคคัลลา
นะ ช่วยมารดาให้ พ้นจากเปรตวิสยั ที่มีมาแต่ อุลลัมพนสูตร ด้ วยเหตุนี ้ จึงมี
การเรี ยกเดือน ๗ จันทรคติจีนนี ้ว่า 盂蘭節 เทศกาลอุลลัมพนะ

พิธีโยคเปรตพลี ในพุทธศาสนามหายาน

อีกความเชื่อที่นํามาผสมผสาน ได้ แก่ ความเชื่อทีม่ ากจาก เปรตมุขาคนีวา


ลายศรการธารณีสตู ร ที่มคี วามโดยสังเขปว่า เมื่อครัง้ ที่พระอานนท์
~ 82 ~
ประพฤติธรรมอยูใ่ นป่ า มี 面燃大士 พระมุขาคนีวาลเปรต มาปรากฏให้
เห็นแล้ วกล่าวว่า ตนเป็ นเจ้ าแห่งเปรต และพระอานนท์จกั ต้ องมรณภาพใน
๓ ทิวา เมื่อทํากาลกิริยาแล้ ว ต้ องล่วงลงสูป่ ิ ตติวิสยั การจะพ้ นภัยทังนี
้ ้ ต้ อง
ให้ ทานเปรตทังร้้ อยพัน ทังยั
้ งต้ องอังคาสพราหมณ์ บูชาพระรัตนตรัย ฯลฯ
โดยที่ความเชื่อนี ้ ได้ ผสานกับหลักพุทธตันตระ เกิดเป็ นพิธีโยคเปรตพลี
และขันตอนของพิ
้ ธีนี ้ ก็ปรากฏมาในหมวดตันตระ แห่งพระไตรปิ ฏกมหา
ยาน ซึง่ มีด้วยกันหลายฉบับ ซึง่ โดยรวมแล้ วเหมือนกัน จะต่างกัน ก็เพียงแต่
ในรายละเอียดเท่านัน้

พิธีเปรตพลี ในศาสนาเต๋า

~ 83 ~
ศาสนาเต๋ารับความเชื่อเปรตพลี มากจากพุทธศาสนา โดยผสมผสานกับ
ความเชื่อของตน และความเชื่อเดิมของจีน ซึง่ ความเชื่อเรื่ องเดือน ๗
จันทรคติ ฯลฯ ในศาสนาเต๋า มีมานานแล้ ว แต่การกระทําเชิงพิธีกรรมนัน้
ต้ องยอมรับว่า ได้ รับอิทธิพลมาจากพุทธศาสนา ไม่มากก็น้อย และทัง้
ศาสนาพุทธและเต๋า ต่างก็มคี วามเชื่อเรื่ องมีพระมุขาคนีวาลเปรต จะ
ต่างกันก็ที่ พระพุทธศาสนาแสดงว่า เป็ นนิรมาณกายของพระอวโลกิเตศวร
ส่วนศาสนาเต๋าแสดงว่า เป็ นนิรมาณกายของเทพ 太乙救苦天尊 ไท้ อี่จิ ้ว
ขูเ่ ทียนจุน โดยออกนามพระมุขาคนีวาลเปรตเป็ นที่ 面燃羽林監齋普
渡真君 โดยมีฐานะเป็ นทีเ่ ทพธรรมบาล ผู้ควบคุมเปรตและสัตว์นรก ให้

อยูใ่ นความเรี ยบร้ อย ไม่ก่อความเดือนร้ อน โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีการ


ประกอบพิธี ซึง่ จะมีการกระทํารูปเคารพจากกระดาษ และมักเผาทิ ้งเมื่อ
เสร็ จสิ ้นพิธี โดยกว่าที่ความเชื่อเรื่องเปรตพลีนี ้ จะรุ่งเรื องและแพร่หลายใน
ประเทศจีน ก็เข้ ามาถึงในสมัยซ่ง คือเมื่อประมาณ ๑,๐๐๐ ปี ก่อน แล้ ว

~ 84 ~
面燃大士 พระมุขาคนีวาลเปรต ของศาสนาพุทธและศาสนาเต๋า

ในประเทศไทย คนจีนแต้ จิ๋ว เรี ยกพิธีโยคเปรตพลีนี ้ว่า 施孤 “ซิโกว” โดย


แปลว่า “ให้ ทาน (ผี) ไร้ ญาติ” ส่วนคนไทยจะเรี ยกว่า “ประเพณีทิ ้งกระจาด”
หรื อ “ประเพณีเทกระจาด” โดยมาจากสายตาของชาวบ้ านทัว่ ไป ที่เห็นว่า
มีการซัดข้ าวและโปรยดอกไม้ จากกระจาดหรื อพาน ในขณะทําพิธี จึงได้

~ 85 ~
ขานนาม ตามกริ ยาดังกล่าว ต่อมามีการนําคําว่า “เทกระจาด” ไปใช้ กบั
อุบตั ิเหตุรถควํา่ ฯลฯ เห็นว่า เป็ นคําที่สอ่ ไปทางอวมงคล จึงได้ มีการเลีย่ ง ที่
จะใช้ คําดังกล่าว โดยคงเหลือไว้ แต่คําว่า “ประเพณีทิ ้งกระจาด” เท่านัน้
นอกจากนี ้ ยังมีการสันนิษฐานว่า คําว่า “เทกระจาด” มาจากกริ ยาการ
โปรยทานให้ คนยากจน ที่มารับของเหลือ จากวัตถุทาน ที่ทายกทายิกา
นํามาถวายวัดหรื อโรงเจ เพื่อที่จะทําพิธีโยคเปรตพลีนี ้

พิธีเปรตพลี ในลัทธิ นอกพุทธศาสนา และ นอกศาสนาเต๋า

~ 86 ~
การทําพิธีเปรตพลีของคนจีนนัน้ จะแบ่งออกเป็ น ๓ พวก คือ ๑. ในพุทธ
ศาสนา ๒. ในศาสนาเต๋า (จะไม่ใช้ คําว่า “โยคะ”54) ๓. ในลัทธิตา่ ง ๆ (ลัทธิ
อิงแอบศาสนา ที่ผสมผสาน ความเชื่อของพุทธ, เต๋า, ขงจื่อ เข้ าไว้ ด้วยกัน
มักพบตามโรงเจ ที่ไม่สงั กัดพุทธศาสนา ซึง่ มีทงในประเทศไทยและ
ั้
ต่างประเทศ) นอกจากนี ้ ในปั จจุบนั ยังพบว่า มีการกระทําพิธีนี ้โดย ร่าง
ทรง, หมอผี, หมอดู ฯลฯ อีกด้ วย

54
โยคะ แปลว่า การประพฤติธรรม ส่วน ผู้ประพฤติธรรม จะเรียกว่า โยคี, โยคิน,
โยคชน, โยคบุคคล, โยคาพจร, โยคาวจร ฯลฯ ซึง่ แปลว่า ผู้หยัง่ ลงสูค่ วามเพียร ผู้มี
ความเพียร

~ 87 ~
~ 88 ~
瑜伽集要施食壇儀

โยคสังครหเปรตพลีมณฑลวิธี

明古杭雲棲寺沙門 袾宏 重訂

สมณะจูหง อารามเมฆาวาส แห่งเมืองหังโจว สมัยราชวงศ์หมิง ชําระใหม่

菩提金剛 (化名) 泰譯

โพธิพฤกษ์ โพธิวชั ระ (นามแฝง) แปลและอธิบาย ฉบับภาษาไทย

~ 89 ~
~ 90 ~
โยคสังครหเปรตพลีมณฑลวิธี

(อธิษฐานเครื่ องหอม)55

อันสุคันธชาติ56 นี้ มิได้ล่วงลงจากนภา แลจะเกิดจากปฤถวีได้ไฉน ? ก่อน


ทวิอรรถ57 จะแยก รากฐานกาจรจายทั่วตรีภพ58 เอกปราณจาแนกแล้ว
แผ่สาขาทศทิศ รุ่งโรจน์กว่าดวงตะวันจันทรา งดงามกว่าขุนเขาธารา คือ
ศีล คือศมาธิ คือปรัชญา มิใช่ไม้ มิใช่ไฟ มิใช่ควัน นาธุลีมาเพียงน้อย ขจร
จายทั่วธรรมธาตุ แลในกระถางนี้ ขอนบบูชา พระรัตนตรัยผู้สถิตอยู่เป็น

55
บทนี ้เป็ นบทบูชา และกล่าวอันเชิญพระรัตนตรัย บูรพาจารย์ เทพธรรมบาล
เปรต ฯลฯ ทังยั้ งเป็ นบทอธิษฐานเครื่ องหอม (ธูป ฯลฯ) อีกด้ วย
56
香 สุคน
ั ธชาติ เครื่องหอม ธูป ฯลฯ ตามนัยแห่งเบญจบูชา จะแยกเป็ น ๒ คือ ๑.
ธูป คือ เครื่องหอมที่ใช้ จดุ ๒. คันธะ, สุคนั ธะ, สุคนธ์ คือ นํ ้ามันหอมที่ใช้ ทา (เช่น
นํ ้ามันจันทน์ แต่ในปั จจุบนั อาจมีการใช้ นํ ้าหอมสมัยใหม่แทน) และบท “อธิษฐาน
เครื่องหอม” นี ้ หมายเอา เครื่องหอมที่ใช้ จดุ เป็ นสําคัญ
57
兩儀 ทวิอรรถ อรรถทัง้ ๒ ได้ แก่ ฟ้า (陽 หยาง) และ ดิน (陰 อิน)
58
三界 ตรี ภพ ได้ แก่ ภพทัง้ ๓ ได้ แก่ กามภูมิ รูปภูมิ และ อรูปภูมิ

~ 91 ~
นิตย์59 สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย ทั้งบนแผ่นดิน แลในสาคร บูรพาจารย์ใน
อดีตกาล ปวงภัทระทั้งหลาย มากมายดุจเมล็ดทรายในสาคร อารยานารย
เปรต ขอสุคันธชาตินี้ บูชาทั่วกัน

ดวงพักตร์แห่งพระตถาคต พิศุทธิ์ ดุจปูรณจันทร์

แลดุจ พันตะวัน ทอสุกแสง

ไพบูลย์ สกาว ทศทิศ

มุทิตา อุเบกขา เมตตา กรุณา สมบูรณ์พร้อม

ขอถวายความนอบน้อมแด่ พระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระสังฆเจ้า


พระรัตนตรัย ทั้งในอดีต ปัจจุบัน อนาคต ทั่วทั้งอากาศธาตุ

(ยกถวายสาร)

59
常住 นิยตสถิต สถิตอยู่เป็ นนิตย์ คือ การพ้ นจากอํานาจกาละและเทศะ คือ
ดํารงอยู่ในทุกสถานที่และทุกเวลา

~ 92 ~
ขอถวายความนอบน้อมแด่ พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ ผู้ทรงมหา
กรุณาธิคุณ

(ทุกคนอ่านบทอธิษฐานน้ า)

อันอุทกนี้ คืออุทก ที่ถึงพร้อมด้วยคุณ ๘ ประการ60 ที่มาแต่ท้องนภา


ชาระมลธาตุแห่งสรรพชีวิต เข้าสู่ปุณฑรีกครรภโลกธาตุ (พุทธเกษตร) แห่ง
พระไวโรจนตถาคต ไม่มีที่ใด ทีไ่ ม่ทั่วถึง (อยู่กับ) น้า แต่ไม่เปียกน้า
ธรรมกายสุดพิเศษ (อยู่กับ) ดิน แต่ไม่เปื้อนดิน61 กลับคืนสู่ตน ทาลายอิธ
โลก62 ชาระล้างมณฑลพิธี หลั่งรดพฤกษาแห้ง ให้กลับงอกงาม ยัง

60
八功德水 อุทก (นํ ้า) ที่ถึงพร้ อมด้ วยคุณ ๘ ประการนัน้ เล่ากันว่า ที่สขุ าวดี
พุทธเกษตร มีสระนํ ้า ที่พร้ อมดัวยคุณธรรม ๘ ประการ คือ ใส, เย็น, หวาน, อ่อนโยน
, ชุ่มชื ้น, สงบ, ดับกระหาย, เจริญประสาทะ นอกจากนี ้ ยังมีที่กล่าวว่า ที่เชิงเขาพระ
สุเมรุ มีสระโบกขรณี ที่มีนํ ้า ที่ถึงพร้ อมด้ วยคุณ ๘ ประการ คือ หวาน, เย็น, อ่อน,
เบา, ใส, ไม่เหม็น, มีกลิ่นหอม, ไม่เป็ นอันตรายต่อร่างกาย
61
นํ ้าและดิน ในที่นี ้ หมายถึง กิเลส บทว่า “(อยู่กบั ) นํ ้า แต่ไม่เปี ยกนํ ้า ธรรมกาย
สุดพิเศษ (อยู่กบั ) ดิน แต่ไม่เปื อ้ นดิน” ความหมายคือ การดํารงอยู่ในโลกียะ แต่ไม่
แปดเปื อ้ นด้ วยปวงธุลี ดุจปุณฑรีก ฉะนัน้
62
器界 อิธโลก โลกนี ้

~ 93 ~
ดินแดนแห่งมลทิน ให้เป็นพิศุทธิเกษตร และยังให้มรรคทั้งนอกใน และ
ท่ามกลาง63 พ้นจากมลธาตุ ปวงเปรตทั้งอารยะและปุถุชน ต่างเข้าถึง
ความวิสุทธิ์และร่มเย็น

(ทุกคนสวดมหากรุ ณาธารณีพร้ อมกัน)

(ในที่นี ้แสดงไว้ วา่ ให้ สวดมหากรุณาธารณี แต่ไม่มีรายละเอียด จึงนํามาลง


เพิ่มดังนี ้)

63
บทว่า 道內外中間 “มรรคทังนอก ้ ใน และท่ามกลาง” ความคือ “ท่ามกลาง
และ ในมรรค” หมายเอา “ชนในพระศาสนา” ส่วน “นอกมรรค” หมายเอา “เดียรถีย์
คือ ผู้อยู่นอกพระพุทธศาสนา” กล่าวคือ พิธีโยคเปรตพลีนี ้ โปรดสัตว์ทงหมด
ั้ ไม่วา่
จะนับถือพุทธศาสนาหรือไม่ก็ตาม

~ 94 ~
มหากรุ ณาธารณี 64

อักษรจีน โรมัน อักษรไทย


01. 南無 Namo นะโม
喝囉怛那 ratna-
哆囉夜 trayāya รัตนะ-
ตรายายะ
02. 南無 nama นะมะ
阿唎 āryā
อารยา
03. 婆盧羯帝爍鉢 valokiteśvarāya วะโลกิเตศวะรายะ

04. 菩提 bodhi โพธิ
薩跢婆 sattvāya
สัตตวายะ
05. 摩訶 mahā มหา
薩跢婆 sattvāya
สัตตวายะ

64
มหากรุณาธารณีภาษาจีนฉบับนี ้ นํามาแต่ 《千手千眼觀世音菩薩廣大
圓滿無礙大悲心陀羅尼經》(CBETA T20n1060) คนจีนแต้ จิ๋ว ในประเทศ
ไทย มักรู้จกั มหากรุณาธารณีนี ้ ในนามว่า “ไต่ปยุ จิ่ว” อนึ่ง ธารณีนี ้ มีอีกนามว่า
“นีลกัณฐธารณี” โดยปรากฏมาใน “นีลกัณฐธารณีสตู ร” (มักเรียกกันว่า “มหากรุณา
ธารณีสตู ร”) แปลสูภ่ าษาจีน ในสมัยถัง (ประมาณ ปี ค.ศ. ๖๕๐ – ๖๖๐) โดย
สมณะภควัทธรรม นอกจากนี ้ ยังมีฉบับ ที่แปลในนามว่า《大慈大悲救苦觀世
音自在王菩薩廣大圓滿無礙自在青頸大悲心陀羅尼經》แปลใน
สมัยถังเช่นกัน (ประมาณ ปี ค.ศ.๗๔๖ – ๗๗๔) โดย สมณะอโมฆวัชระ

~ 95 ~
06. 摩訶 mahā มหา
迦盧尼迦 kāruṇikāya
การุณิกายะ
07. 唵(上聲) oṃ โอมฺ
08. 薩皤 sarva สะรวะ
囉罰曳 rabhaye
ระภะเย65
09. 數怛那怛寫 sudhanadasya สุธะนะทัสยะ
10. 南無 namas นะมัส
悉吉利埵 kṛtvā
伊蒙 imam กฤตวา
阿唎 āryā อิม
อารยา66
11. 婆盧吉帝室佛 valokiteśvara วะโลกิเตศวะระ
囉 馱婆 raṃdhava
รธะวะ
12. 南無 namo นะโม
那囉 nara
謹墀 kindi นะระ
กินทิ
13. 醯唎 hrīḥ หรีหฺ
摩訶- mahā-
皤哆- vat- มะหา-
沙咩(羊鳴音) svāme วัต-
สวาเม
65
บางฉบับออกว่า sarva raviye “สะรวะ ระวิเย”
66
บางฉบับออกว่า namo skṛta ī mo aryā “นะโม สกฤตะ อี โม อรยา”

~ 96 ~
14. 薩婆 sarva สะรวะ
阿他豆 arthato
輸朋 śubhaṃ อรถะโต
ศุภ
15. 阿逝孕 ajeyaṃ อเชย
16. 薩婆薩哆 sarva bhūta สะรวะ ภูตะ
那摩婆伽 namavaga
นะมะวะกะ67
17. 摩罰特豆 mavitato มะวิตะโต
18. 怛姪他 tadyathā ตัทยะถา
19. 唵 oṃ โอมฺ
阿婆盧醯 avaloki
อวะโลกิ
20. 盧迦帝 lokate โลกะเต68
21. 迦羅帝 krate กราเต
22. 夷 e เอ
醯唎 hrīḥ
หรีหฺ
23. 摩訶菩提薩埵 mahābodhisattvā มหาโพธิสัตตวา
24. 薩婆 sarva สะรวะ
薩婆 sarva
สะรวะ

67
บางฉบับออกว่า sarvaSat namavasat namovāka “สะรวะสัต นะมะวะสัต
นะโมวากะ”

68
บางฉบับออกว่า locate “โลจะเต”

~ 97 ~
25. 摩羅 mala มะละ
摩羅 mala
มะละ
26. 摩醯摩 mahima มะหิมะ
醯唎馱孕 hṛdayaṃ
หฤทะย
27. 俱盧 kuru กุรุ
俱盧 kuru
羯懞 karmaṃ กุรุ
กะรม
28. 度盧 dhuru ธุรุ
度盧 dhuru
罰闍耶帝 vijayate ธุรุ
วิชะยะเต69
29. 摩訶 mahā มะหา
罰闍耶帝 vijayate
วิชะยะเต70
30. 陀羅 dhara ธะระ
陀羅 dhara
ธะระ
31. 地利尼 dhṛṇī ธฤณี71
32. 室佛囉耶 śvarāya ศวะรายะ
33. 遮羅 cala จะละ

69
บางฉบับออกว่า dhuru dhuru vajayate “ธุรุ ธุรุ วะชะยะเต”
70
บางฉบับออกว่า mahā vajayate “มะหา วะชะยะเต”
71
บางฉบับออกว่า dhṛiṇi “ธิริณิ”

~ 98 ~
遮羅 cala จะละ
34. 摩摩 mama มะมะ
罰摩囉 vimala
วิมะละ
35. 穆帝囇 muktele มุกเตเล
36. 伊醯 ehi เอหิ
移醯 ehi
เอหิ72
37. 室那 śina ศินะ
室那 śina
ศินะ
38. 阿囉嘇 ārsaṃ อารส
佛囉舍利 prasari
ประสะริ73
39. 罰沙 viśva วิศวะ
罰嘇 viśvaṃ
วิศว74
40. 佛羅舍耶 prasaya ประสะยะ75
41. 呼嚧 hulu หุรุ
呼嚧 hulu
摩囉 mara หุรุ
มะระ

72
บางฉบับออกว่า ehi ihi “เอหิ อิหิ”
73
บางฉบับออกว่า ārṣaṃ pracali “อารษํ ประจะริ ”
74
บางฉบับออกว่า vasa vasam “วาษะ วาษํ ”
75
บางฉบับออกว่า praśaya “ประศะยะ”

~ 99 ~
42. 呼嚧 hulu หุรุ
呼嚧 hulu
醯利 หุรุ
hrīḥ หรีหฺ
43. 娑囉 sara สะระ
娑囉 sara
สะระ
44. 悉利 siri สิริ
悉利 siri
สิริ
45. 蘇嚧 suru สุรุ
蘇嚧 suru
สุรุ
46. 菩提夜 Bodhiya โพธิยะ
菩提夜 bodhiya
โพธิยะ
47. 菩馱夜 Bodhaya โพธะยะ
菩馱夜 bodhaya
โพธะยะ
48. 彌帝利夜 maitreya ไมตเร76ยะ77
49. 那囉 nara นะระ
謹墀 kindi
กินทิ
50. 地唎瑟尼那 dhṛṣṇina ธฤษณินะ78
76
คําว่า tre “ตเร” ไม่ได้ ออกเสียงว่า “ตะ-เร” แต่เป็ นเสียงควบกลํ ้าของคําว่า “ตะ”
กับ “เร” โดยต้ องออกเสียงควบกลํ ้าว่า “ตเร”
77
บางฉบับออกว่า maitriya “ไมตริยะ”
78
บางฉบับออกว่า dhaṛṣṇina “ธะฤษณินะ”

~ 100 ~
51. 波夜 bhaya ภะยะ
摩那 mana
มะนะ79
52. 娑婆訶 svāhā สวาหา
53. 悉陀夜 siddhāya สิทธายะ
54. 娑婆訶 svāhā สวาหา
55. 摩訶 mahā มะหา
悉陀夜 siddhāya
สิทธายะ
56. 娑婆訶 svāhā สวาหา
57. 悉陀 siddha สิทธะ
喻藝 yoge
โยเค80
58. 室皤囉耶 śvarāya ศวะรายะ
59. 娑婆訶 svāhā สวาหา
60. 那囉 nara นะระ
謹墀 kindi
กินทิ
61. 娑婆訶 svāhā สวาหา
62. 摩囉 māra มาระ
那囉 ṇara
ณะระ81

79
บางฉบับออกว่า payamana “ปะยะมะนะ”
80
บางฉบับออกว่า siddhāyoge “สิทธาโยเค”
81
บางฉบับออกว่า maranara “มะระนะระ”

~ 101 ~
63. 娑婆訶 svāhā สวาหา
64. 悉囉 śira ศิระ
僧阿 siṃha
สิมฺหะ
穆佉耶 mukhāya มุขายะ
65. 娑婆訶 svāhā สวาหา
66. 娑婆 sarva สะรวะ
摩訶 mahā
阿 a มะหา
悉陀夜 siddhāya อะ
สิทธายะ
67. 娑婆訶 svāhā สวาหา
68. 者吉囉 Cakra จักระ
阿 a อะ
悉陀夜 siddhāya สิทธายะ
69. 娑婆訶 svāhā สวาหา
70. 波陀摩 Padma ปัทมะ
羯悉哆夜 kastāya กัสตายะ
71. 娑婆訶 svāhā สวาหา
72. 那囉 Nara นะระ

~ 102 ~
謹墀 kindi กินทิ
皤伽囉 vagalāya
วะคะลายะ82
73. 娑婆訶 svāhā สวาหา
74. 摩婆利 mavari มะวะริ
勝羯囉夜 śaṅkarāya ศังกะรายะ
75. 娑婆訶 svāhā สวาหา
76. 南無 namo นะโม
喝囉怛那 ratna- รัตนะ-
哆囉夜耶 trayāya ตรายายะ
77. 南無 Nama นะมะ
阿唎 āryā
อารยา83
78. 婆嚧吉帝 valokite วะโลกิเต
79. 爍皤囉夜 śvarāya ศวะรายะ
80. 娑婆訶 svāhā สวาหา
81. 唵 oṃ โอมฺ
悉殿都 sidhyantu สิธยันตุ
มันตรา
曼哆囉 mantra

82
บางฉบับออกว่า nara kindi vagarāya “นะระ กินทิ วะคะรายะ”

83
บางฉบับออกว่า namo āryā “นะโม อารยา”

~ 103 ~
鉢默耶 padāya ปะทายะ84
82. 娑婆訶 svāhā สวาหา

ขอนอบน้อมแด่ พระอมฤตราชโพธิสัตว์มหาสัตว์

ธรรมธาตุวิศุทธิ มนตร์

(เมื่อยามที่สวดมนตร์ นี ้ ให้ มนสิการว่ายอดนาภี มีอกั ขระ ลํ รํ ทังสอง


ยังให้ เกิดความบริ สทุ ธิ์ บุญและปรัชญา บริ บรู ณ์พร้ อม)

84
บางฉบับออกว่า oṃ siddhyantu mantra padāya “โอมฺ สิทธยันตุ มันตรา
ปะทายะ”

~ 104 ~
๏ โอมฺ ล โอมฺ ร สวาหา ๚ะ๛85

นาฑีพิสุทธิ มนตร์

(เมื่อยามที่สวดมนตร์ นี ้ ให้ ใช้ นิ ้วนางแตะนํ ้าหอม แล้ วดีดไปในอากาศ แล้ ว


ถูลงบนฝ่ ามือ มนสิการว่า ทังนอกและในมณฑลพิ
้ ธี บังเกิดความบริ สทุ ธิ์)

๏ โอมฺ อโมฆะ ชะละ วิมะเล สุรุ สุรุ สวาหา ๚ะ๛86

85
唵囕。唵藍。莎訶。oṃ laṃ oṃ raṃ svāhā

~ 105 ~
มนตร์อธิษฐานข้าว

(เมื่อยามที่สวดมนตร์ นี ้ มือแตะข้ าว ๓ ครัง้ มนสิการว่า มีแสงทอสว่าง


ออกมา เกิดเป็ นเมฆแห่ง ทอง เงิน แก้ วมณี)

๏ โอมฺ วัชระ ภูมิ อา หูมฺ ๚ะ๛87

มนตร์อธิษฐาน วัชระและระฆัง

(เมื่อยามที่สวดนี ้ เอามือหยิบข้ าว โปรยไปบน วัชระและระฆัง มนสิการว่า


สําเร็ จเป็ นพีชปรัชญา)

๏ โอมฺ วัชระ สัตตะ อา หูมฺ ๚ะ๛88

86
唵。啞穆葛拶囉。彌麻迎。蘇嚕蘇嚕莎訶。oṃ amogha jala
vimale sru sru svāhā บางแห่งออกว่า “โอมฺ อโมฆะ ชะละ วิมะเล สรุ สรุ สวาหา”
87
唵。斡資囉。𠽾彌啞吽。oṃ vajra bhumi ā hūṃ

~ 106 ~
๏ โอมฺ วัชระ ฆัณฏา อา หูมฺ ๚ะ๛89

คาถาปัจจยาการ

(ภาวนาแล้ วเขย่า วัชระและระฆัง)

๏ โอมฺ เย ธะรมา เหตุ-ประภวา เหตุงฺ เตษ ตะถาคะโต หัย อวะทัต


เตษ จ โย นิโรธะ เอว วาที มหาศระมะณะ สวาหา ๚ะ๛90

88
唵。斡資囉。薩答啞吽。oṃ vajra satta ā hūṃ (บางแห่งออกว่า
“โอมฺ วัชระ สัตตวะ อา หูมฺ” oṃ vajra sattva ā hūṃ) มนตร์ บทนี ้ อธิษฐานวัชระ
และยังเป็ นหัวใจธารณี ของพระวัชรสัตว์
89
唵。斡資囉。看吒啞吽。oṃ vajra ghaṇṭā ā hūṃ มนตร์ บทนี ้
อธิษฐานระฆัง และยังเป็ นหัวใจธารณีของ 金剛鈴菩薩 พระวัชรฆัณฏาโพธิสตั ว์
(บ้ างก็ออกนามว่า vajrāveśa “วัชราเวศ”) ซึง่ เป็ นพระมหาสัตว์ที่ทรงระฆัง ประทับ
อยู่หนอุดร แห่งวัชรธาตุมณฑล โดยถือเป็ น ๑ ใน ๔ สังครหะโพธิสตั ว์ และเป็ น ๑ ใน
๓๗ พระองค์ ที่ประทับอยู่ในวัชรธาตุมณฑล
90
唵。耶答兒麻(二合)兮都。不囉巴斡兮。敦的山。答塔葛答歇
斡怛的山。拶約尼嚕怛耶邦叭諦。麻曷釋囉 (二合)麻納耶。莎訶。
oṃ ye dharmā hetu-prabhavā hetuṃ teṣāṃ tathāgato hy avadat,
teṣāṃ ca yo nirodha evaṃ vādī mahāśramaṇa svāhā คาถานี ้ เป็ นคาถา

~ 107 ~
(วางระฆังบนโต๊ ะ แล้ วใช้ มือขวา หยิบเมล็ดข้ าว แล้ วกล่าวดังนี ้)

ข้า ฯ แต่สรรพชีวิต ทั่วทั้งธรรมธาตุ สืบแต่นี้ไป ตราบจนเข้าถึงโพธิ


ตั้งปรณิธานถือพระวัชราจารย์91 และพระรัตนตรัย ว่าเป็นศรณะ

มนตร์แห่ง พระวัชราจารย์และพระรัตนตรัย

๏ นะโม คุรุ ภะยะ92 นะโม พุทธายะ93นะโม ธะรมายะ94นะโม


สังฆายะ95 โอมฺ ริ ริ หะ หะ หูมฺ หูมฺ ผัฏ96 โอมฺ ศรี มะหากาละ
หะ หะ หูมฺ หูมฺ ผัฏ สวาหา97 โอมฺ อา หูม98ฺ ๚ะ๛

ที่พระอัสสชิแสดงแก่พระสารีบตุ ร (เมื่อครัง้ เป็ นที่อปุ ติสสะปริพพาชก) ดังมีพระบาลี


ดังนี ้ “เย ธมฺมา เหตุปปฺ ภวา เตสํ เหตุํ ตถาคโต อาห เตสํฺจ โย นิโรโธ เอวํ วาที มหา
สมโณติ” และแปลเป็ นภาษาไทยได้ ว่า “ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตเจ้ าทรง
แสดงเหตุและความดับ แห่งธรรมเหล่านัน้ คํากล่าวของพระมหาสมณะ มีเพียงนี ้”
91
คําว่า 上師 ตรงกับว่า “คุรุ (ครู)” โดยมีการแปลด้ วยกัน ๓ ประการ คือ ๑. คุรุ
๒. วัชราจารย์ ๓. วัชรธราจารย์ โดยที่ในหนังสือเล่มนี ้ จะแปลว่า “วัชราจารย์”

~ 108 ~
(ใช้ มือหยิบข้ าว โปรยไปในอากาศ มนสิการว่า ข้ าวที่ร่วงลงมา คือ ดอกไม้
และเครื่ องหอม ดุจเมฆบูชา แล้ วกล่าวดังนี ้)

โปรยปราย บุปผา สร้างรัตนมณฑล

บังเกิดเป็น พุทธเกษตร อันตระหง่าน

จิตรสัมผัส อากาศธาตุ อันเพียงน้อย

มรรคประจักษ์ ภูตตถตาธรรมธาตุ อันไพศาล

92
捺謨孤嚕(二合)毗耶(二合) namo guru bhaya, namo guru bhaye นะ
โม คุรุ ภะเย (คําว่า “ภยะ” หรือ “ภเย” แปลว่า ภัยอันตราย, ความหวาดกลัว, ความ
เคารพ ในที่นี ้หมายถึง ความเคารพต่อครูอาจารย์)
93
捺謨勃塔耶 namo buddhāya
94
捺謨達而麻耶 namo dharmāya
95
捺謨桑渴耶 namo saṃghāya
96
唵哩哩哈哈吽吽癹怛 oṃ ri ri ha ha hūṃ hūṃ phaṭ
97
唵失哩麻哈歌羅哈哈吽吽癹怛莎訶 oṃ śri mahākāla ha ha hūṃ
hūṃ phaṭ svāhā
98
唵啞吽 oṃ ā hūṃ

~ 109 ~
ลักษณะงดงาม เมตตากรุณา ดุจบูรณจันทร์

นิรมาณกาย ทะยาน ดั้นเมฆหมอก

ปรากฏ ท่ามกลาง มวลควันธูป

หมื่นลักษณ์ มากมาย ดุจสาครมุทรา99

พระศากยตถาคต เป็นประจักษ์ในกุศลา (ว่าตามพร้ อมกัน)

พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ คอยบริรักษา (ว่าตามพร้ อมกัน)

พระอานนท์เถระ ถ่ายทอดพระศาสนา (ว่าตามพร้ อมกัน)

(สัน่ ระฆัง แล้ วสวด สวภาวะคาถา)

อุปายสวภาวะ ดุจกาย อันไม่สามารถ แตกทาลาย

99
萬象森羅海印含 ”หมื่นลักษณ์ มากมาย ดุจสาครมุทรา” ความหมายคือ
พระตถาคตและพระโพธิสตั ว์ทงหลาย
ั้ มีจํานวนและเข้ าถึงพระสัทธรรมมากมาย
เป็ นอเนกอนันต์ ดุจท้ องมหาสมุทร ซึง่ มิอาจคะเนได้

~ 110 ~
วัชระ (ก็) ไม่สามารถ แตกทาลายได้ (เช่นกัน) พระมหาสัตว์100 101

ลักษณะ วิเศษ เกินสิ่งใด

ยังให้กิจทั้งหลาย ในกาลนี้ ล้วนสาเร็จ

พระปรัชญา สภาวะ คัมภีรภาพ

สาแดงประกาศ อุตตรธรรมจักรโฆษ

ยังให้ (สัตว์) ที่ตายไปแล้ว เกิดอุปายกาย

ขอให้กิจทั้งหลาย ในกาลนี้ ล้วนสาเร็จ

100
大勇識 พระมหาสัตว์
101
ตามนัยแห่งสัมทรรศนะ (ธรรมอันเปิ ดเผย) นัน้ บทว่า 方便自性不壞體
金剛不壞大勇識 “อุปายสวภาวะ ดุจกาย อันไม่สามารถ แตกทําลาย วัชระ (ก็)
ไม่สามารถ แตกทําลายได้ (เช่นกัน) พระมหาสัตว์” มีความหมายว่า “สวภาวะ หรือ
สภาวะ อันได้ แก่ ตถาคตครรภ์, ภูตตถตา, อาลยวิชญา ฯลฯ เป็ นสิ่งที่พ้นจากกาละ
และเทศะ เป็ นอสังขตธรรม ไม่เกิด ไม่ดบั ไม่มี ไม่ไร้ ไม่มา ไม่ไป จึงไม่อาจทําลาย
หรือ ไม่มีสิ่งใด มาทําลายได้ เฉกเดียวกับวัชระ ที่ไม่มีสิ่งได มาทําลายได้ ” ส่วนนัย
แห่งคุหยธรรม (ธรรมอันลับ) นัน้ มีความหมายถึง 金刚萨埵, 金剛勇識 พระ
วัชรสัตว์

~ 111 ~
102
(ศุทธภูมิคาถา)

ปฐพี ทั้งหลาย ทุกซอกมุม

กระเบื้องหิน ทรายกรวด ทั้งหลายนั้น

(กลับกลายเป็น) แผ่นพื้นแก้วมณี ราบเรียบ ดุจฝ่ามือ

อ่อนนุ่ม คัมภีรภาพ ขอเชิญมาสถิต

ดุจ สุขาวดีเกษตร อันอลังการ

ประดับประดา ด้วยวิเศษรัตน์

วโนทยาน อโนดาต ไม่ขาดตก

อาศัย มหาธรรมโฆษ ขอให้บริบูรณ์

จากนอก โลกธาตุ มาปรากฏ

สาเร็จแล้ว ด้วย สัปตรัตน์103

102
淨地偈 ศุทธภูมิคาถา คือ คาถา หรื อ โศลก หรื อ บทสวด ชําระแผ่นดิน

~ 112 ~
อนันตประภาส สาดทอแสง

ขอปวง พระพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์ มาสถิต

วาทยมนตร์104

๏ โอมฺ วัชระ คัณฏิเย ระนะ ระนะ ประระนะ ประระนะ สประระ


นะ สประระนะ สะรวะ พุทธะ กเษตระ ประ-จะลิตะ มะหาปรัชญา
ปาระมิตา นะทะ สวะ-ภะเว สะรวะ ธะรมะ หฤทะยะ สโทสะนะ
กะเร หูมฺ หูมฺ ผัฏ สวาหา ๚ะ๛105

103
七寶 สัปตรัตน์ คือ แก้ ว ๗ ประการ ซึง่ แต่ละคัมภีร์ จะแสดงไว้ ตา่ งกัน จึงขอ
ข้ ามไป
104
音樂呪 วาทยมนตร์
105
唵。斡資囉。看支夷(二合)。囉納囉納。不囉(二合)囉納。不
囉(二合)囉納。三不囉(二合)囉納。三不囉(二合)囉納。薩哩斡(二合)。
孛塔赤的囉(二合)。不囉拶哩答。麻曷不囉(二合)。 尼牙(二合)巴囉。
蔑答那達速巴微。薩哩斡(二合)。塔哩麻(二合)。紇哩(二合)達耶。
傘多沙納。葛哩。吽吽。癹吒莎訶。oṃ vajra ghaṇṭiye rana
rana prarana prarana saṃ-prarana saṃ-prarana sarva buddha
kṣetra pra-calita maha prajña pāramitā nada sva-bhave sarva
dharma hṛdaya saṃ-tosana kare hūṃ hūṃ phaṭ svāhā

~ 113 ~
(วางระฆังลงบนโต๊ ะ ใช้ นิ ้วนางข้ างขวา แตะนํ ้าหอม แล้ วดีดลงไปที่ก้น
บาตรมณฑล แล้ วภาวนาว่า)

๏ โอมฺ วัชระ มา เม อา หูมฺ ๚ะ๛106 (ดีด ๓ ครัง้ )

(จากนันใช้
้ ใช้ นิ ้วนางข้ างขวา แตะนํ ้าหอม แล้ วแตะลาก บนมณฑล วนขวา
๑ รอบ เป็ นการแสดงถึง ความบริ บรู ณ์)

๏ โอมฺ วัชรานุตตะระ อา หูมฺ ๚ะ๛107

(สวดมนตร์ นี ้ ๑ จบ กระทําเป็ นวงกลม ๑ รอบ อธิษฐาน (มนสิการ) ว่า


ข้ าวทอแสง เมื่อยามทีใ่ ช้ ดุจเครื่ องแก้ วจินดามณี)

106
唵。斡資囉(二合)麻明啞吽。oṃ vajra mā me ā hūṃ
107
唵。斡資囉(二合)。烏怛葛啞吽。oṃ vajrānuttara ā hūṃ

~ 114 ~
๏ โอมฺ วัชระ ภูมิ อา หูมฺ ๚ะ๛

(เมื่อเวลาที่สวด มือขวาแต่ข้าว ๓ ครัง้ แล้ วโปรยไปบนก้ นบาตรมณฑล ดุจ


ละลองฝนในอากาศ)

กาแพงจักรวาล กาแพงจักวาล

๏ โอมฺ วัชระ ฤเข อา หูมฺ ๚ะ๛108

108
唵。斡資囉(二合)。哩契啞吽。oṃ vajra ṛkhe ā hūṃ, oṃ vajra
ṛkkhe ā hūṃ, oṃ vajra rkkhe ā hūṃ, oṃ vajra rikhe ā hūṃ

~ 115 ~
วัชรภูมิ109 วิชัยวัชระปฐพี มีอักขระ “หูมฺ” รักษาอยู่

(จากนัน้ วางเรี ยงเมล็ดข้ าว โดยเริ่ มแต่จดุ ศูนย์กลาง อันได้ แก่ เขาพระ


สุเมรุ )

109
金剛地 วัชรภูมิ ผืนปฐพีวชั ระ คือ ผืนแผ่นดิน ที่รองรับจักรวาล กอปรชึ ้นจาก
สุวรรณจักร อาโปจักร และ วาโยจักร

~ 116 ~
๏ จา-ห-เมรุวิ-นะมะหฺ110 (เขาพระสุเมรุใหญ่)

โอมฺ-ห-สกษะมะ-เมรุวิ-นะมะหฺ111 (เขาพระสุเมรุน้อย)

โอมฺ-ย-ปูรวะวิเทหะยะ-นะมะหฺ112 (ปูรววิเทหทวีป)
110
戰唅彌囉微捺麻 บางแห่งออกว่า 唵唅彌囉微捺麻 “โอมฺ-หํ-เมรุวิ-นะ
มะหฺ”
111
唵唅斯克徹(二合)麻彌囉微捺麻

~ 117 ~
โอมฺ-ย-เทหะยะ-นะมะหฺ113 (เทหทวีป)

โอมฺ-ย-วิเทหะยะ-นะมะหฺ114 (วิเทหทวีป)

โอมฺ-ล-ชัมพูทวีปะยะ-นะมะหฺ115 (ชมพูทวีป)

โอมฺ-ล-ศะกะยะ-นะมะหฺ116 (ศกทวีป)

โอมฺ-ล-อุตตระมันตรีนียะ-นะมะหฺ117 (อุตตรมันตรีนีทวีป)

โอมฺ-ร-อะปะระโคทานียะ-นะมะหฺ118 (อปรโคทานี)

โอมฺ-ร-จามะระยะ-นะมะหฺ119 (จามรทวีป)

โอมฺ-ร-วะระจามะระยะ-นะมะหฺ120 (วรจามรทวีป)

112
唵岩晡兒斡(二合)微的葛耶捺麻
113
唵岩的葛耶捺麻
114
唵岩微的葛耶捺麻
115
唵[卄/覽]咱晡的癹耶捺麻
116
唵[卄/覽]沙茶耶捺麻
117
唵[卄/覽]烏答囉曼的哩(二合)尼耶捺麻
118
唵藍啞咓囉孤答(二合)尼耶捺麻
119
唵藍拶(二合)麻囉耶捺麻

~ 118 ~
โอมฺ-ว-อุตตะระกุรนุ ี-นะมะหฺ121 (อุตตรกุรุทวีป)

โอมฺ-ว-กุรุวิ-นะมะหฺ122 (กุรุทวีป)

โอมฺ-ว-คะวระยะ-นะมะหฺ123 (ควรทวีป)

โอมฺ-อ-คะชะรัตนะยะ-นะมะหฺ124 (คชรัตนะ)

โอมฺ-ล-ปุรุษะตะ-รัตนะยะ-นะมะหฺ125 (บุรุษรัตนะ)

โอมฺ-ล-วาชี-รัตนะยะ-นะมะหฺ126 (วาชีรัตนะ)127

โอมฺ-ว-สตรี-รัตนะยะ-นะมะหฺ128 (สตรีรัตนะ)

โอมฺ-อ-คะฏะคะ-รัตนะยะ-นะมะหฺ129 (คฏครัตนะ)
120
唵藍斡囉拶(二合)麻囉耶捺麻
121
唵錽烏答囉孤囉尼捺麻
122
唵錽孤囉微捺麻
123
唵錽葛囉斡(二合)耶捺麻
124
唵巖葛拶囉的捺(二合)耶捺麻
125
唵囕𠽾嚕沙哳囉的捺(二合)耶捺麻
126
唵囕斡節囉的捺(二合)耶捺麻
127
ควรจะเป็ น “โอมฺ-รํ-วาชี-รัตนะยะ-นะมะหฺ”
128
唵錽斯的哩(二合)囉的捺(二合)耶捺麻

~ 119 ~
โอมฺ-ล-จักระ-รัตนะยะ-นะมะหฺ130 (จักรรัตนะ)

โอมฺ-ร-มณิ-รัตนะยะ-นะมะหฺ131 (มณีรัตนะ)

โอมฺ-ว-มหา-นิธะนะยะ-นะมะหฺ132 (มหานิธนรัตนะ)

โอมฺ-อา-สุริยะยะ-นะมะหฺ133 (พระอาทิตย์)

โอมฺ-ร-จันทระยะ-นะมะหฺ134 (พระจันทร์ )

โอมฺ-อา-หูมฺ-นะมะหฺ135 (ประภูตรัตนะฉัตร)136

โอมฺ-สะรวะ-รัตนี-ภะเย-นะมะหฺ137 (วิชยั เกตุ)

129
唵巖葛吒葛(二合)囉的捺(二合)耶捺麻
130
唵囕吒吃囉(二合)囉的捺(二合)耶捺麻
131
唵㘕麻尼囉的捺(二合)耶捺麻
132
唵錽麻曷聶塔捺耶捺麻
133
唵啞斯哩(二合)牙耶捺麻
134
唵㘕昝的囉耶捺麻
135
唵啞吽捺麻
136
บางแห่งออกว่า “พหุรัตนฉัตร”
137
唵薩哩斡(二合)囉的尼(二合)毗藥(二合)捺麻

~ 120 ~
โอมฺ ศรี มะตเร วัชระ คุรชุ ะละ นะกะมะลายะ สะมาคะตา นะอา
วะภะ สะฑะกรายะ หูมฺ นะมะหฺ138 ๚ะ๛

(เมื่อยามที่ภาวนาคาถานี ้ ให้ โปรยข้ าวและดอกไม้ ลงบนมณฑล แล้ วซัดไป


ในอากาศ มนสิการว่า ข้ าวทังนั
้ น้ สําเร็ จเป็ น รัตนราชวัง สวนอุทยาน และ
สระอโนดาต พร้ อมทัง้ ราชวัตร ฉัตร ธง ภูษิตาภรณ์ เครื่ องประดับ แก้ วมณี
ล้ วนแล้ วอลังการ ดุจฝนโบกขรพรรษ สืบเนื่องไม่ขาดสาย บูชาครูอาจารย์
พระรัตนตรัย แล้ วกําข้ าวและดอกไม้ สาดไปในอากาศ แล้ วพูดว่า)

เครื่ องบูชาทั้งหลายที่มี ของมนุษย์และเทวดา

๏ โอมฺ สะรวะ ตะถาคะตะ รัตนะ มะหามัณฑละ ปูชามิ โฆษะมัน


ตระ สประนะ สะมะยะ อา หูมฺ ๚ะ๛139

138
唵。室哩(二合)麻忒(二合)。斡資囉。孤嚕拶囉。捺葛麻
辢耶。三貌克答。捺啞斡癹。薩拏葛囉(二合)耶。吽。捺麻。

139
唵。薩哩斡(二合)。答塔葛達囉的捺。麻曷曼答囉(二合)。
布拶彌渴薩謨的囉(二合)。斯癹囉納。三麻耶啞吽。

~ 121 ~
(มนตร์กระทามุทรา)

๏ โอมฺ สะรวะ ตะถาคะตะ สะปะริวาระ (อาละกะมันทา) ประเตจะยะ สวา


หา ๚ะ๛140

(เปลีย่ นมา กระทําปั ทมมุทรา และ ภาวนาเบญจบูชา)

140
唵。薩哩斡 (二合)。答塔葛達。薩叭哩咓囉 (啞哩干巴丹)。巴
囉 (二合) 諦拶耶。莎訶。

~ 122 ~
๏ โอมฺ สะรวะ ตะถาคะตะ สะปะริวาระ141

โอมฺ วัชระ ปุษปะ อา หูมฺ142 (ถวายดอกไม้ สีแดง)

141
唵。薩哩斡(二合)。答塔曷達。薩叭哩咓囉。

~ 123 ~
โอมฺ วัชระ ธูปะ อา หูม143
ฺ (ถวายธูป สีเหลือง)

โอมฺ วัชระ อาโลกะ อา หูม144


ฺ (ถวายเทียนหรือประทีป สีแดงสด)

โอมฺ วัชระ คันธะ อา หูม145


ฺ (ถวายเครื่องหอม, นํ ้าหอม, นํ ้ามันหอม สี
ขาว)

โอมฺ วัชระ ไนเวทะ อา หูมฺ146 (ถวายผลไม้ สีแดงเหลือง)

โอมฺ สะรวะ สัปตะ ปูชามิ โฆษะมันตระ สประนะ สะมะยะ อา


หูมฺ147 ๚ะ๛ (ถวายดนตรี สีเขียว)148

142
唵。斡資囉。不思必啞吽。
143
唵。斡資囉。度必啞吽。
144
唵。斡資囉。啞嚕吉啞吽。
145
唵。斡資囉。干的啞吽。
146
唵。斡資囉。你微的啞吽。 (บางแห่งออกว่า “โอมฺ วัชระ ไนเวทะยะ
อา หูมฺ”)
147
唵。斡資囉(二合)。捨不答布拶彌葛薩謨的囉(二合)斯癹囉納
三麻耶啞吽。 (บางแห่งออกว่า “โอมฺ สะรวะ สังคีตะ ปูชามิ โฆษะมันตระ สํประ
นะ สะมะยะ อา หูมฺ”)
148
มนตร์ บทนี ้ แสดงว่า “สัปตะ ปูชามิ” คือ การถวายเครื่องสักการะ ๗ ประการ
แต่ในที่นี ้ มีการบูชาเพียง ๕ ประการ ซึง่ ในวัชรยาน ได้ มีการแสดงถึง 七供, 七支

~ 124 ~
วาทยมนตร์

๏ โอมฺ วัชระ คัณฏิเย ระนะ ระนะ ประระนะ ประระนะ สประระ


นะ สประระนะ สะรวะ พุทธะ กเษตระ ประ-จะลิตะ มะหาปรัชญา
ปาระมิตา นะทะ สวะ-ภะเว สะรวะ ธะรมะ หฤทะยะ สโทสะนะ
กะเร หูมฺ หูมฺ หะ หะ อา ข สวาหา ๚ะ๛149

供 “สัปตบูชา” คือ เครื่ องบูชา ๗ ประการไว้ โดยเพิ่มจากเบญจบูชาอีก ๒ คือ ๑. นํ ้า


ล้ างพระพักตร์ และ ๒. นํ ้าล้ างพระบาท โดยมนสิการว่า นํ ้านี ้ มีมากมาย ดุจ
มหาสมุทร ส่วนการถวายดนตรีนนั ้ ในตอนท้ ายของมนตร์ บทนี ้ ได้ ออกว่า “โฆษมัน
ตระ” (โฆษมนตร์ ) คือ การส่งเสียงมนตร์ บชู า ถือเป็ นการถวายดนตรี ไปในตัวอยู่แล้ ว
จึงไม่มีการจัดดนตรี ถวายเป็ นพิเศษแต่อย่างใด ดังนี ้แล้ ว ฉบับภาษาจีน จึ งมีการ
สับสน ในคําว่า “สัปตะ” ว่ามีความหมายถึง “ดนตรี ” อย่างไรก็ตาม บางแห่งให้
ความเห็นว่า คําว่า 捨不答 นี ้ (บางแห่งออกเป็ นคําลดรูปว่า 夏打) หมายถึงคําว่า
“สังคีตะ (สังคีต)” ที่แปลว่า “ดนตรี ” ไม่ใช่คําว่า “สัปตะ” ที่แปลว่า “เจ็ด” แต่อย่างใด;
“สัปตบูชา” นี ้ แฝงไว้ ด้วยนัยแห่ง “พระสมันตภัทรโพธิสตั ว์ทศจรรยา” โดยทอนจาก
๑๐ เหลือ ๗ ได้ แก่ ๑. น้ อมอภิวาทพระตถาคตทังหลาย ้ ๒. บูชาพระตถาคตทังหลาย ้
๓. กษมา (ขอขมา) ในบาปกรรมทังหลาย ้ ๔. อนุโมทนาในกุศลทังหลาย
้ ๕. เชิญ
พระตถาคตทังหลาย้ ให้ หมุนพระธรรมจักร (แสดงธรรม ประกาศพระศาสนา โปรด
สรรพชีวิต) ๖. เชิญพระตถาคตทังหลาย ้ ให้ ประทับอยู่ในโลก เพื่ออุปการะสรรพชีวิต
โดยไม่เข้ าสู่ปรินิรวาณ ๗. ปรีนามะ (ปั ตติทาน) ปวงกุศล ให้ สรรพชีวิตทังหลาย

149
唵。斡資囉(二合)。看支夷。囉納(二合)囉納(二合)。不囉
(二合)囉納。不囉(二合)囉納。三不囉(二合)囉納。三不囉(二合)

~ 125 ~
(เมื่อสวดมนตร์ จนจะจบ มือถือระฆังวัชระ สัน่ บนมณฑล ๑ รอบ แล้ ววาง
ระฆังบนโต๊ ะ แล้ วอธิษฐานรัตนะ มือซ้ ายถือดอกไม้ มือขวาร่วมกระทําเมาลี
มุทรา ขับไล่มารออกไป จากนันท่
้ ามกลางศูนยตา บังเกิดจันทรจักรสภาวะ
มนสิการ อักขระ ตรามฺ สีเหลือง ทอแสงออกมา อุปการะสรรพชีวติ แล้ ว
แสงนัน้ คืนสูอ่ กั ขระ ตรามฺ บัดนัน้ อักขระ ตรามฺ เปลีย่ นเป็ น พระรัตน
สัมภวะตถาคต แลกระทํามุทราไว้ เฉกกัน บังเกิดเป็ นรัตนะ เพื่อจะใช้ งาน)

囉納。薩哩斡。(二合)孛塔赤的囉(二合)。不囉拶哩答。麻曷
不囉(二合)。尼牙(二合)巴囉。蔑答那達速巴微。薩哩斡 (二合)。
塔哩麻(二合)。紇哩(二合)達耶。傘多沙納。葛哩。吽吽。和
和。啞龕莎訶。

~ 126 ~
รัตนมนตร์

(เมื่อยามที่สวดมนตร์ นี ้ มนสิการว่า ภายในรัตนะนัน้ บังเกิดเป็ นเทวจินดา


มณี อันประมาณมิได้ แล้ วยังไปเพื่อ การสักการะบูชา)

~ 127 ~
๏ โอมฺ สะมะระ สะมะระ วิมานะ สักการะ มะหาจักระ หูมฺ ๚ะ๛150

มนตร์โปรยข้าวและดอกไม้

๏ โอมฺ สัปตะ รัตนะ หูมฺ ๚ะ๛151

150
唵。斯嘛囉(二合)。斯嘛囉(二合)。密嘛曩。斯葛囉。摩
訶拶葛囉吽。บางแห่งแสดงว่า นี ้คือ 迴向輪陀羅尼 “สักการมหาจักร
ธารณี” ดังนี ้ “โอมฺ สะมะระ สะมะระ วิมานะ สะระ สักการะ มะหาจักระ วะ หูมฺ”
โดยปรากฏมาแต่พระไตรปิ ฏกมหายาน《大正藏》 เล่มที่ ๑๙ หน้ า ๕๒๙
อานิสงส์แห่งธารณีนี ้ เมื่อสวดสาธยาย ย่อมจักบังเกิด รัตนวิหาร มหาจักร วัชรปฐพี
ฯลฯ เพื่อบูชาพระตถาคตทังหลาย

151
唵。薩不答(二)(引)囉的捺吽。

~ 128 ~
มนตร์ขบั มาร

(กะทําวัชรมุษฏิ152 ที่ทรวงอก แล้ วเอาหลังมือชนกัน ยื่นนิ ้วนางเหยียดตรง


ชี ้ขึ ้น มนสิการว่า มีเปลวเพลิงพวยพุง่ ออกมา ขับไล่มารไปจนสิ ้น)

152
金剛拳 วัชรมุษฏิ คือ การกําหมัดวัชระ วิธีการคือ เอาปลายนิ ้วโป้ง แตะที่โคน
นิ ้วนาง แล้ วกํามือ โดยให้ นิ ้วทัง้ ๔ คลุมนิ ้วโป้งไว้ วัชรมุษฏินี ้ มีคณ
ุ ในการขับไล่สิ่งชัว่
ร้ าย เช่น มาร ฯลฯ โดยเป็ นมุทรา ของพระวัชรมุษฏิโพธิสตั ว์

~ 129 ~
๏ โอมฺ สะรวะ อมฤตะ กุณฑะลิ คะนะคะนะ หูมฺ หูมฺ ผัฏ ๚ะ๛153

(ทํามือประสานกัน นิ ้วชี ้ทัง้ ๒ ชี ้ขึ ้น วางมือระดับอก ขยับไปมาดุจพัด


มนสิการว่า มีเปลวเพลิงพวยพุง่ ออกมา เพื่อขับไล่มาร)

153
唵。斡資囉(二合)。啞彌哩達。昆吒唎。曷納曷納。吽吽。
癹吒。

~ 130 ~
๏ โอมฺ วัชระ ยักษะ หูมฺ ๚ะ๛154

(สองมือผสานกัน ๑๐ นิ ้วชี ้ขึ ้น วางมือระดับอก มนสิการว่า มีวชั รอัคนิพวย


พุง่ ออกมา เพื่อขับมาร)

154
唵。斡資囉(二合)。牙恰吽。

~ 131 ~
๏ โอมฺ วัชระ จาระ อาจาระ หานะ ตะหา ปัญจะมะถา ปัญจะ
ระณะ หูมฺ ผัฏ ๚ะ๛155

สัตยศูนยตมุทรา

(สองมือผสานกัน เข้ าสูธ่ ยานพละปรัชญา สองนิ ้วชี ้ยืดตรงขึ ้น แล้ วสวดดังนี ้)

155
唵。斡資囉(二合)。佐辢啞捺辢。曷捺答曷。巴拶麼塔。
班拶羅納。吽。癹吒。

~ 132 ~
๏ โอมฺ ศูนยะ สะรวะ ธะรมะ สวะภาวะ ศูนยตา ๚ะ๛156

ท่ามกลางศูนยตสวภาวะ มนสิการว่ามี อักขระ ภรูมฺ

156
唵。莎癹斡。順牙(二合)。薩哩斡(二合)。答哩麻。(二合)
莎癹斡。順牙(二合)達。

~ 133 ~
๏ โอมฺ ภรูมฺ ภรูมฺ ภรูมฺ อา อา อา หูมฺ หูมฺ หูมฺ ๚ะ๛157

ก็แลบังเกิดเป็น โลกธาตุทั้งทศทิศ มณฑลวิเศษทั้งหลาย คืออาละกะ158


ถึงพร้อมด้วยมาละ, ธูป, ประทีป, คันธะ, สังคีต พิสุทธิ์ สดใส ไร้ข้อติดขัด
ดั่งพระสมันตภัทรนิรมิตให้เกิดขึ้น เพื่อกระทาสักการะ แผ่ไปทั่วนภากาศ
แน่นไปทั้งธรรมธาตุ ทั่วเขตแห่งสังสาร มิมีขาดสาย

๏ โอมฺ สะรวะ ตะถาคะตะ สะปะริวาระ ประเตจะยะ สวาหา ๚ะ๛

(เปลีย่ นกลับมากระทําปั ทมมุทรา แล้ วสวดเบญจบูชา)

157
𠽾隆(二合)𠽾隆(二合)𠽾隆(二合)啞啞啞吽吽吽。(另一本曰:𠽾
隆(二合)𠽾隆(二合)𠽾隆(二合)啞啞啞吽吽𠽾隆(二合)吽。อีกฉบับออกว่า
“โอมฺ ภรูมฺ ภรูมฺ ภรูมฺ อา อา อา หูมฺ หูมฺ ภรูมฺ หูมฺ”)
158
อาละกะ อาลกมันทา เป็ นราชธานีแห่งเทพเจ้ าทังหลาย

~ 134 ~
๏ โอมฺ สะรวะ ตะถาคะตะ สะปะริวาระ

โอมฺ วัชระ ปุษปะ อา หูมฺ (ถวายดอกไม้ สีแดง)

โอมฺ วัชระ ธูปะ อา หูมฺ (ถวายธูป สีเหลือง)

โอมฺ วัชระ อาโลกะ อา หูมฺ (ถวายเทียนหรือประทีป สีแดงสด)

~ 135 ~
โอมฺ วัชระ คันธะ อา หูมฺ (ถวายเครื่องหอม, นํ ้าหอม, นํ ้ามันหอม สีขาว)

โอมฺ วัชระ ไนเวทะ อา หูมฺ (ถวายผลไม้ สีแดงเหลือง)

โอมฺ สะรวะ สัปตะ ปูชามิ โฆษะมันตระ สประนะ สะมะยะ อา หูมฺ


๚ะ๛ (ถวายดนตรี สีเขียว)

วาทยมนตร์

๏ โอมฺ วัชระ คัณฏิเย ระนะ ระนะ ประระนะ ประระนะ สประระ


นะ สประระนะ สะรวะ พุทธะ กเษตระ ประ-จะลิตะ มะหาปรัชญา
ปาระมิตา นะทะ สวะ-ภะเว สะรวะ ธะรมะ หฤทะยะ สโทสะนะ
กะเร หูมฺ หูมฺ หะ หะ อา ข สวาหา ๚ะ๛

คาถาปัจจยาการ

๏ โอมฺ เย ธะรมา เหตุ-ประภวา เหตุงฺ เตษ ตะถาคะโต หัย อวะทัต


เตษ จ โย นิโรธะ เอว วาที มหาศระมะณะ สวาหา ๚ะ๛

~ 136 ~
๏ โอมฺ อา หูมฺ ๚ะ๛ (สวด ๓ จบ และสาดข้ าวดอกไม้ แล้วถือระฆัง สวดดังนี ้)

มัณฑละคาถา

มนสิการ สัตยะยังให้เกิดมณฑล อันโอฬารวิศุทธิ์

จตุรทวีป บริบูรณ์ไปด้วย รัตนะอัประไมย

ล้วนคือ ยอดมณี พิเศษไซร้

น้อมบูชา พระวัชราจารย์และพระรัตนตรัย ขอจงมาสถิต

มัณฑลมนตร์

๏ โอมฺ สะรวะ ตะถาคะตะ รัตนะ มะหามัณฑละ ปูชามิ โฆษะมัน


ตระ สประนะ สะมะยะ อา หูมฺ ๚ะ๛

~ 137 ~
รัตนบรรพต รัตนสาคร รัตนอาสน์ อันพิเศษ

เทวาภรณ์ เกยูร159 ต้นกัลปพฤกษ์160

สระอโนดาต161 บุปผา, มาลา, ธูป, ประทีป, คันธะ อันวิเศษ

แผ่ไปทั่วธรรมธาตุ เต็มไปทั้งอากาศธาตุ

มุกมณีสภาวะ กว้างขวาง ทั้งมหาสาคร

เป็นเอกอุ ในบรรดา สัปตรัตน์

159
瓔珞 เกยูร สร้ อยคอ กรองคอ
160
如意樹 ต้ นกัลปพฤกษ์ ต้ นไม้ สารพัดนึก เชื่อกันว่าต้ นกัลปพฤกษ์ อยู่ใน
สวรรค์ (ดาวดึงส์) ทังยั
้ งมีปรากฏในอุตตรกุรุทวีป หากผู้ใดปรารถนาสิ่งใด ก็สามารถ
ไปนึกเอา จากต้ นไม้ นี ้ได้
161
寶池 อโนตตฺต อโนดาต แปลว่า สระที่ไม่ถกู แสงส่องให้ ร้อน เป็ น ๑ ใน ๗ สระ
ในป่ าหิมพานต์ ได้ แก่ ๑. สระอโนดาต ๒. สระกัณณมุณฑะ ๓. สระรถการะ ๔.
สระฉัททันตะ ๕. สระกุณาละ ๖. สระมัณฑากินี ๗. สระสีหปั ปปาตะ; รอบสระ
อโนดาต มีเขารายล้ อมอยู่ ๕ เขา ได้ แก่ ยอดเขาสุทสั สนะ ยอดเขาจิตตะ ยอดเขา
กาฬะ ยอดเขาคันธมาทน์ และยอดเขาไกรลาส ซึง่ เขาทัง้ ๕ มีลกั ษณะโค้ งงุ้มเหมือน
ปากกา ปิ ดด้ านบนสระอโนดาตไว้ ไม่ให้ โดนแสงเดือนและแสงตะวัน สระอโนดาตจึง
ไม่โดนแสงส่องให้ ร้อน สระอโนดาตนี ้ เป็ นที่สรงนํ ้าแห่ง พระพุทธเจ้ า พระปั จเจกพุทธ
เจ้ า พระอรหันต์ทงหลาย
ั้ รวมถึงผู้วิเศษ เช่น ฤๅษี วิทยาธร ยักษ์ นาค เทวดา เป็ นต้ น
นอกจากนี ้ ยังเป็ นสระนํ ้า ที่อยู่ในสุขาวดีโลกธาตุด้วย

~ 138 ~
ถวายปวงวิเศษมณี อันมากมาย ดุจเมฆา

บัดนี้ ข้า ฯ กราบกราน ขอสักการ

ท่ามกลาง อัษฏกูฏ162 เมรุราชฦๅ

จตุรมหาทวีป ปวงลักษณะ

สุริยัน จันทรา โคจรล้อม

สุวรรณ หิรัญ แลรัตนะ

มุสาระคะลวะ163 และแก้ววิฑูรย์

มุกโลหิต164และอัญมณี ทั้งหลาย

ถวายต่อเบื้องหน้า พระวัชราจารย์ และวรรัตนตรัย

162
八峯 อัษฏกูฏ คือ ขุนเขาทัง้ ๘ ที่ล้อมรอบเขาสิเนรุ ซึง่ ก็คือ อัษฏรัตนะ แก้ ว ๘
ประการ ของพระเจ้ าจักรพรรดิ
163
麻薩葛斡, 硨磲, 硨磲石 Musāra-galva Tridacna Stone มุสาระ
คะลวะ เป็ นเครื่องประดับที่ได้ จากหอยมือเสือ
164
赤珠 Rohita-mukta โรหิต-มุกตะ มุกสีแดงชนิดหนึ่ง มีคา่ และหายากมาก
(ไม่ใช่ปะการัง)

~ 139 ~
ขอทรงพระเมตตา กรุณา โปรดรับ

๏ โอมฺ สะรวะ ตะถาคะตะ รัตนะ มะหามัณฑละ ปูชามิ โฆษะมัน


ตระ สประนะ สะมะยะ อา หูมฺ ๚ะ๛

บัดนี้ ข้า ฯ กระทาการ ตามอนุศาสน์ สร้างมณฑล

มีประมาณเท่ากับอากาศธาตุ มีวัชรเป็นแผ่นพื้นปฤถิวี

ทุกอักขระมนตร์ ล้วนเกิดจากจิตร

สิเนรุ ตะวัน จันทรา ทวีปทั้งสี่

ภูษิตาภรณ์ ฉัตร นักฟ้อน ดุริยางค์ ธวัช ดุจเมฆา

รัตนอาสน์ อันงาม ประภาคาร และวิมาน

สระโบกขรณี วโนทยาน บุปผาที่มีชื่อ บานสะพรั่ง

ถวายสักการ พระวัชราจารย์ พระรัตนตรัย และเทพธรรมบาล

ขอทรงพระเมตตา กรุณารับ บังเกิดปรมุทิตา

~ 140 ~
ขจัดหมู่มาร และอุปสรรคทั้งหลาย รวบรวมบุญญา ก่อให้เกิดศานติ

ยังให้ทายก (ทายิกา) สมดังใจ ในสิ่งที่หมาย

และเกิดศุภมงคล ใน (ปัจจุบันและ) อนาคต มิรู้สิ้น

๏ โอมฺ สะรวะ ตะถาคะตะ รัตนะ มะหามัณฑละ ปูชามิ โฆษะมัน


ตระ สประนะ สะมะยะ อา หูมฺ ๚ะ๛

(วางระฆังลงบนโตะ มือขวา ถือข้ าวและดอกไม้ ภาวนาดังนี ้)

ขอพระวัชราจารย์ และพระรัตนตรัย ที่อยู่ท่ามกลางพุทธสมาคมนี้ เมตตา


กรุณาสงเคราะห์ ทายก (และทายิกา) ในกาลนี้ บุญและชญาน อลังการ
โลกียะและโลกุตตระ ล้วนแต่ศุภมงคล สมปรารถนา และปวงสรรพชีวิต
ทั่วทั้งธรรมธาตุ ต่างสาเร็จอนุตตรสัมมาสัมโพธิ โดยเร็วพลัน

๏ นะโม คุรุ ภะยะ

นะโม พุทธายะ
~ 141 ~
นะโม ธะรมายะ

นะโม สังฆายะ ๚ะ๛

๏ โอมฺ อา หูมฺ ๚ะ๛ (สวดครบ ๓ จบ จึงซัดดอกไม้ และข้ าว จากนัน้


165
เอาไม้ เคาะลงบนโต๊ ะ แล้ วว่าดังนี ้)

สรรเสริ ญพระไตรศรณคมน์

พระพุทธรัตน์ พระธรรมรัตน์ พระสังฆรัตน์

ปกแผ่ไปทศทิศ

(มาตรว่า) เคารพขอพร

ย่อมต้องประสิทธิ

165
ไม้ นี ้คือ 醒木, 驚堂木, 界方 (ดูภาพประกอบหน้ า 53) เป็ นไม้ รูปทรง
สี่เหลี่ยม มีอกั ษรสิทธัมบนไม้ ใช้ เคาะลงบนโต๊ ะ เพื่อให้ เกิดความสงบ ดุจผู้พิพากษา
ทางโลก ใช้ ค้อนไม้ ทุบลงบนโต๊ ะ เพื่อให้ เกิดเสียง เวลาขึ ้นศาล ฉะนัน้

~ 142 ~
บัดนี้จักเริ่มพิธีเปรตพลี พึงถือพระรัตนตรัยว่าเป็นศรณะก่อน ขอพรให้ธรร
มาจาร166บริบูรณ์ ยังให้ประสิทธิทุกประการ ทุกคนเมตตากรุณา ขานรับ
พร้อมกัน

ศรัทธาอภิวาทพระพุทธเจ้า ด้วยจิตรอันยิ่ง พระผู้เคารพแห่งทวิบาท167


ไตรโพธิบริบูรณ์168 ถึงพร้อมด้วยคุณทั้งหลาย เป็นสารถีฝึกบุรุษบุคคลที่

166
法事 ธรรมาจาร คือ อาจาระแห่งธรรม (กิจ หรื อ ข้ อประพฤติ แห่งธรรม) อัน
ได้ แก่ พิธีโยคเปรตพลี นี ้
167
兩足尊 พระผู้เคารพแห่งทวิบาท คําว่า 兩足 “ทวิบาท” หมายเอา สัตว์ ๒
เท้ า คือมนุษย์และเทวดา ใน 《妙法蓮華經玄贊》 สัทธรรมปุณฑรีกสูตรรหัส
ยานุโมทิตะ แสดงไว้ วา่ “ในบรรดา ๓ จําพวกนัน้ มนุษย์เป็ นเอก ที่จกั สามารถศึกษา
และประพฤติธรรมได้ ” นัยนี ้จึงหมายถึง “สัตถา เทวะมะนุสสานัง” คือ "ทรงเป็ น
ครูผ้ สู อนของเทวดา และมนุษย์ทงหลาย"
ั้ อนึ่ง “ทวิบาท” นี ้ ยังหมายเอา ทวิบริบรู ณ์
คือ ความสมบูรณ์พร้ อม ในโลกิยะกุศล (บุญ) และโลกุตตระกุศล (ชญาน) พระ
ตถาคตทรงเพียบพร้ อมและเป็ นเอก จึงทรงเป็ นอีศวร ท่องไปในธรรมธาตุ เพื่อโปรด
สรรพชีวิตได้ ; ใน 《法華嘉祥疏》 สัทธรรมปุณฑรีกกุศลศรีวิภาษา แสดงไว้ วา่
“บทว่า ทวิบาท นัน้ คือ ศีลและศมาธิ ๑, สมมุติและปรมารถ ๑, บุญและชญาน ๑
และ ปริยตั ิและปฏิบตั ิ ๑”
168
บทว่า 三覺圓 “ไตรโพธิบริบรู ณ์” ความคือ พระตถาคตทรงถึงพร้ อมด้ วย 三
覺 โพธิ (ความตื่นรู้) ทัง้ ๓ ได้ แก่ ๑. สาวกโพธิ คือ โพธิ แห่งพระอรหันต์หรื อศราวก

~ 143 ~
ควรฝึก169 (โอมฺ อา หูม)ฺ เป็นพระบิดา ผู้ทรงกรุณาแห่งปุถุชนและอารยะ
(ทั้งหลาย)170 จากสัตยโลกธาตุ171 มาสัมพันธ์ ณ.ที่นี้ พระเมตตาแผ่ไป
ทั่ว ครอบคลุมไตรยอวธวะ172 ทั้งทศทิศ กัมปนาทธรรมโฆษ บันลือธรรม
เภรี173 สาแดงอภิปราย สมมุติและปรมารถศาสน์174 (โอมฺ อา หูมฺ)

ยาน ๒. โพธิสตั วโพธิ คือ โพธิแห่งพระโพธิสตั ว์ และ ๓. สัมมาสัมโพธิ คือ โพธิแห่ง


พระสัมมาสัมพุทธเจ้ า
169
天人調御師 ปุริสทัมสารถิ เป็ นสารถีฝึกบุรุษบุคคลที่ควรฝึ ก; ในปรัชญาปาร
มิตาศาสตร์ ได้ แสดงไว้ วา่ “บทว่า ปุรุษะทัมยะสาระถิ พระตถาคตอาศัยพระมหา
กรุณาและมหาปรัชญา (เพื่อโปรดสรรพชีวิต) บางครัง้ ทรงใช้ วจีอนั ไพเราะ บางครัง้
ทรงใช้ กถาอันดุดนั บ้ างก็สลับกัน ทังนี
้ ้ก็เพื่อการฝึ ก (ม้ าคือบุรุษ) ไม่ให้ ออกจาก
หนทางคือมรรค ฉะนัน้
170
บทว่า 凡聖大慈父 “เป็ นพระบิดาผู้ทรงกรุณาแห่งปุถชุ นและอารยะ
(ทังหลาย)”
้ ความคือ พระตถาคตทรงเป็ นสยัมภู ตรัสรู้ธรรมเป็ นเอก ไม่มีใครยิ่งกว่า
ปวงปุถชุ นและพระอารยะทังหลาย
้ ต่างเป็ นศิษย์ในพระองค์ ดังนี ้แล้ วพระองค์จึงเป็ น
ที่ธรรมบิดร แห่งสรรพชีวิตทังหลาย

171
真界 สัตยโลกธาตุ หมายเอา สัตยธรรม พระตถาคตมาแต่สตั ยธรรม สู่มายา
แห่งสังสารจักร เพื่อโปรดสรรพชีวิต
172
三際時, 三世 ไตรยอวธวะ ตรี กาล คือ อดีต ปรัตยุบน
ั อนาคต คือ เป็ นอกา
ลิโก พ้ นจากข้ อจํากัดแห่งกาลเวลา
173
บทว่า 震法雷。鳴法鼓。 “กัมปนาทธรรมโฆษ บันลือธรรมเภรี ” คือ การ
ลัน่ กลองสายฟ้ากัมปนาท ยังให้ สรรพชีวิต ตื่นขึ ้นจากความหลับใหล แห่งอวิทยา

~ 144 ~
เปิดทางแห่งอุปายะ มาตรเข้าถึงว่าเป็นศรณะ ย่อมจะระงับทุกข์ แห่งนรก
ภูมิ

ศรัทธาอภิวาทพระธรรมเจ้า ด้วยจิตรอันยิ่ง เป็นที่เคารพแล้ว ของพระผู้พ้น


จากราคะ175 เป็นคลังแก้ว ขุมสมบัติ176 รวบรวมมาจากประจิม
ประเทศ177 (โอมฺ อา หูมฺ) แปลและถ่ายทอดสู่แดนบูรพา178 บูรพาจารย์
เผยแผ่ ปวงบัณฑิตวิเคราะห์ เกิดเป็นตาราอธิบาย แยกตรียาน เบญจา
นุศาสนี กาหนดเบญจนิกาย179 ภูตผียาเกรง นาคและเทพอารักษ์ ชี้ทาง

174
บทว่า 權實教 “สมมุติและปรมารถศาสน์” คือ พระศาสนาตามนัยแห่งสมมุติ
สัจและปรมัตถสัจ
175
離欲 วิราคะ พระผู้พ้นจากราคะ คือ พระพุทธเจ้ า พระโพธิสตั ว์ และพระอารย
สาวกทังหลาย

176
寶藏收。玉函貯。 บทว่า “เป็ นคลังแก้ ว ขุมสมบัติ” คือนัยแห่งศัพท์วา่
“ปิ ฏก” เพราะเป็ นที่เก็บแห่งอริยทรัพย์ทงหลาย
ั้
177
西域 ประจิมประเทศ คือ ดินแดนทางทิศตะวันตก อันได้ แก่บริ เวณประเทศ
อินเดีย ฯลฯ (ไม่ได้ หมายถึงเมือง 西域 ซีอวี ้ ที่อยู่ทางตะวันตกของจีน ในสมัย
โบราณ)
178
東土 แดนบูรพา หมายถึง บริ เวณประเทศจีนในปั จจุบน

179
五教, 五宗 เบญจนิกาย ได้ แก่ 天台 เทียนไถ, 華嚴 ฮว๋าเอี๋ยน (อวตังส
กะ), 法相 ฝ่ าเซี่ยง (ธรรมลักษณ์), 三論 ซันลุน่ (ตรีศาสตร์ ), และ 律 ลวี่ (วินยั )

~ 145 ~
แห่งดวงจันทร์180 (โอมฺ อา หูม)ฺ คือ อมฤตที่ระงับความเร่าร้อน มาตร
เข้าถึงว่าเป็นศรณะ ย่อมจะระงับทุกข์ แห่งเปรตภูมิ

ศรัทธาอภิวาทพระสังฆเจ้า ด้วยจิตรอันยิ่ง พระผู้เป็นที่เคารพท่ามกลางชน


ทั้งหลาย เบญจคุณาจารย์181 ษัฑสามครี182 มีการอุปการสรรพชีวิตเป็น

180
มีความปรากฏมาใน 《指月录》 จันทรนิทรรศน์ลิขิต ว่า มีแม่ชี นามว่า 無
盡藏 “อักษยครรภ์ ” (ชื่อนี ้เป็ นปริ ศนาธรรม) กล่าวกับ 六祖惠能 พระษัฑปริ นายก
แห่งนิกายธยาน พระอาจารย์ห้ ยุ เหนิง ว่า “ตัวท่านอ่านหนังสือไม่ออก แล้ วจะอธิบาย
ธรรมได้ เช่นไร” พระอาจารย์ห้ งุ เหนิงตอบว่า “พระธรรม ไม่ได้ เกี่ยวข้ องอะไรกับ
ตัวหนังสือ อุปมาดัง่ การชี ้ดวงจันทร์ บนท้ องฟ้า ตัวหนังสือคือนิ ้วมือ อันที่ชี ้ไปที่ดวง
จันทร์ ตัวหนังสือในพระไตรปิ ฏก คือสื่อที่จะให้ เข้ าถึงธรรม แต่จะเป็ นพระธรรมก็หา
ไม่ ดังเช่นนิ ้วมือ ที่ไม่ใช่ดวงจันทร์ ฉะนัน”

181
ใน 《三藏法數》 “ตรีปิฏกธรรมคณา” แสดงไว้ วา่ 五德師 ”เบญจคุณา
จารย์” คือ อาจารย์ที่ทรงไว้ ซงึ่ คุณธรรม ๕ ประการ ได้ แก่ ๑. นอบน้ อมอ่อนโยน ๒. มี
การเผยแพร่ธรรมโปรดสัตว์ไม่ขาดช่วง ๓. มีการรักษาศีลเป็ นที่ปรากฏ ๔. สามารถ
ทําลายกิเลสและความทุกข์ทงหลาย ั้ ๕. เป็ นผู้ไม่หนั หลังให้ ดวงตะวัน ความคือ มีอา
จาระ ที่ไม่หนั หลังคือ ไม่ขดั แย้ งต่อ พระผู้มีพระภาคและพระสัทธรรม
182
六和侶 ษัฑสามครี , ฉสามัคคี บรรพชิตในพระศาสนาของพระศาสดา กอปร
ด้ วยสามัคคีธรรม ๖ ประการ ได้ แก่ ๑. สมทิฐิ คือ จิตรมีสมั มาทิฐิ เช่นเดียวกัน ๒.
สมศีล คือ กายมีศีลาจารวัตร ตามธรรมวินยั ที่พระศาสดาประกาศไว้ เป็ นหนึ่ง
เดียวกัน ๓. สมจรรยา คือ มีความประพฤติอนั ดีแล้ ว เสมอกัน ๔. กายคารวตา คือ มี
กาย (กริยา) อันเคารพ ในหมูส่ งฆ์ อุปาธยายะ และบุคคลทังหลาย ้ ๔. วจีคารวตา
คือ มีวจีสจุ ริต ไพเราะ นอบน้ อม ไม่โต้ แย้ ง และไม่ทะเลาะกับใคร ๖. มนัสคารวตา

~ 146 ~
กิจ (โอมฺ อา หูม)ฺ เผยแผ่พระธรรมเป็นธุระ หลบลี้จากโลกียะ มีปกติสุข
นั่งอยู่ในที่สงบศานติ ปกคลุมกายด้วยผ้านามะตะ183 เป็นผู้ภิกขาจารแค่พอ
ประทังชีวิต บาตรสยบมังกร คทาขักกระ184ปราบพยัคฆ์ ธรรมประทีป
สาดส่อง (โอมฺ อา หูมฺ) สืบแต่ปูรวาจารย์ มาตรเข้าถึงว่าเป็นศรณะ
ย่อมจะระงับทุกข์ แห่งติรัจฉานภูมิ

คือ มีจิตรไม่โอ้ อวด โอหัง ถือตน แต่กลับ นอบน้ อม ต่อบุคคล สรรพสิ่ง และสรรพ
ชีวิตทังหลาย
้ ด้ วยสรรพชีวิตมีโพธิจิตร ดังนี ้แล้ ว สรรพชีวิตก็คือพุทธะ การเคารพใน
สรรพชีวิต อันได้ แก่ ทุกคน ทุกสัตว์ ทุกชีวิต ก็คือ การเคารพในพระตถาคตเจ้ า
ทังหลาย

183
納衣, 衲衣, 毳衣 ผ้ านามะตะ เป็ นผ้ าที่ทําจากขนสัตว์ เช่น ขนแกะ การ
คลองผ้ าดังนี ้ มีคณ ุ ๑๐ ประการ คือ ๑. มีคณ ุ เหมือนผ้ าสังการ คือ ผ้ าที่เขาทิ ้งข้ าง
ทาง, ผ้ าที่กวาดทิ ้ง, ผ้ าที่ทิ ้งข้ างแม่นํ ้าลําคลอง, ผ้ าที่มอดแมลงกัดขาด ฯลฯ (บาง
แห่งแสดงไว้ วา่ ผ้ าสังการ หมายถึงผ้ า ๕ ประการคือ ๑. ผ้ าที่ไฟไหม้ ๒. ผ้ าที่ไหลไป
ตามนํ ้า ๓. ผ้ าที่หนูกดั ๔. ผ้ าที่ววั กัด ๕. ผ้ าที่แม่นมทิ ้ง) ๒. เป็ นผู้มกั น้ อย ๓. เป็ นผู้
นัง่ เป็ นสุข ๔. เป็ นผู้นอนเป็ นสุข (นัง่ นอนเป็ นสุข เพราะไม่ใช่ผ้าดีมีราคา จึงไม่ต้อง
ระวัง) ๕. ด้ วยเป็ นผ้ าเก่าจึงซักง่าย ๖. ย้ อมง่าย ๗. มอดแมลงกินน้ อย ๘.ขาดหรือ
ทําลายยาก (ด้ วยเป็ นผ้ าหยาบ และย้ อมนํ ้าฝาดแล้ ว จึงมีความคงทน) ๙. ไม่ต้องหา
ผ้ ามาเพิ่ม ๑๐. เป็ นผู้ไม่เสื่อมแล้ วจากอารยมรรค
184
錫杖 คทาขักกระ ไม้ เท้ าที่พระกษิ ตครรภ์ และที่บรรพชิตจีน ถือเวลาเดินทาง
และทําพิธี ฯลฯ

~ 147 ~
(จากนัน้ กล่าวต่อดังนี ้)

ขอนอบน้อมแด่ พระสุคันธเมฆปฎลโพธิสัตว์มหาสัตว์185

ทุกคนตั้งมหาปรณิธาน

เข้าถึงพระวัชราจารย์ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ว่าเป็นศรณะ

บัดนี้ ข้า ฯ ขอตั้งปรณิธาน ไม่ขอในมนุษยสมบัติ ไม่ขอในสวรรค์สมบัติ


ไม่ปรารถนาเพื่อตนเอง ไม่หวังเพื่อพระ (อรหันต์) สาวก และ พระปัจเจก
แลยิ่งไม่ใช่เพื่อฐานะแห่งพระโพธิสัตว์ หากแต่เพื่ออนุตตรยานเท่านั้น ตั้ง
จิตรปรณิธานในโพธิจิตร ขอปวงสรรพชีวิตทั่วทั้งธรรมธาตุ ร่วมเข้าถึง
อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ

กระทา มหาจักรวิทยราช มุทรา

อธิษฐาน ให้ปริมณฑล พิสุทธิ์สิทธิ์


185
ขอนอบน้ อม ต่อปวงพระโพธิสตั ว์มหาสัตว์ ที่อยู่ภายใต้ มวลแห่งควันธูป
(เครื่องหอม) นี ้

~ 148 ~
บัดนี้ ข้า ฯ อาศัยอนุศาสน์ รหัสยมนตร์

ขอให้การณ์ ทั้งหลาย ล้วนสาเร็จ

สวด มหาจักรวิทยราชมุทรา ๗ จบ

(อันมุทราและธารณีนี ้ ในอมฤตกุณฑลิโพธิสตั วชาปวิธี แสดงไว้ วา่ สองมือ


ประสานกัน นิ ้วชี ้ตังตรง
้ นิ ้วกลางก็ตงตรง
ั ้ แล้ วงอมาเกี่ยว นี ้วชี ้ข้ อที่หนึง่
เมื่อกระทํามุทรา พึงสํารวมจิตร แล้ วว่าดังนี ้)

๏ นะมัส ตริยะ ธปิกานามฺ สะรวะ ตะถาคะตานามฺ โอมฺ วิระจิ วิระ


จิ มะหาจักระ วัชรี วัชรี สะตะ สะตะ สาระเต สาระเต ตระยี ตระยี
วิธะมะณิ สภ ชะนะนิ ตระมะนิ เต สิทธา คริยะ ตรามฺ อ186 สิทธิ
ธปิ สวาหา ๚ะ๛187

186
บทว่า “อํ” บางแห่งออกว่า “งํ”
187
捺麻斯得哩(三合)野。脫夷(二合)葛喃。薩哩斡(二合)。怛
塔葛達喃。唵。微囉積。 微囉積。麻曷拶葛囉(二合)。斡資
哩(二合)。斡資哩(二合)。薩怛薩怛。薩囉諦。薩囉諦。得囉

~ 149 ~
(二合)夷。得囉(二合)夷。微駄麻尼。三攀拶納禰。得囉(二合)

麻禰的。席塔訖哩(二合)。得蘭(二合)顏席提。脫夷(二合)莎訶。
บางแห่งกล่าวว่า มนตร์ บทนี ้ คือ 大輪金剛陀羅尼 มหาจักรวัชรธารณี
โดยถือเป็ นอภิเษกธารณี ในพระตถาคตเจ้ าทังหลาย
้ ดังนี ้ “นมัส ตริ ยะ ธวิ
กานามฺ สะรวะ ตะถาคะตานามฺ โอมฺ วิระจิ วิระจิ มะหาจักระ วัชรี สะตะ สะ
ตะ สาระเต สาระเต ตระยี ตระยี วิธะมะณิ สํภญ
ั ชะนิ ตระมะติ สิทธา อัคเร
ตรามฺ สวาหา” (และบางฉบับก็ออกว่า “นะมัส ตริ ยะ ทวิกานามฺ ตะถาคะ
ตานามฺ โอมฺ วิระจิ วิระจิ มะหาจักระ วัชรี สะตะ สะตะ สาระเต สาระเต
ตระยี ตระยี วิธะมะณิ สํภะชะนิ ตระมะติ สิทธา คริยะ ตรามฺ สวาหา”)

~ 150 ~
(เมื่อยามที่สวดมนตร์ นี ้ พึงมนสิการว่า เบื ้องหน้ าห่างจากตนไป ๗ องคุลี
สูงขึ ้นไป ๘ องคุลี ปรากฏอักษร ภรูมฺ สีทอง แปรเปลีย่ นเป็ นวิมานวิเศษ
ทังสหสรโลกธาตุ
้ กลายเป็ นโลกธาตุเดียว โลกธาตุเดียว ก็หลอมรวม
กลายเป็ นมหาวิมานเดียว ล้ วนแล้ วอลังการ มีความบันเทิง ดังเช่นที่ อวตัง
สกสูตร ได้ แสดงไว้ ฉะนัน้

ปุจฉา : เพราะเหตุใด โลกธาตุหนึง่ ต้ องรวมเป็ นวิมานเดียว ?

~ 151 ~
วิสชั นา : อันปฐพีนนั ้ แต่เดิม ล้ วนว่างเปล่า ว่าถ้ ามีนคร แต่ไม่มีบริ ชนแล้ ว
นครทังหลายนั
้ น้ ย่อมเป็ นหนึง่ เดียว ฉะนัน้

ปุจฉา : ก็แล นครแห่งสรรพชีวิตนัน้ อยูท่ ี่หนใด ?

วิสชั นา : ปวงพระตถาคต ท่ามกลางสรรพชีวติ ใช้ งานร่วมกัน

ปุจฉา : แล้ วแค่มนสิการ จะเกิดเป็ นวิมานได้ ฤๅ ?

วิสชั นา : อันสหสรโลกธาตุทงหลาย
ั้ ตลอดจนความพิเศษประดามี ล้ วนเกิด
จากภูตตถตา หากพ้ นแล้ ว สิง่ ไรไรย่อมมิมี บัดนี ้อาศัยมายาพละ ยังให้ สหส
รโลกธาตุ กลายเป็ นวิมานเดียว นี ้คือ “สรรพสิง่ เกิดแต่จิตรเรา” ฉะนัน)

~ 152 ~
ขอน้อมเกศ ต่อพระสารถิยาจารย์ ทั้งทศทิศ

สาแดง พิศุทธิ สัทธรรม

ตรียาน จตุร (มรรค) ผล188โมกษะบรรพชิต

188
四果 จตุร (มรรค) ผล ในเถรวาท ได้ แก่ มรรค ๔ ผล ๔ คือ ๑. โสดาบัน ๒.
สกิทาคามี ๓ . อนาคามี ๔. อรหันต์; ส่วนในทางมหายานและวัชรยาน ได้ แก่ ๑.
ประถมภูมิโพธิสตั ว์ ๒. อัษฎภูมิโพธิสตั ว์ ๓. ทศภูมิโพธิสตั ว์ ๔. พุทธภูมิ

~ 153 ~
โปรดประทาน เมตตากรุณา สู่ธรรมสังคีติ189

น้อมอัญเชิญ พระรัตนตรัย

(กล่าวแล้ ว ยกดอกไม้ อญ
ั เชิญ ทุกคนขานรับ ประธานถือกระถางสุคนธ์
น้ อมอัญเชิญ)

ขอนมัสการ สรวมจิตรอัญเชิญ ทั่วทศทิศ ทั้งธรรมธาตุ อันเกษตรน้อย


ใหญ่ทั้งหลาย ปวงพระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระสังฆเจ้า คุหยปาทะ190
ธรรมบาลเทวราช เทวนาคทั้งแปดจาพวก191 พราหมณ์ ฤๅษี แลทั้งปวง
อารยะ ขออย่าได้ขัดต่อปรณิธาน กรุณาต่อสรรพชีวิต ณ. เพลานี้ ขอจงมา
สู่ธรรมสังคีติ

189
法會 ธรรมสังคีติ คือ ที่ประชุมธรรม อันได้ แก่ พิธีโยคเปรตพลีนี ้
190
金剛密跡, 密跡金剛 คุหยปาทะ, คุหยบาท เป็ นยักษ์ ในกามาวจรภูมิ (วัชร
ปาณิ) ฐานะเป็ นรองท้ าวสักกะและท้ าวจตุมหาราช หัตถ์ทรงไว้ ซงึ่ วัชระ เดิมคือพระ
โพธิสตั ว์นิรมาณกายมา มีหน้ าที่ อารักษ์ พระศากยมุนีตถาคต และ บําราบเดียรถีย์
191
天龍八部 “เทวนาคทังแปดจํ
้ าพวก” ได้ แก่ ๑. เทพ ๒. นาค ๓. ยักษ์ ๔.
คนธรรพ์ ๕. อสูร ๖. ครุฑ ๗. กินนร ๘. มโหราค

~ 154 ~
(ทุกคน ถือเอาดอกไม้ ขึ ้น แลกล่าวดังนี ้)

อาศัยโยคศาสน์ กาหนดสร้างมณฑล

ขอพระรัตนตรัย เมตตากรุณาทรงรับ

ปรากฏมณฑลพิธี

(ในสหสรภุชเนตรโยควิธี แสดงไว้ วา่ ๒ มือ กระทําวัชรมุษฎิ ทานและวีรยะ


กับ ปรัชญาและพละ เกี่ยวกัน กระทําไว้ ระดับอก และว่าดังนี ้)

~ 155 ~
๏ โอมฺ วัชระ จักระ หูมฺ ชะหฺ หูมฺ ว โหหฺ ๚ะ๛192

192
唵。斡資囉 (二合) 拶裓囉 (二合) 吽。拶。吽。邦。斛。oṃ
vajra cakra hūṃ jaḥ hūṃ vaṃ hoḥ (บางแห่งออกว่า “โอมฺ วัชระ จักระ หูมฺ
ชยา หูมฺ วํ โหหฺ ๚ะ๛” oṃ vajra cakra hūṃ jyā hūṃ vaṃ hoḥ)

~ 156 ~
(พึงมนสิการว่า พีชอักขระ ทอแสงตราบจนเทวโลก อัญเชิญพระปรัชญาอว
โลกิเตศวร มายังมณฑลพิธี แลอันพระปรัชญาอวโลกิเตศวรนี ้ สําแดง
ประภาส อันประมาณมิได้ เชื ้อเชิญพระรัตนตรัย ทังสั
้ มทรรศนะและคุหยะ
ตลอดจนธรรมบาล อันประมาณมิได้ มายังมณฑลพิธี

ปุจฉา : พุทธศาสนานัน้ ว่าด้ วยเหตุและผล แต่ไรมาผลเป็ นหลัก แต่เหตุ


เพียงครึ่ง แล้ วใยกาลนี ้ จึงเหตุเป็ นหลัก ผลเพียงกึ่ง ?

วิสชั นา : ความนี ้มีนยั ๒ ประการ คือ ๑. พระโยคาวจรมีเหตุปัจจัยเขต


ร่วมกับพระอวโลกิเตศวร จึงพึงใช้ เขตนี ้นําทาง แล้ วค่อยเข้ าถึงพุทธเขต โดย
อัญเชิญให้ พระอวโลกิเตศวร ส่องแสงรัศมี ทูลเชิญพระรัตนตรัย เฉก
เดียวกับที่ พระโยคาพจรทูลเชิญพระอวโลกิเตศวร ฉะนัน้ ก็การทีอ่ าศัย
พระอวโลกิเตศวรเชิญพระรัตนตรัย นี ้ไม่ใช่เหตุหลัก ๒. พระอวโลกิเตศวรผู้
นี ้ คือ พระโลกวีสตีรณเตเชศวรประภาตถาคต193 ในกาลก่อน ได้ คืนสู่
โพธิสตั ว์ฐานะ เพื่อโปรดสรรพชีวติ อันผลสถาน194นี ้ ถ้ าจะเป็ นหลัก ก็ไม่
ถือว่าเกินไป)

193
威德自在光明王如來, 世間廣大威德自在光明如來 พระโลกวีสตี
รณเตเชศวรประภาตถาคต
194
果位 ผลสถานะ, ผลสถาน

~ 157 ~
ทุกคน สวดพระนาม ๓๕ พระตถาคต195

(ตรงนี ้กล่าวว่า “ทุกคน สวดพระนาม ๓๕ พระตถาคต” แต่ไม่มีระบุไว้ เลย


เพิ่มไว้ ดังต่อไปนี ้)

195
นามพระตถาคตทังนี
้ ้ มาแต่ 聖三聚經 “อารยตริสกัณฑสูตร”

~ 158 ~
นามแห่งพระตถาคตทั้ง ๓๕ พระองค์

~ 159 ~
「นะโม ศากยะมุนะเย ตะถาคะตายะ196

นะโม วัชระสาระประมะรทิเน ตะถาคะตายะ197

นะโม รัตนารจิเษ ตะถาคะตายะ198

นะโม นาเคศวะระราชายะ ตะถาคะตายะ199

นะโม วีระเสนายะ ตะถาคะตายะ200

นะโม วีระนันทิเน ตะถาคะตายะ201

นะโม รัตนาคนะเย ตะถาคะตายะ202

นะโม รัตนะจันทระประภายะ ตะถาคะตายะ203

196
1. 南無釋迦牟尼佛
197
2. 南無金剛堅固能摧佛
198
3. 南無寶焰佛
199
4. 南無龍自在王佛
200
5. 南無勤勇軍佛
201
6. 南無勤勇喜佛
202
7. 南無寶火佛
203
8. 南無寶月光佛

~ 160 ~
นะโม โมฆะทะรศิเน ตะถาคะตายะ204

นะโม รัตนะจันทรายะ ตะถาคะตายะ205

นะโม นิรมะลายะ ตะถาคะตายะ206

นะโม วิมะลายะ ตะถาคะตายะ207

นะโม ศูระทัตตายะ ตะถาคะตายะ208

นะโม พราหมะเณ ตะถาคะตายะ209

นะโม พระหมะทัตตายะ ตะถาคะตายะ210

นะโม วะรุณายะ ตะถาคะตายะ211

204
9. 南無不空見佛
205
10. 南無寶月佛
206
11. 南無無垢佛
207
12. 南無離垢佛
208
13. 南無勇施佛
209
14. 南無淨行佛, 南無清淨行佛
210
15. 南無梵施佛, 南無清淨施佛,
211
16. 南無水王佛

~ 161 ~
นะโม วะรุณะเทวายะ ตะถาคะตายะ212

นะโม ภัทระศรีเย ตะถาคะตายะ213

นะโม อนันเตาชะเส ตะถาคะตายะ214

นะโม จันทะนะศรีเย ตะถาคะตายะ215

นะโม ประภาสะศรีเย ตะถาคะตายะ216

นะโม อโศกะศรีเย ตะถาคะตายะ217

นะโม นารายะณายะ ตะถาคะตายะ218

นะโม กุสุมะศรีเย ตะถาคะตายะ219

212
17. 南無水天佛
213
18. 南無賢吉祥佛
214
19. 南無無量威德佛
215
20. 南無栴檀吉祥佛
216
21. 南無光吉祥佛
217
22. 南無無憂吉祥佛
218
23. 南無那羅延吉祥佛, 南無那羅延佛
219
24. 南無花吉祥佛, 南無華吉祥佛

~ 162 ~
นะโม ปัทมะชโยติรวิกรีฑิตาภิชญายะ ตะถาคะตายะ220

นะโม ธะนะศรีเย ตะถาคะตายะ221

นะโม สมฤติศรีเย ตะถาคะตายะ222

นะโม สุปะริกีรติตะนามะเธยะศรีเย ตะถาคะตายะ223

นะโม อินทระเกตุธวะชะราชายะ ตะถาคะตายะ224

นะโม สุวิชิตะสครามายะ ตะถาคะตายะ225

นะโม สุวิกรานตะศรีเย ตะถาคะตายะ226

นะโม วิกรานตะคามิเน ตะถาคะตายะ227

220
25. 南無蓮花光遊戲神通佛, 南無蓮華光遊戲神通佛
221
26. 南無財吉祥佛
222
27. 南無念吉祥佛
223
28. 南無善稱名號吉祥佛
224
29. 南無帝幢幡王佛
225
30. 南無鬥戰勝佛
226
31. 南無勇健吉祥佛
227
32. 南無勇健進佛

~ 163 ~
นะโม สะมันตาวะภาสะวยูหะศรีเย ตะถาคะตายะ228

นะโม รัตนะปัทมะวิกรามิเณ ตะถาคะตายะ229

นะโม รัตนะปัทมะสุประติษฐิตไศเลนธะราชายะ ตะถาคะตายะ230」231

พระไวโรจนตถาคต
แรงปรณิธาน ครอบคลุมทุกโลกธาตุ (ที่มีจานวน ดุจ) เมล็ดทราย (ในมหาคงคา
ธาร)

อันปวง เกษตร ทั้งหลาย

แปรเป็น อนุตตรจักร

228
33. 南無普遍照曜莊嚴吉祥佛
229
34. 南無寶蓮花遊步佛, 南無寶蓮華遊步佛
230
35. 南無寶蓮花妙住山王佛, 南無寶蓮華善住山王佛
231
ใน 聖三聚經 “อารยตริสกัณฑสูตร” ไม่มีนามที่ 12 คือ 離垢佛 วิมะลายะ
ตะถาคะตายะ (พระวิมลตถาคต) แต่ออกนาม ในลําดับที่ 24 แทน ว่า 清淨光遊
戲神通佛 พระหมะชโยติรวิกรี ฑิตาภิชญายะ ตะถาคะตายะ (พระพรหมชโยติรวิ
กรีฑิตาภิชญาตถาคต)

~ 164 ~
ทุกคนสวด ปรัชญาปารมิตาหทัยสู ตร ๑ จบ

(ในทีนี ้กล่าวว่า “ทุกคนสวด ปรัชญาปารมิตาหทัยสูตร ๑ จบ” แต่ต้นฉบับ


ภาษาจีนไม่ได้ ลงไว้ จึงนํามาเพิ่มไว้ ดังนี ้)

ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสู ตร

「พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ เมือ่ กาลที่มนสิการ ปรัชญาปารมิตา


อันคัมภีรภาพนั้น แจ้งชัดว่า เบญจขันธ์คือศูนยตสภาวะ ข้ามพ้นจากทุกข์ทั้ง
ปวง ดูกรศารีบุตร รูปไม่ต่างจากศูนยตา ศูนยตาไม่ต่างจากรูป รูปคือศูนย
ตา ศูนยตาก็คือรูป เวทนา สชญา สการะ วิชญา ก็เฉกกัน ดูกรศารีบุตร
สรรพธรรมเป็นศูนยตลักษณ์ ไม่เพิ่ม ไม่ลด ไม่เกิด ไม่ดับ ไม่สกปรก ไม่
สะอาด ไม่บกพร่อง ไม่บริบูรณ์ ไม่มีจักษุ, ศโรตะ, ฆรานะ, ชิหวา, กาย,
มนะ ไม่มีรูป, ศัพทะ, คันธะ, รสะ, สปะรศะ232, ธรรมารมณ์ ไม่มี
รูปธรรม, ศัพทธรรม, คันธธรรม, รสธรรม, สปะรศธรรม ไม่มีรูปธาตุ
ตลอดจน ไม่มีศัพทธาตุ, คันธธาตุ, รสธาตุ, มโนชญาธาตุ233 ไม่มีอวิทยา
232
觸 สปะรศะ ผัสสะ การสัมผัส
233
意識界 มโนชญาธาตุ มโนวิญญาณธาตุ ความรับรู้ทางใจ

~ 165 ~
และยิ่งไม่ความสิ้นไปแห่งอวิทยา ตลอดจนไม่มีชราและมรณะ และยิ่งไม่มี
ความสิ้นไปแห่งชราและมรณะ ไม่มีทุหฺขะ สมุทยะ นิโรธ มารค ไม่มี
ปรัชญาและปรปติ234 เมื่อไม่มีปรปติ พระโพธิสัตว์ มีปรัชญาปารมิตาเป็น
เครื่องอยู่ จิตรย่อมพ้นแล้วจากอาวรณ์235 เมื่อพ้นแล้วจากอาวรณ์ ย่อมพ้น
จากการไม่มีสติ พ้นแล้วจากวิปรยาย236 เข้าถึงนิษฐา237แห่งนิรวาณ
พระตถาคตในไตรยอวธวะ238 อาศัยปรัชญาปารมิตา เข้าถึงอนุตตรสัมยัก
สัมโพธิ อภิสมั พุทธะ อันปรัชญาปารมิตานี้ คือ มหามนตร์ คือ มหาวิทยา
มนตร์ คือ อนุตตรมนตร์ คือ อสมสมมนตร์ สามารถระงับสรรพทุกข์ เป็น
ความสัตย์แท้ ไม่มีผิด พระปรัชญาปารมิตา ดังนี้ ตัทยะถา คะเต คะเต ปา
ระคะเต ปาระสคะเต โพธิ สวาหา」239

234
得 ปรปติ ความเข้ าถึง เช่น การเข้ าถึงธรรม ทังยั
้ งหมายถึง การถือเอา ฯลฯ
235
罣礙 อาวรณะ อาวรณ์ คือ เครื่ องกัน้ เครื่ องกําบัง อุปสรรค
236
顚倒 วิปรยาย คือ ปรยายอันผิด
237
นิษฐา ฐานะ
238
三世 ไตรยอวธวะ หรื อ ไตรโลก คือ กาลทัง้ ๓ ได้ แก่ อดีต ปั จจุบน
ั อนาคต
239
觀自在菩薩,行深般若波羅蜜多時。照見五蘊皆空,渡一
切苦厄。舍利子,色不異空,空不異色,色即是空,空即是色,
受想行識,亦復如是。舍利子,是諸法空相,不生不滅,不垢
不淨,不增不減。是故空中無色,無受想行識,無眼耳鼻舌身
意,無色聲香味觸法,無眼界,乃至無意識界。無無明,亦無

~ 166 ~
(ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร อวสานลง แต่เพียงนี ้)

บังคมทูล ปวงพระตถาคตเจ้า ทั้งทศทิศ ปรัชญาโพธิสัตว์ วัชรเทวะ


ทั้งหลาย ตลอดจนปวงกรรมเทวา240 และปวงอารยาธิกเทวดา241 บัดนี้
ข้าพเจ้า (ออกนามตนเอง) อาศัยมหาเมตตากรุณา แห่งพุทธานุภาพ ขอ
อัญเชิญปวงทุรคติ ไตรอบาย242 นรก ทั่วทศทิศ ทั้งอากาศธาตุ อดีตกัลป์
ล่วงกาลนานไกล ปวงเปรตที่อดอยาก ปวงพระยม บนฟ้าและใต้ดิน เทพผู้
สอดส่องดูกรรมของมนุษย์ พราหมณ์ ฤๅษี ที่ตายนานแล้ว อาตวิก

無明盡,乃至無老死,亦無老死盡。無苦集滅道,無智亦無得。
以無所得故,菩提薩埵,依般若波羅蜜多故,心無罣礙,無罣
礙故,無有恐怖,遠離顚倒夢想,究竟涅槃。三世諸佛,依般
若波羅蜜多故,得阿耨多羅三藐三菩提。故知般若波羅蜜多,
是大神呪,是大明呪,是無上呪,是無等等呪,能除一切苦,
眞實不虛。故說般若波羅蜜多呪,卽說呪曰:揭諦揭諦,波羅
揭諦,波羅僧揭諦,菩提薩婆訶。 ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร ฉบับ
ภาษาจีนมีหลายฉบับ และบางฉบับ ก็สาบสูญไปแล้ ว ที่ลงในหนังสือเล่มนี ้ เป็ นฉบับ
ที่แปลสูภ่ าษาจีน ใน ปี ค.ศ. ๖๔๙ โดย 玄奘法師 พระอาจารย์เสวียนจ้ าง (ค.ศ.
๖๐๒ – ๖๖๔) และถือเป็ นฉบับที่แพร่หลายมากที่สดุ
240
業道, 業道神 กรรมเทวา คือ เทวดาที่คอยสอดส่องดูการกระทําของมนุษย์
241
聖賢 อารยาธิกเทวดา คือ เทพผู้ประเสริ ฐ
242
三途, 三涂 ไตรปั กษะ ไตรอบาย คือ ทุรคติทงั ้ ๓ ได้ แก่ ๑. 火途 นรก ๒. 刀
途 เปรต ๓. 血途 เดรัจฉาน

~ 167 ~
เปรต243 ปวงอากาศเทวดา และญาติทั้งหลาย เทพผีประเภทต่าง ๆ ขอ
ปวงพระตถาคตเจ้า ปรัชญาโพธิสัตว์ วัชรเทวดา ฯลฯ อารยาธิกเทพ อันมี
จานวนประมาณมิได้ ปวงกรรมเทวตา โปรดประทาน แสงโอภาส เมตตา
รฤกรักษา แผ่ไปในอากาศธาตุ ทั้งทศทิศ ผืนดิน แผ่นฟ้า กรรมเทวตา
เปรตอดอยากอัประมาณ บิดรมารดาในทุกภพชาติ บูรพชนในกาลก่อน
พราหมณ์ ฤๅษี หนี้เวรทั้งหลาย ทั้ง (หนี้) ทรัพย์ และ (หนี้) ชีวิต ใน
โคตรตระกูลทั้งหลาย เทพผีประเภทต่าง ๆ ปวงญาติทั้งหลาย ขอพระ
พุทธานุภาพ มาปรากฏ ในกาลบัดนี้ ได้รับอุตตรธรรมอมฤตรสแห่งพระ
ตถาคตเจ้า ยังให้โภชนะบริบูรณ์ ชุ่มกาย ฉ่าใจ บุญกุศลและปรัชญา
บริบูรณ์ ตั้งโพธิจิตร พ้นจากมิถยาจาร ถือพระรัตนตรัยว่าเป็นศรณะ
ประพฤติมหาเมตตาจิตร อุปการสรรพชีวิต ปรารถนาในอนุตตรมรรค ไม่
ล่วงลงสู่ปวงอกุศลวิบากแห่งสังสารจักร มีปกติเกิดในตระกูลอันดี พ้นแล้ว
จากภัย มีกายอันปกติพิสุทธิ์ บรรลุอนุตตรสัมมาอภิสัมโพธิ (๓ จบ)

243
曠野冥靈 อาตวิกเปรต เปรตที่อยู่ในสถานที่รกร้ าง

~ 168 ~
ถวายเบญจบูชา

ปวงเกษตร ทั้งทศทิศ

พระตถาคต และพระโพธิสัตว์ ทั้งหลาย

อนันตารยาธิกเทพ

แลปวงกรรมเทวตา

ขอพระเมตตากรุณา

มายังธรรมสังคีติ

กรุณารับ บุปผา ธูป ประทีป สุคนธ์ ผล วาทยะ

เครื่องบูชาทั้งนี้

~ 169 ~
อักขระ โอมฺ ผุดขึ้น (อา244 บุปผา ธูป ประทีบ อา สุคนธ์ ผล วาทยะ)

เทวมาตา ๑ พักตร์ ๔ กร ทอแสงประภาส (อา อา)

๒ กรบน กระทามุทราอันวิเศษ (บุปผา ธูป ประทีป อา สุคนธ์ ผล วาท


ยะ อา)

244
อักขระ อา มีความหมายถึง ความพิสทุ ธิ์แห่งวจีกรรม และการยังสิ่งทังหลายให้

บริสทุ ธิ์

~ 170 ~
๒ กรล่าง กระทามุทราจักร ประสานกัน หูมฺ โอมฺอาหูมฺ โอมฺอา
หูมฺ หรีหฺ อา วิเศษ (บุปผา ธูป ประทีป สุคนธ์ ผล วาทยะ)

เทวมาตาบูชาพระตถาคต ขอพระพุทธองค์เมตตาทรงรับ

ปัจจยสวภาวะที่เกิดขึ้น

เกิดความวิเศษนานาประการ (บุปผา ธูป ประทีป สุคนธ์ ผล วาทยะ)

ถวายพระวัชราจารย์และพระรัตนตรัย (อา อา)

ขอพระเมตตากรุณาทรงรับ

๏ ฮู...245 โอมฺ สะรวะ ตะถาคะตะ (ปุษปะ ธูปะ อาโลกะ คันธะ ไนเวทยะ วาท
ยะ) ปูชามิ โฆษะมันตระ สะวะ มัณฑะละ สะมะยะ หูมฺ ๚ะ๛246

245
“ฮู...”, “อูฮ”ู เป็ นการส่งเสียงแสดงอารมณ์ คล้ ายกับคําว่า “โอ้ โห”, “อู้ห”ู ใน
ภาษาไทย
246
戶唵薩哩縛怛他誐多 (布思必 度必 啞盧吉 干的 你尾的 沙布答)

布佐銘遏三謨怛囉薩嚩蘭拏三麻曳吽

~ 171 ~
(เมื่อยามที่สวด และกระทํามุทรานี ้ มนสิการว่า บังเกิดอักขระ หูมฺ ทัง้ ๖ สี
ที่ดวงหฤทัย เป็ นตัวแทนของษัฑปารมิตา247 แลอักษรทัง้ ๖ นัน้ กลายเป็ น
เทวมาตา ทัง้ ๖ กระทําการ ฟ้ อนรํ า บูชาถวายแด่พระตถาคต

ปุจฉา : สีทงั ้ ๖ มีอะไรบ้ าง ?

247
六度, 六波羅蜜, 六波羅蜜多 ษัฑปารมิตา คือ บารมีทงั ้ ๖ ได้ แก่ ทาน
ศีล กษานติ (ขันติ) วีรยะ ธยาน (ฌาน) ปรัชญา (ปั ญญา)

~ 172 ~
วิสชั นา : ดอกไม้ สแี ดง ธูปสีเหลือง ประทีปสีแดงสด สุคนธ์สขี าว ผลสีแดง
เหลือง วาทยะสีเขียว

ปุจฉา : ความแห่งสีทงั ้ ๖ นี ้ เป็ นไฉน ?

วิสชั นา : ดอกไม้ คือทาน การให้ ทาน ย่อมยังให้ ชนทังหลายยิ


้ นดี, ธูปคือศีล
การรักษาศีล ย่อมทําให้ มีกลิน่ หอม, ประทีปคือกษานติ (ขันติ) ความอดทน
ย่อมยังให้ เปลวเพลิงแห่งโทษะ กลายเป็ นตบะอย่างยิง่ , คันธะคือวีรยะ คือ
การยังให้ ธรรมกายชุ่มชื ้น, ผลคือธยาน อันจักยังให้ ถงึ พุทธผล, วาทยะคือ
ปรัชญา อันจักยังให้ เกิดธรรมนานาประการ

ปุจฉา : เทวมาตาทังนี
้ ้ อาศัยสิง่ ไร มนสิการให้ เกิดขึ ้น ?

วิสชั นา : อันเทวมาตาทัง้ ๖ นี ้ คือ เทวมาตาทัง้ ๖ ในสํานักของเหวัชระ


ล้ วนคือพุทธมาตา ดุจพระสมันตภัทรและพระมัญชุศรี ฉะนัน)

~ 173 ~
【เหวัชระ】

~ 174 ~
บัดนี้ข้า ฯ อาศัย พลังจรรยาปรณิธาน แห่งพระสมันตภัทร ฯ

บาเพ็ญ บุปผา ธูป ประทีป คันธะ โภชนะ

ปวงอารยาธิกะ ในเกษตรน้อยใหญ่ ทั้งหลาย

ขอสักการ แลถวาย เครื่องบูชา

ต่อมา กระทา มนสิ การปูชามุทรา248

(สวด ๗ จบ มุทรานี ้ สองมือประสานกัน มือขวาทับมือซ้ าย การบูชาใด ๆ ก็


ตาม พึงกระทํามุทรานี ้ แม้ การกระทําโยคะ ก็พงึ กระทํามุทรานี ้ จึงจักถือว่า
การบูชาทังนั
้ นบริ
้ บรู ณ์)

๏ นะมะหฺ สะรวะ ตะถาคะเตภยะหฺ วิศวะ มุเขภยะหฺ โอมฺ สะรวะ


ถา ข อุคเต สประนะ เหม คะคะนะ ข สวาหา ๚ะ๛249

248
四運供養心 การมนสิการบูชา แบ่งออกเป็ น ๔ ประการ ดังนี ้ ๑. 未供養
ยังไม่บชู า ๒. 欲供養 ปรารถนาจะบูชา ๓. 正供養 กําลังบูชา ๔. 供養巳 ได้
บูชาแล้ ว โดยทัง้ ๔ กาลนี ้ ล้ วนมีความยินดี อิ่มเอิบใจ

~ 175 ~
(เมื่อยามที่กระทํามุทรา และสาธยายมนตร์ นี ้ พึงมนสิการว่า ทัว่ ทังอากาศ

ธรรมธาตุ บังเกิดมีเครื่ องบูชาอันวิเศษ ของมนุษย์และเทวดา อันได้ แก่
คันธะ บุปผา ธูป ประทีป ฯลฯ ธวัช ฉัตร ธง สังคีต นักฟ้ อน ตาข่ายมุกมณี

249
那麻薩哩斡(二合)。答塔葛的毗牙(二合)。月說穆契毗牙
(二合)。唵(引)。薩哩斡(二合)哩塔。烏忒葛(二合)的。斯癹(二合)

囉納兮慢。葛葛捺龕莎訶。

~ 176 ~
ปวงรัตนะทังหลาย
้ ทังมาลาและจามร
้ ส่งสําเนียงอันพิเศษ แลแหดอก
กรรณิการ์ ต้ นกัลปพฤกษ์ เมฆาภรณ์ ปวงเทวโภชนะ วิเศษงดงาม ส่งกลิน่
หอม ประภาคาร นานาประการ ปวงเทวาลังการ มงกุฎ เกยูร มากมายดุจ
เมฆ อันพระโยคะ พึงมนสิการ ให้ แผ่เต็ม ไปในอากาศธาตุ แลน้ อมบูชาไป
ด้ วยประสันนจิตร250)

ด้วยประสันนจิตรแห่งข้า ฯ ขอถวายอมฤตโภชนะ

ขอพระรัตนตรัย ขับมารและทรงรับ

ต่อมา กระทา ขับมารมุทรา

(ถวายโภชนะแด่พระรัตนตรัย พึงกระทําเมาลีมทุ ราก่อน แล้ วให้ นิ ้วธยาน


กดนิ ้วทาน ส่วน นิ ้ว ศีล กษานติ วีรยะ ยื่นออกมา แล้ วว่า ดังนี ้)

250
至誠心, 志誠心 ประสันนจิตร ปสันนจิต จิตรจงภักดิ์อน
ั ยิ่ง จิตอันเลื่อมใส
ยิ่ง

~ 177 ~
๏ โอมฺ วัชระ ยักษะ หูมฺ ๚ะ๛251

(เมื่อยามที่กระทํามุทรา และสาธยายมนตร์ นี ้ พึงมนสิการว่า ทัว่ ทังอากาศ



ธรรมธาตุ บังเกิดมีเครื่ องบูชาอันวิเศษ ของมนุษย์และเทวดา อันได้ แก่
คันธะ บุปผา ธูป ประทีป ฯลฯ ธวัช ฉัตร ธง สังคีต นักฟ้ อน ตาข่ายมุกมณี

251
唵(引)。斡資囉(二合)。拽屹徹(二合)吽。

~ 178 ~
ปวงรัตนะทังหลาย
้ ทังมาลาและจามร
้ ส่งสําเนียงอันพิเศษ แลแหดอก
กรรณิการ์ ต้ นกัลปพฤกษ์ เมฆาภรณ์ ปวงเทวโภชนะ วิเศษงดงาม ส่งกลิน่
หอม ประภาคาร นานาประการ ปวงเทวาลังการ มงกุฎ เกยูร มากมายดุจ
เมฆ อันพระโยคะ พึงมนสิการ ให้ แผ่เต็มไปในอากาศธาตุ แลน้ อมบูชาไป
ด้ วยประสันนจิตร)

ข้า ฯ อาศัยพุทธานุภาพ แลอนุศาสน์คุหยมนตร์

อธิษฐานอมฤตโภชนะ แผ่ไปทั่วทั้งอากาศธาตุ

ต่อมา กระทา วิปริ ณามศูนยต252มุทรา

(ขนานหัตถ์ทงั ้ ๒ ข้ าง ดุจดอกบัว ไว้ ที่ระดับอก แลว่ามนตร์ ดงั นี ้)

๏ โอมฺ สวภาวะ ศุทธะ สะรวะ ธะรมะ สวภาวะ ศุทโธ ข โอมฺ


อา หูมฺ ๚ะ๛253

252
ุ ธิ์ (ความว่าง)
變空 วิปริ ณามศูนยตะ คือ การแปรเปลี่ยนให้ เกิดความวิสท

~ 179 ~
(เมื่อยามที่กระทํามุทรา และสาธยายมนตร์ นี ้ พึงมนสิการว่า โภชนะและ
ภาชนะ เต็มไปในอากาศธาตุ ด้ วยมีการสัมผัสมาก จึงต้ องมีการชําระให้
สะอาด จึงพึงมนสิการว่า บนท้ องฟ้ า มีอกั ษร ภรูมฺ สีทอง ๓ ตัว กลายเป็ น

253
唵。莎癹斡秫塔。薩哩斡 (二合)塔哩麻 (二合)。莎癹斡秫徒㰠。
唵(引)啞吽。นี ้คือ 淨三業真言 สภาวศุทธิธารณี บางแห่งแสดงไว้ ดงั นี ้ “โอมฺ
สวภาวะ ศุทธะ สะรวะ ธะรมะ สวภาวะ ศุทโธ หํ”

~ 180 ~
ภาชนะ แลอักษร โอมฺ สีขาว กลายเป็ นโภชนะอันวิเศษ ล้ วนคือ เปรี ยง นม
สด นมส้ ม254 ข้ าวตอก นํ ้าผึ ้ง เพื่อให้ เกิดความวิศทุ ธิ์ จึงสวด “โอมฺ อา
หูมฺ” ๒๑ จบ และเพื่อให้ ไพบูลย์ จึงต้ องสวด “ชะหฺ หูมฺ ว โหหฺ”255 แล
กระทํามุทรา มนสิการว่าพระรัตนตรัยสาคร มาปรกฏชัดเจน แล้ วจึงทําการ
ถวายเบญจบูชาและปวงรัตนะ แล้ วมนสิการสวด “สะมะระ”256 ฯลฯ
มนสิการว่าพระตถาคตทรงรับ เบื ้องต้ นถวายแด่พระพุทธเจ้ า ถัดมาคือ
ถวายแด่พระโพธิสตั ว์และพระภิกษุสงฆ์ แล้ วค่อยถวายแก่เทพธรรมบาล
เมื่อครบแล้ ว ทําการถวายนํ ้า ว่าดังนี ้)

254
五味 เบญจโครส ในมหาปริ นิรวาณสูตร ได้ แสดงผลิตภัณฑ์จากนมวัว ไว้ ๕
ประการดังนี ้ ๑. 乳 กษีระ (ขีระ) นํ ้านมสด ๒. 酪 ทะธิ นมส้ ม ๓. 生酥 นวนีตะ
(นวนีตงั ) เนยดิบ (เนยข้ น) ๔. 熟酥 สะรปิ (สัปปิ , คหรตะ) เนยสุก (เนยใส) ๕. 醍
醐 มัณฑะ, สะรปิ มัณฑะ เปรี ยง; ในมหาปริ นิรวาณสูตร แสดงไว้ วา่ 「善男子!
譬如從牛出乳,從乳出酪,從酪出生酥,從生酥出熟酥,從熟
酥出醍醐。醍醐最上。。。」“ดูกรกุลบุตร ! อุปมาดัง จากวัวได้ นํ ้านมสด
จากนมสดได้ นมส้ ม จากนมส้ มได้ เนยดิบ จากเนยดิบได้ เนยสุก จากเนยสุกได้ เปรียง
เปรียงเป็ นยอด”
255
บางแห่งออกว่า “ชยา หูมฺ วํ โหหฺ”
256
คือ รัตนมนตร์ ในหน้ า 127 – 128

~ 181 ~
ขออมฤตโภชนะนี้ ถวายแด่อารยาธิกเทพ

เมตตาข้า ฯ ทั้งหลาย กรุณาโปรดรับ

~ 182 ~
ต่อมา กระทา ไนเวทย257มุทรา

(ขนานมือทังสอง
้ ดุจการประคองนํ ้า สวดไนเวทยมนตร์ ๓ จบ แล้ ว
ดีดนิ ้ว ๑ ครัง้ )

๏ โอมฺ อา คะ รุ มุ ข สะรวะ ธะรมะน อ ธยะ นตะ ปะตะ นตะ


โอมฺ อา หูมฺ ผัฏ สวาหา ๚ะ๛258

257
奉食 naivedya ไนเวทย การถวายโภชนะ
258
唵(引)。啞葛嚕穆看。薩哩斡(二合)。塔哩麻(二合)喃。啞牒耶
(二合)(引)奴忒。班答奴忒。唵啞吽。癹吒莎曷。

~ 183 ~
(มนสิการว่า ปวงพุทธบุตรทังหลาย
้ ต่างถวายเครื่ องบูชา แด่พระรัตนตรัย
บังเกิดปรมุทิตาจิตร แลในสิง่ ที่ปรารถนา ต่างประสิทธิผล แลเชิญปวง
อารยะทังหลาย
้ เข้ าสูม่ ณฑลพิธี แล้ วบูชาด้ วย ธูป บุปผา ประทีป คันธะ
นานาประการ เสร็ จแล้ ว กล่าวไนเวทยคาถา ดังนี ้)

~ 184 ~
สั่นระฆังสวดไนเวทยคาถา

บัดนี้ ข้า ฯ ถวาย อมฤตโภชนะ

มีคณา ดุจอนุตตร สิเนรุ

รูป กลิ่น งาม รส ทั่วนภา

ขอพระวัชราจารย์ พระรัตนตรัย โปรดทรงรับ

จากนั้น ถวาย สัมทรรศน์คุหยธรรมบาล

บาราบมาร ยังให้เกิด ความศานติ

ขอปวงทายก ทั้งหลายเล่า

อายุวัฒน์ พ้นภัย เพิ่มบุญญา

ความประสงค์ ในกิจทั้งหลาย จงสาเร็จ

สรรพกาล ทั้งหลาย ล้วนสวัสดี

~ 185 ~
สรรเสริ ญพระรัตนตรัย

พระโลกเชษฐ์ มหาเมตตา อลังการ

โมกษะวิทยา บริบูรณ์ เข้าถึงสรวชญาชญาน259

สามารถประทาน บุญและปรัชญา ดุจมหาสาคร

ข้า ฯ ขอสรรเสริญ อภิวาท พระตถาคตเจ้าทั้งหลาย

สภาวะดั้งเดิม ปราศจากกาม

สามารถอาศัย จรรยานี้ พ้นจากทุรคติ

นี้คือ วิเศษนัย อันคัมภีรภาพ

ข้า ฯ ขออภิวาท พระสัทธรรมทั้งหลาย

259
一切智, 一切智智 สรวชญาชญาน สรวถาชญาน สัพพัญํุตญาณ ความรู้
อันแจ้ งในทุกสิ่ง

~ 186 ~
เป็นเอก ในท่ามกลาง วิมุตติมรรค

รักษา ปาริศุทธิศีล ควรแก่การเคารพ

เป็นนาบุญวิเศษ ที่ให้กาเนิด พระอารยะ

ข้า ฯ ขออภิวาท พระสังฆะ ทั้งหลาย

มีปกติ เข้าธยาน ที่โปตลกะ260

ตามเหตุปัจจัย เข้าไปสัมผัส ไม่มีที่ใดที่ไม่ถึง261

คอยสดับเสียง ฉุดช่วย ปวงหลงใหล

260
普陀落伽, 補怛洛伽 โปตลกะ เป็ นที่ประทับของพระอวโลกิเตศวร
(นักวิชาการชาวญี่ปนุ่ ชื่อ ชู ฮิโกซะกะ ได้ อาศัยเอกสารโบราณ สันนิษฐานว่า อาจจะ
ตังอยู
้ ่ในเขต Papanasam รัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย มีพิกดั ที่ประมาณ ละติจูด
๘ องศา ๔๓ ลิปดาเหนือ ลองจิจดู ๗๗ องศา ๒๒ ลิปดาตะวันออก)
261
บทว่า 隨緣赴感靡不周 “ตามเหตุปัจจัย เข้ าไปสัมผัส ไม่มีที่ใดที่ไม่ถึง” มา
แต่อวตังสกสูตร ดังนี ้ 「佛身充滿於法界,普現一切眾生前,隨緣赴
感靡不周,而恒處此菩提座。」 “พุทธกายแผ่ไปทัว่ ธรรมธาตุ ปรากฏต่อ
เบื ้องหน้ าสรรพชีวิตทังหลาย
้ ตามเหตุปัจจัย เข้ าไปสัมผัส ไม่มีที่ใดที่ไม่ถึง ทว่าธํารง
อยู่โพธิอาสน์นี ้ นิรันดร์ กาล”

~ 187 ~
จึงได้มีนามว่า “อวโลกิเตศวร”

~ 188 ~
จากนั้น เข้าสู่ อวโลกิเตศวร ธยานปารมิตา

(ในเบื ้องต้ น ได้ กระทําการ บูชาพระรัตนตรัยแล้ ว คือบุญปรยาย มีกศุ ล


ทว่าไม่มีปรัชญา การที่มีบญ
ุ แต่ไร้ ปรัชญานัน้ ย่อมล่วงลงสูม่ นุษย์สมบัติ
และสวรรค์สมบัติ บัดนี ้ มาตรฝึ กฝนบําเพ็ญ อวโลกิเตศวรธยานปารมิตา
ย่อมจักมีพร้ อมทังกุ
้ ศลและปรัชญา ดุจดังพระตถาคตเจ้ า ฉะนัน้ จากนัน้
ค่อยอุปการะสรรพชีวิตทังหลาย
้ ทัว่ ทังธรรมธาตุ

กรมทาน262กล่าวดังนี ้ “ต่อไปเข้าอวโลกิเตศวรธยานปารมิตา” อาจารย์ผ้ ู


เป็ นประธาน กระทําธยานปารมิตา (ศมาธิ) คูส่ วดประกาศคาถา เสียงต้ อง
อ่อนโยนสดใส อย่าได้ ดรุ ้ ายแข็งกระด้ าง จนกระทบต่อการทําเข้ าธยาน แต่
ก็อย่าให้ เสียงไปใกล้ เคียงกับหนุม่ สาว ในทางโลกียวิสยั

เมื่อเข้ าธยานนัน้ ปิ ดตา ทําใจให้ สงบ มนสิการว่า กายตน สะอาดสว่าง ดุจ


ปูรณจันทร์ ใจที่สะอาดดุจพระจันทร์ มนสิการอักขระ หรี หฺ ทอแสงสกาว
แปรเปลีย่ นเป็ นอุบล ๘ กลีบ มีพระอวโลกิเตศวร ลักษณะงดงามประทับอยู่

262
維那 กรมทาน คือ ผู้ที่ทําหน้ าที่รองจากประธาน

~ 189 ~
พระหัตถ์ซ้ายถือดอกบัว พระหัตถ์ขวาแย้ มกลีบบัวออก มนสิการว่า สรรพ
ชีวิตทังหลาย
้ ต่างมีพทุ ธิดงั ปุณฑรี กนี ้ เป็ นธรรมธาตุอนั พิศทุ ธิ์ ไม่เกลือก
กลัวด้
้ วยกิเลส กลีบบัวทัง้ ๘ ต่างมีพระตถาคตเจ้ า เข้ าธยานอยู่ ประทับนัง่
คู้บลั ลังก์ ส่องแสงสกาว ร่วมกับพระอวโลกิเตศวร สว่างไสว พระวรกายมีสี
ทอง แสงนันโชติ
้ ชว่ ง แลมนสิการว่า ปั ทมะนันค่
้ อย ๆ ใหญ่ขึ ้น ใหญ่จน
ประดุจท้ องนภา แลมนสิการว่าดอกอุบลนัน้ ได้ บชู าพระตถาคตเจ้ า ที่มี
จํานวนมากมาย ดุจมหาสาคร สําเร็ จเป็ นไวปุลยปูชา และขอให้ ชนผู้สมั ผัส
ดอกกมลนี ้ ต่างพ้ นกิเลสทุกข์โดยทัว่ กัน มีกายมหาลักษณะ ดุจพระ
โพธิสตั ว์ แลมนสิการอุบลนันค่
้ อย ๆ เล็กลง มีประมาณเท่ากับกาย แล
กระทํามุทรา สวดธารณี อธิษฐานทัง้ ๔ สถาน)

ขอนอบน้อม พระรัตนตรัย อันประมาณมิได้

บัดนี้ข้า ฯ ตั้งปรณิธาน โพธิจิตร

ขอพระโพธิสัตว์ สงเคราะห์รับ

ประจักษ์ อวโลกิเตศวรวรลักษ์ ในเร็วพลัน

จากนั้น เข้าสู่อวโลกิเตศวรศมาธิ

~ 190 ~
(จากหลังไปข้ างหน้ า)

หลับตา สารวมจิตร พิจารณา มนสิการใจตน

~ 191 ~
(การสํารวมจิตร คือ เวลาแห่งการชําระให้ วิสทุ ธิ์ ไม่ปล่อยไปภายนอก การ
ปิ ดตา ก็คือเวลาแห่งการมนสิการ ปั จจัยภายนอกไม่อาจเข้ ามาได้ ฉะนี ้

ปุจฉา : จิตรไม่มีอยู่ แล้ วจะมีสถานที่อยู่ ได้ อย่างไร ?

วิสชั นา : หมายเอาหัวใจเนื ้อ อาศัยใจที่รับรู้ กําหนดทีใ่ จเนื ้อ (หฤทัยวัสดุ)


ฉะนัน)

พิศุทธิ์ สดใส ดุจปูรณะจันทร์

(ความสมบูรณ์และสะอาด คือ หลักและการนําไปใช้ แห่งจิตร สมบูรณ์ มิมี


คุณธรรมใดบกพร่อง นี ้คือหลัก สว่างสะอาด ไม่มีสงิ่ ใด ส่องไปไม่ถงึ คือการ
นําไปใช้ ฉะนัน)

พีชอักขระ ทอแสง กลายเป็นดอกบัว

~ 192 ~
(พีชอักษร หรี หฺ นี ้ คือ นัยแห่งการบรรลุธรรม ของพระอวโลกิเตศวร คือ การ
โปรดสัตว์วิเศษปรยาย ทอแสงกลายเป็ นดอกบัว นี ้คือการสร้ างดอกบัว
ฉะนัน)

ใจกลางดอกบัว มีพระอวโลกิเตศวร

(พีชอักษร หรี หฺ กลายเป็ นพระอวโลกิเตศวร อนุโลมปฏิโลมล้ วนไม่มี


อุปสรรค อันดอกบัวนี ้ คือ ปั ทมอาสน์ ฉะนัน)

วรลักษณ์ งดงาม หาใดปาน

(นี ้เป็ นคาถา โดยสรุป ถ้ ากล่าวให้ ครบ พึงดังนี ้ “๑ พักตร์ ๒ กร กายทอ


แสงทอง บุปผา มงกุฎ เกยูร อลังการ เศียรเทิดไว้ซึ่ง พระอมิตาภะ ไร้ที่จะ
หาใด มาเปรียบปานได้” ฉะนี ้)

พระหัตถ์ซ้าย ทรงไว้ซึ่ง ปัทมา

~ 193 ~
(นัยยังให้ เกิดกิจ263 ดอกไม้ เป็ นตัวแทนของ ทังเหตุ
้ และผล ในเวลา
เดียวกัน ฉะนัน)

พระหัตถ์ขวา เปิดแย้ม กลีบบุปผา

(กิจยังให้ นยั ปรากฎ264 จึงได้ แย้ มกลีบบัวออก เป็ นสวพุทธิ265)

พระโพธิสัตว์ มนสิการ ถึงสรรพชีวิต

ต่างมี พุทธิ ดุจกมลา

263
理 นัย คือ ทฤษฏีปริ ยตั ิประการหนึ่ง การแจ้ งในนัย ย่อมนําไปสู่ 事 กิจ คือ
ปฏิบตั ิ ฉะนัน้
264
นัยสามารถยังให้ เกิดกิจ กิจก็สามารถยังให้ เกิดนัย นัยไม่ใช่กิจ กิจไม่ใช่นยั นัย
ก็คือกิจ กิจก็คือนัย ฉะนัน้
265
自覺 สวพุทธิ คือ สภาวะพุทธะ (ความตื่นรู้) อันมีอยู่ในทุกสรรพชีวิต

~ 194 ~
(คาภา ๒ บาทนี ้ คือการรู้แจ้ งในผู้อื่น ประพฤติโพธิสตั วจรรยา นัยแห่ง
คาถานี ้คือ สรรพชีวติ นัน้ ต่างมีสภาวะ เช่นเดียวกับพระโพธิสตั ว์ ล้ วนคือ
พุทธิปัทมะ แต่เพราะวิปรยาย จึงไม่อาจประจักษ์ ได้ จึงเป็ นเหตุให้ พระ
โพธิสตั ว์ เกิดจิตรคิดช่วยเหลือ ในจุดนี ้นัน้ อันผู้ประพฤติโยคะ ไม่ควรแยก
ระหว่างพระโพธิสตั ว์กบั ตนเอง ทีก่ ล่าวว่าพีชอักษร กลายเป็ นพระโพธิสตั ว์
อวโลกิเตศวร การมนสิการทังนี
้ ้ ก็หมายเอาตนผู้บําเพ็ญโยคะเอง ว่าถ้ าไม่
สามารถมนสิการได้ การที่จะบําเพ็ญ (โยคเปรตพลี) ต่อไป ย่อมจักเหนื่อย
เปล่า ฉะนัน)

ธรรมธาตุ พิศุทธิ์ ไร้มลทิน

(การมนสิการนัน้ ดังเช่น คาถา ๒ บาทบน จะแยกเป็ น ๒ ส่วนไม่ได้ พิศทุ ธิ


ธรรม ไร้ มลทิน ฉะนัน)

อัษฏฑละ266 ต่างมี พระตถาคต

266
八葉 อัษฏฑละ (อัษฏมัณฑละ อัษฏมณฑล) กลีบบัวทัง้ ๘ นัยหนึ่ง นี่เป็ นอีก
นามของเขาพระสุเมรุ ส่วนอีกนัยหนึง่ นัน้ ก็คือ นัยแห่ง 胎藏界 ครรภธาตุมณฑล

~ 195 ~
(อัษฏฑละ หรื อ กลีบบัวทัง้ ๘ แต่ละกลีบ ต่างก็มีพระตถาคตนี ้ คือนัยแห่ง
วิชญาทัง้ ๘ ที่มาแต่จิตรเดียว ก็ในเมื่อมีจิตร เพียงหนึง่ เดียว ก็ยอ่ มต้ อง
เป็ นหนึง่ เดียว ร่วมกับอภิสมั โพธิ ฉะนัน้ จึงได้ แสดงว่า “(แต่ละกลีบ) ต่างก็มี
พระตถาคต” แลทังยั
้ งหมายเอา พระอวโลกิเตศวรด้ วย ที่แสดงถึงพระ
ตถาคต แต่ไม่กล่าวถึงพระโพธิสตั ว์นนั ้ นี ้คือการกล่าวโดยรวม ทังตนและ

ชนอื่น เมื่อกล่าวถึงชนอื่น คือ สรรพชีวิตล้ วนพิศทุ ธิ์ไร้ มลทิน และเมื่อ
กล่าวถึงตนเอง ก็คือผู้บําเพ็ญโยคะกับพระตถาคต ต่างเข้ าสูธ่ ยานปารมิตา
ในเวลาเดียวกัน ฉะนัน)

พระตถาคต เข้าสู่ศมาธิ ประทับคู้บัลลังก์

ต่างผินพระพักตร์ สู่พระอวโลกิเตศวร

(ปุจฉา : ศมาธิมีหลากประการ บัดนี ้เข้ าสูต่ ถาคตศมาธิ อันศมาธินี ้เป็ น


ไฉนฤๅ ?

วิสชั นา : คือ ศมาธิ ที่ผ้ บู ําเพ็ญโยคะเข้ าแล อันศมาธินี ้ มีนามว่า “กษณิกม


หากรุณาธยานศมาธิ” แล

~ 196 ~
ปุจฉา : บทว่า “ต่างผินพระพักตร์ ” อัน ๔ ทิศต่างผินพระพักต์นนั ้ สามารถ
กระทําได้ แลอนุทิศทัง้ ๔ ต่างผินพระพักตร์ จะไม่เป็ นการหัน พระ
ปฤษฎางค์ (และพระปรัศว์) ให้ กนั ฤๅ ?

วิสชั นา : มาตรว่าหันพระปฤษฎางค์ให้ กนั แล้ ว จะได้ นามว่า “ตถาคต” ได้


เช่นไร นี ้คือการเคลือ่ นไหวโดยวิเศษฉะนัน้ ว่าถ้ ากล่าวตามนัยแห่งกิจ
ลักษณ์นนั ้ ปวงพระตถาคตและพระโพธิสตั ว์ มิได้ จําแนกกายดังเช่นสรรพ
ชีวิต คือ (อันสรรพชีวิตนัน้ เมื่อ) ผินหนบูรพา ปฤษฎางค์ยอ่ มบ่ายไปหน
ประจิม ผินหนทักษิ ณ ปฤษฎางค์ยอ่ มบ่ายไปหนอุดร ทว่าพระโพธิสตั ว์มี
นิรมาณกาย คือกายอันเกิดแต่มนัส แผ่ไปทุกหนแห่ง แต่ละพระพักตร์ นนั ้
ย่อมตรง ดังนี ้แล้ ว พระตถาคตทัง้ ๘ ตลอดจนพระตถาคตเจ้ าทังหลาย
้ จัก
หันพระพักตร์ ไม่ตรงได้ ไฉน ศึกษาชนพึงมนสิการดังนี ้ อย่าได้ มองด้ านพระ
ปฤษฎางค์ (และพระปรัศว์) ฉะนัน)

พระกัณฑ์ ประดับ ทอแสงสุพรรณประภาส

(ปรากฏวรกายอันพิเศษ)

สกาวแสง ส่องสุกศรี
~ 197 ~
(ปรากฏเขตอันวิเศษ)

จากนั้น บุณฑรีกค่อย ๆ ขยายไป

ขนาดใหญ่ เท่ากับ นภากาศ

(อัน ๑๔ บาทคาถา ในบัดต้ น ล้ วนสําแดง นัยและกิจ แห่งธรรมธาตุ และใน


๒ บาทคาถานี ้ ยังให้ เข้ าถึงความปราศ ของนัยและกิจแห่งธรรมธาตุ พึง
มนสิการให้ แจ้ งในกาลนี ้ เพื่อยังให้ กิจและนัยนันสํ
้ าเร็ จ ยังให้ (ดอกอุบล)
ค่อย ๆ ใหญ่ขึ ้น นัยแปรไปตามกิจ จึงได้ แผ่ไปทัว่ ธรรมธาตุ ไม่มีอะไร
นอกเหนือไปกว่า ล้ วนเป็ นเพียงขอบเขตแห่งจิตร267 ไม่แยกออกไป ฉะนัน)

มนสิการว่า ดอกบัวนั้น ส่องธรรมธาตุ

พระตถาคต มีคณามากมาย ดุจสาคร

267
心境界 จิตรโคจร ขอบเขตแห่งจิตร

~ 198 ~
(๒ บาทคาถานี ้ คือการประจักษ์ ในความไร้ อปุ สรรค แห่งกิจทังหลาย
้ พุทธิ
ปั ทมะคือกิจ สาครคณาก็คือกิจ ดอกอุบลบานทัว่ ทังอากาศธาตุ
้ ในเวลา
เดืยวกัน พระตถาคตก็มคี ณาดุจมหาสาคร โดยไร้ อปุ สรรค ดุจสหสรประทีป
ในเอกคูหา (ทว่า) แสงกลับเป็ นหนึง่ เดียว มิสบั สน อันธรรมธาตุนนั ้ ก็คือ
ทศธรรมธาตุ ซึง่ ก็คือ จตุรารยะ ษัฑปุถชุ นะ268 ด้ วยดอกปุณฑรี กนี ้ เมื่อ
ใหญ่แล้ ว สามารถส่องทศธรรมธาตุ มีความจริ งเพียงหนึง่ เดียว269 ไม่มีที่
ยิ่งกว่า ฉะนี ้)

จิตรไม่คลอนคลาย จากศมาธินี้

กรุณาต่อ สรรพชีวิต ทั้งหลาย

(คาถา ๒ บาทนี ้ บาทแรกคือ สวพุทธิ270 คือ การแจ้ งในตน คาถาบาทล่าง


คือ ปรพุทธิ271 คือ การแจ้ งในสัตว์ (หรื อสิง่ ) อื่น การมนสิการถึงสรรพชีวิต

268
十法界 ทศธรรมธาตุ คือ ภูมิทงั ้ ๑๐ คือ จุตรารยะ หรื อ อารยะ ๔ ได้ แก่ พุทธ,
โพธิสตั ว์, ปรัตเยกะ (พระปั จเจกพุทธเจ้ า), ศราวก (พระสาวก) และ ษัฑปุถชุ นะ หรือ
ปุถชุ น ๖ ได้ แก่ เทพ, มนุษย์, อสูร,เดรัจฉาน, เปรต, นรก
269
一真 ภูตตถตา ความจริ งเพียงหนึ่งเดียว
270
自覺 สวพุทธิ คือการรู้แจ้ งในตน

~ 199 ~
จึงจะยัง ให้ เกิดการประพฤติโยคะ คือ ความกรุณาต่อทุกสรรพสิง่ คือ การ
ประจักษ์ ในอนาวฤติไวปุลยเกษตร272 จึงจักสามารถ บําเพ็ญโยคะ โปรด
สรรพชีวิตได้ ฉะนี ้)

ด้วยพุทธิปัทมะนี้ ส่องสกาว ยังให้พ้น กิเลสทุกข์

(คือ คุณแห่งการอุปการสรรพชีวติ แล)

ย่อมดุจ พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร

(คือ การรักษาผล ฉะนัน้ เมื่อตังปรณิ


้ ธาน ก็ดจุ เข้ าถึงอนุตตรสัมมาสัมโพธิ
ญาณ ฉะนัน)

271
他覺 ปรพุทธิ คือ การรู้แจ้ งในสัตว์ (หรือสิ่ง) อื่น ได้ แก่ การรู้แจ้ งในสรรพสิ่ง
ทังหลาย

272
無礙廣大境界 อนาวฤติไวปุลยเกษตร คือ เขตอันไพบูลย์และไร้ อป
ุ สรรค,
ความไพบูลย์อนั ไร้ ขอบเขต

~ 200 ~
อุบลมาลย์ ค่อย ๆ เล็กลง เท่ากายตน

(คาถาทัง้ ๘ บาทนี ้ นัยหนึง่ คือ การขยายเป็ นที่สดุ ดังทีเ่ วยลูอวี่ปา273


อธิบายไว้ วา่ จากเดิมขยายออกไป แล้ วสรุปกลับมาที่เดิม ทังนี
้ ้ล้ วนไม่เป็ น
สอง วัชราจารย์ได้ แสดงไว้ วา่ “ปล่อยไปแล้วไม่กลับคื อปุถชุ น เก็บกลับแล้ว
ไม่ปล่อยคือพระสาวก (ไม่ใช่มหายาน) มี เก็บมี ปล่อยคือรหัสยยาน ไม่ตอ้ ง
เก็บไม่ตอ้ งปล่อย ชื ่อว่าไม่มีอปรปั ญจะ คือมูลตันตระอันยิ่ ง” คําว่า “เก็บ” นี ้
ชนไม่แจ้ ง มักข้ ามไป ศึกษาชนจึงไม่พงึ มองข้ ามไป ฉะนี ้)

จากนั้น กระทา อวโลกิเตศวรมุทรา

อธิษฐาน สี่สถาน สาธยายมนตร์

(คาถา ๒ บาทนี ้ ผู้บําเพ็ญโยคะ ขอแรงอธิษฐาน จากพระพุทธปรัชญา


ส่วนมนตร์ และมุทรานัน้ มีดงั ทีจ่ ะแสดง ต่อไปนี ้)

273
准魯餘巴 เวยลูอวี่ปา

~ 201 ~
กายตนนั้น ก็เสมอด้วย พระอวโลกิเตศวร

(แต่ไรมา ก็คืออวโลกิเตศวร274 บัดนี ้ด้ วยเกรงว่า จะหลงใหลตามวัตถุ (จึง


เตือนสติ) ให้ กลับมา มนสิการกายตน จึงได้ กล่าวดังนี ้

ปุจฉา : จําเดิมมนสิการพีชอักขระ สําเร็ จเป็ นพระอวโลกิเตศวร แล้ วใยบัดนี ้


จึงกล่าวดังนี ้ ?

วิสชั นา : แต่ไรมา มิเคยห่างจากพุทธิ275 บัดนี ้ประจักษ์ และเข้ าสูศ่ มาธิ


ด้ วยตนเอง ดุจสุธนพึง่ จะไปประสบพระมัญชุศรี ฉะนัน้ ที่มนสิการพระอว
โลกิเตศวร ในก่อนหน้ านี ้ คือ การปรารถนาเหตุ คือ ชื่อว่าเหตุทา่ มกลางผล
เมื่ออธิษฐานมนตร์ แล้ ว คือ ผลท่ามกลางเหตุ แล

ปุจฉา : เมื่อเข้ าสูม่ ณฑลพิธี พึงเกิดอวโลกิเตศวรมานะ276 บัดนี ้ก็พงึ เกิด


ซํ ้า แลเข้ าสูศ่ มาธิ แล้ วจะไม่มากเกินไปฤๅ ?

274
สรรพชีวิตต่างมีโพธิจิตร ซึง่ ก็คือพุทธภาวะ ด้ วยเหตุนี ้สรรพชีวิตทังหลายก็
้ คือ
พระอวโลกิเตศวร
275
覺 พุทธิ สภาวะแห่งความตื่นรู้
276
觀音慢 อวโลกิเตศวรมานะ คือ การถือตน ว่าเป็ นพระอวโลกิเตศวร ไม่ใช่การ
ถือตนว่ายิ่งใหญ่ หากแต่เกิดจิตรกล้ าหาญ ที่จะถือเป็ นธุระ อันจักโปรดสรรพชีวิต

~ 202 ~
วิสชั นา : ไม่เลย ก่อนหน้ านี ้ คือ ปูรวศมาธิ คือ สัมยักตวนิยาม สัมยักตว
กาย ดุจชนผู้เป็ นคฤหัสถ์ ศมาธิทเี่ ข้ าในภายหลังนี ้ ดุจการไปเป็ นขุนนางรับ
ราชการ แท้ จริ งแล้ ว คือสิง่ เดียวกัน แต่แสดงในมุมที่ตา่ งกัน อุปมาดัง่ การ
อยูร่ าชสํานัก แล้ วสวมชุดขุนนาง เมื่อถือศีล ก็เปลีย่ นมาใส่ชดุ ประพฤติ
ธรรม จึงได้ แสดงว่า ปูรวศมาธิสขี าว ยังมีศมาธิอนั มีสที อง ทังยั
้ งมีสอี ื่นอีก
อยูท่ ี่แต่ละธรรม พึงพิจารณ์ตามนัยดัง ฉะนี ้)

ขอมหานุศังศะ แห่งธยานปารมิตา นี้

อุทิศแก่ สรรพชีวิต ทั้งธรรมธาตุ

ให้ได้รับ อนันตรประภาส แห่งประจิมทิศ

สาเร็จตาม มหาปรณิธาน แห่งพระสมันตภัทร

(กระทําพระอวโลกิเตศวรมุทรา สองมือประสานกัน สองนิ ้วชนกัน สัณฐาน


ดังกลีบบัว สองนิ ้วโป้งติดกัน เมื่อกาลที่สวดมนตร์ นี ้ อธิษฐานทัง้ ๔ สถาน
คือจักรทัง้ ๔ ในร่างกาย ได้ แก่ ๑. สหสรารจักร (กระหม่อม) ๒. วิศทุ ธจักร
(คอ) ๓. อนาหตจักร (หัวใจ) ๔. สวาธิษฐานจักร (สะดือ))

~ 203 ~
๏ โอมฺ วัชระ ธะรมะ หรีหฺ ๚ะ๛277

(เมื่อกระทํามุทรานี ้ ให้ อธิษฐาน ๔ สถาน เมื่อแตะไปทีใ่ ด ให้ สวดมนตร์ ๑


จบ เกิดเป็ นอักขระ โอมฺ เมื่อแตะลงที่กระหม่อม เกิดเป็ นอักขระ โอมฺ และ
อักขระ ตรามฺ เมื่อแตะลงที่ปาก (คอ) เกิดเป็ นอักขระ โอมฺ และ อักขระ หูมฺ
เมื่อแตะลงไปที่หวั ใจ เกิดเป็ นอักขระ โอมฺ และ อักขระ อาหฺ เมื่อแตะลงที่

277
唵(引)。斡資囉(二合)。塔囉麻(二合) 紇哩。

~ 204 ~
สะดือ เกิดเป็ นอักขระ โอมฺ และ อักขระ หรี หฺ นี ้คือการอธิษฐานสรี ระแห่ง
ตน มารทังหลาย
้ ย่อมมิอาจทําร้ ายได้ อย่างไรก็ตาม การอธิ ษฐานทังนี
้ ้ มี ๒
ปรยาย บัดนี ้ได้ แสดงไว้ พียงปรยายต้ นเท่านัน)

~ 205 ~
มาตรชนปรารถจักแจ้งใน ปวงพระตถาคตในไตรยอวธวะ

พึงมนสิการธรรมธาตุสภาวะ ทั้งหมดล้วนเกิดจากใจ278

ต่อมา กระทา ทลายนรกมุทรา

(สองหัตถ์ กระทําวัชรมุษฏิ (นิ ้ว) ทานและปรัชญา เกี่ยวกัน วีรยะและ


พละ ยันกันไว้ แล้ วสวดมนตร์ เปิ ดนรก ๓ จบ สวดแต่ละจบ ให้ แยกหัตถ์ทงั ้
๒ ออกจากกัน ๑ ครัง้ ดังนี ้)

๏ นะมะหฺ อัษฏาสิตีน สัมยัก สัมพุทธะ โกฏีน โอมฺ ชญานาวะภาสิ


ทิริ ทิริ หูมฺ ๚ะ๛279

278
「若人欲了知,三世一切佛。應觀法界性,一切唯心造。」
คาถา ๔ บาทนี ้ เป็ นคาถาของ 覺林菩薩 พระพุทธวันโพธิสตั ว์ ที่มีมาในอวตังสก
สูตร ทังยั
้ งถือเป็ นคาถาเปิ ดนรกด้ วย เป็ นการเตือนสติสรรพชีวิตว่า สรรพสิ่งคือมายา
ล้ วนเกิดจากใจ พุทธะ มาร วิทยา อวิทยา บุญ บาป สวรรค์ นรก ล้ วนคือสิ่งที่ไม่มีจริง
เมือ่ สัตว์นนได้
ั ้ ฟัง พลันเกิดสติ แจ้ งว่านรกนันไม่
้ มีจริง ทุรคติและทุกขเวทนาทังนั้ น้
ย่อมปราศไป

~ 206 ~
(พึงมนสิการว่า กายแห่งตน คือพระอวโลกิเตศวรสีแดง ๑ พัตร์ ๒ มือ บน
ลิ ้น, หัวใจ และมุทรา ๓ สถาน เกิดอักขระ หรี หฺ สีแดง ทอแสงสกาว ดุจแสง
เมื่อแรกขึ ้นของดวงตะวัน สาดส่องไปยังนรกภูมิ ยังให้ นิรยะทังนั
้ น้ ทําลาย
โดยสิ ้น

279
那麻阿瑟吒 (二合)。瑟吒(二合)攝諦喃。三藐三勃塔。俱胝喃。
唵(引)。撮(引)辣(引)納。嚩婆細。提哩提哩吽。 มนตร์ นี ้เป็ นมนตร์
แห่งชญานาวภาส (แสงแห่งชญาน) ในพระตถาคตเจ้ า ทัง้ ๘๘ โกฏิ

~ 207 ~
ปุจฉา : สถานหนึง่ ก็จกั ทําลายได้ แล้ ว ใยต้ องกระทําถึง ๓ สถาน ?

วิสชั นา : เพราะนรกนัน้ เกิดจากบาปกรรมทังไตรทวาร


้ จึงต้ องใช้ แสงทัง้ ๓
ทําลาย ฉะนัน้

ปุจฉา : ก็แลถ้ าบาปกรรมอื่น จะทําลายได้ เช่นไร ?

วิสชั นา : บาปทังหลายนั
้ น้ ล้ วนมีสมุฏฐานจากใจ เมื่อแสงแห่งปรัชญาส่อง
้ อมไม่มี280 แล้ วจักมีนรกได้ ไฉน ด้ วยมีจิตรอันหลง จึง
แล้ ว สรรพชีวิตนันย่
สําคัญผิด281 แล้ วกระทําบาปกรรม เมื่อเหตุถึงที่สดุ ย่อมเกิดวิบาก สําคัญ
ผิดว่ามีนรก ต้ องรับทุกขเวทนา อันการทําลายนรกนี ้ คือการทําลาย
ความเห็นผิด ที่รับทุกขเวทนา อุปมาดัง่ การหลับฝั นไปว่า ถูกเสือสีห์ขบกัด
พบโจรภัย ราชภัย รับทุกขเวทนา นานาประการ ต่อเมื่อตื่นขึ ้น จะมีสงิ่ ไรฤๅ
ก็หาไม่ บัดนี ้การมนสิการนรกทังนี
้ ้ ก็เฉกกัน การส่อง (ด้ วยชญาน) ทังนี
้ ้ ไม่
มี (นรกใด) ที่จะไม่ทําลาย

ปุจฉา : ว่าถ้ าแต่ไรมา นรกทังหลาย


้ ล้ วนไม่มจี ริ ง แล้ วจะทําลาย (นรก)
เพื่อช่วย (สรรพชีวติ ทังหลาย)
้ ไปเพื่ออะไร ?

280
บทว่า “เมื่อแสงแห่งปรัชญาส่องแล้ ว สรรพชีวิตนันย่
้ อมไม่มี” ความคือ ปรัชญา
ดุจดังแสงอันทําลายความมืด เมื่อปรัญชาแจ้ งในตัตวธรรมแล้ ว ย่อมประจักษ์ ชดั ว่า
สรรพสิ่งทังหลาย
้ ไม่มีจริง
281
妄, 妄見 มิถยาทะรศนะ มิจฉาทิฐิ สําคัญผิด เช่น ยึดในสิ่งที่ไม่มี ว่ามีจริ ง

~ 208 ~
วิสชั นา : บัดนี ้เราผู้มีชญาน ประจักษ์ แล้ ว ย่อมพ้ นจากทุกข์ แต่สตั ว์ อื่น ที่
ไม่มีชญาน จะไม่ทกุ ข์ได้ ไฉน ก็แลดังที่ ปูรณพุทธสูตร282 ได้ แสดงไว้ วา่
“ยามฝั นนัน้ ไม่มีสิ่งใด ทีไ่ ม่มี พอตืน่ มา ทุกสิ่ งก็พลันไร้” บัดนี ้จึงได้ ทําลาย
ทุกข์ อันว่างเปล่าแห่งนรก อันบาปกรรม ยังให้ เกิดนรก เมื่อแจ้ งว่าไม่มี
บัดนี ้ข้ า ฯ อาศัยชญานประภาสภาวะ แจ้ งในเหตุ (นรก) จึงทําลายลง ก็แล
๑. ธยาน ๒. มุทรา ๓. ธารณี ๔. มนสิการ ๕. ชญานาวภาส อันปั จจัยทัง้ ๕
นี ้ จึงสามารถทําลายนรกลงได้ แล

บัดนี ้ศึกษาชน ในโลกนี ้ ตลอดจนอาจารย์จํานวนมาก มีเพียงแต่การสัน่


ระฆัง แลพิธีการอันวุน่ วาย ชะรอย จะผิดต่อเจตนาแห่งทายกอย่างมากมาย
ฉะนัน)

282
圓覺經, 円覚経, 大方廣圓覺修多羅了義經, 大方広円覚修多
羅了義経 Mahāvaipulya pūrṇabuddhasūtra prassanārtha sūtra มหา
ไวปุลยปูรณพุทธสูตรปรัสสนารถสูตร, ปูรณพุทธสูตร

~ 209 ~
~ 210 ~
~ 211 ~
ด้วยเดชแห่ง มุทราและมนตร์ นี้

ทาลายซึ่ง ประตูแห่งนรก ทั้งหลาย

เปิดออกด้วย มุทราและมนตร์นี้ ในทันใด

~ 212 ~
ขออัญเชิญ พระกษิติครรภโพธิสัตว์

~ 213 ~
(ยกดอกไม้ อญ
ั เชิญ ทุกคนขานรับแล้ ว ประธานยกกระถางสุคนธ์อญ
ั เชิญ)

ขอสารวมจิตรเป็นหนึ่ง ถวายความนอบน้อม พระผู้ตั้งปรณิธานว่า จะ


โปรดสรรพชีวิตให้สิ้น จึงค่อยจักตรัสรู้อนุตตรสัมโพธิญาณ นรกภูมิไม่ว่าง
จะไม่เข้าถึงอภิสัมพุทธะ มหาอารยะกษิติครรภโพธิสัตว์มหาสัตว์ เมตตา
สรรพชีวิต ขอให้มาสถิตยังธรรมสังคีติ ในกาลบัดนี้

(ทุกคนถือดอกไม้ เชิญ ประธานวางกระถางธูป ถวายจตุรจักรมุทราทัง้ ๔


สถาน สวด “ชะหฺ หูมฺ ว โหหฺ”283 กระทํามุทรา สวดมนตร์ ถวายเบญจ
บูชา อ่านโองการโปรดบรรพชนและเปรตทังหลาย)

ขอสารวมจิตรเป็นหนึ่ง ขออัญเชิญ บรรพกษัตริย์ บรรพเสนามาตย์ ผู้


พานักในปราสาทราชวัง แลอยู่ในขุนเขาลาธารอย่างโดดเดี่ยว เรือรบจาก
ตะวันตก ราชศักดิ์ (ที่แยกไป) นับพันปี รวมเป็นหนึ่ง284 ราชยานไปอุดร

283
ดูเชิงอรรถข้ อ 255
284
บทว่า 西來戰艦。千年王氣俄收。 “เรือรบจากตะวันตก ราชศักดิ์ (ที่
แยกไป) นับพันปี รวมเป็ นหนึ่ง” หมายเอา ในสมัยราชวงศ์จิ ้นตะวันตก ในสมัยพระ

~ 214 ~
เสียงร่ารองจากเบญจนคร ไม่ขาดสาย285 (อูฮ286
ู ) นกร้องเดือนดอก
เถา287ร่วง เลือดย้อมกิ่งไม้สุดคับแค้น อันราชะท้าวพระยาแต่บุราณทั้งนี้
และปวงวิชญาทั้งหลาย ด้วยเดชะพระรัตนตรัย และอานาจแห่งมนตร์
ขอให้มาชุมนุม ณ. ธรรมสังคีตินี้288

(ทุกคน รับอมฤตอันไร้ ขอบเขต แห่งธรรมสังคีต)ิ

เจ้ า 晉武帝 จิ ้นอูต่ ี ้ รัชสมัย 咸寧 เสียนหนิงปี ที่ ๕ (ค.ศ. ๒๗๙) หลังจากยึดแคว้ น


สู่ (จ๊ กก๊ ก) ทางตะวันตกได้ แล้ ว ก็รับสัง่ ให้ ตอ่ เรือรบ จากแคว้ นสู่ กรี ฑาทัพ ๖ สาย จน
ทําลายแคว้ นอู๋ (ง่อก๊ ก) เป็ นการรวบแผ่นดิน (อํานาจ) ที่เคยแตกเป็ น ๓ ก๊ ก รวมเป็ น
๑ เดียว ได้ สําเร็จ
285
บทว่า 北去鑾輿。五國冤聲未斷。 “ราชยานไปอุดร เสียงรํ่ารองจาก
เบญจนคร ไม่ขาดสาย” หมายเอา สหพันธรัฐเบญจนคร ที่อยู่ตรงปากอ่าว
Уссурийский залив อุซรี (ปั จจุบน ั อยู่ในเขตประเทศรัสเซีย) ที่นําโดย หวันเหย
วียนอากุตา๋ ซึง่ ต่อมาได้ สถาปนาราชวงศ์จิน กรีฑาทัพลงใต้ ทําลายราชวงศ์ซง่ ได้
สําเร็จ
286
ดูเชิงอรรถข้ อ 245
287
桃花 ดอกเถา ดอกท้ อ
288
มีคนสันนิษฐานว่า บท 《焰口召請文》 เชิญเปรตทังนี ้ ้ ประพันธ์โดย 蘇
軾 ซูตงพอ (ค.ศ. ๑๐๓๗ – ๑๑๐๑) ซึง่ เป็ นไปไม่ได้ เพราะเนื ้อหาในบทนี ้ คือ
เหตุการณ์ในรัชสมัยจิ ้งคัง (ค.ศ. ๑๑๒๕ – ๑๑๒๗) เกิดขึ ้นหลังจาก ซูตงพอเสียชีวิต
ไปแล้ ว ๒๕ ปี

~ 215 ~
ขอสารวมจิตรเป็นหนึ่ง ขออัญเชิญ แม่ทัพ พระยา ทั้งหลาย ศักดินานับ
หมื่นพัน ทาการปกป้องขอบขัณฑ์ นอนค่ายตากน้าค้าง เหนื่อยเปล่าสร้าง
ผลงาน ลมโชยหมาป่าคล้อย เหนื่อยเปล่ากับความหวังของราชะที่จากไป
(อูฮู) ขุนทัพม้าศึกบัดนี้อยู่หนไหน ดอกไม้หญ้าร้างพาลคะนึง อันวิชญา
ทหารหาญศึก ทั้งหลายนี้

ขอสารวมจิตรเป็นหนึ่ง ขออัญเชิญ ลูกหลานขุนนางเศรษฐีมีสกุล ทั้งหลาย


สอบเข้ารับราชการ หมายจะรับใช้เจ้านาย ขึ้นเหนือลงใต้ จากบ้านเกิดเมือง
นอน ไปสุดหล้าฟ้าเขียว ไปตายเอาต่างถิ่น (อูฮู) ขุนนางไหลไปตามสายน้า
วิชญาล่องลอย จากเมืองมนุษย์ อันวิชญา ขุนนางอามาตย์ ทั้งหลายนี้

ขอสารวมจิตรเป็นหนึ่ง ขออัญเชิญ ปวงสานัก ศึกษาชน ทั้งหลาย สอบได้


เป็นบัณฑิต เข้าสู่สภาแสดงวาทะ ตะเกียงหิ่งห้อยสิ้นแล้ว289 ความเหนื่อย
ยากต้องศูนย์เปล่า ฝนหมึกจนทะลุ ถือตัวหลายสิบปี ต้องลาบาก (อูฮู) เพื่อ

289
เล่ากันว่า คนยากจนในสมัยก่อน ไม่มีเงินซื ้อนํ ้ามัน ตอนกลางคืน ต้ องอ่าน
หนังสือ โดยอาศัยแสงจากหิ่งห้ อย (ออกจะเหลือเชื่อไปหน่อย)

~ 216 ~
ชื่อเสียงที่เป็นอักษรเพียงไม่กี่ตัว แผ่นดินกลบบทความ อันวิชญา หนอน
หนังสือ ทั้งหลายนี้

ขอสารวมจิตรเป็นหนึ่ง ขออัญเชิญ อันปวงพ้นธุลีผู้เป็นยอด บรรพชิตจาริก


ไป รักษาปาริศุทธิเบญจศีล ประพฤติพรหมจรรย์ ภิกษุ ภิกษุณี (แม่ชี)
ทั้งหลาย ไผ่เขียวดอกไม้เหลือง290 เพ้อเจ้ออธิบายรหัสยยาน291 โง่เขลา
อับปัญญา แต่กลับพยายามแสดงทุกขศูนยตกถา (อูฮู) ลมเย็นพัดเข้า
หน้าต่างในยามสาม ธยานจอมปลอมในกลางดึก อันพุทธิวชิ ญา สวมผ้า
กาษายะ ศากยบุตร ทั้งหลายนี้

290
翠竹黄花 “ไผ่เขียวดอกไม้ เหลือง” มีความหมายว่า สรรพสิ่งล้ วนคือความ
ปรากฏแห่งธรรม แต่คนไม่เข้ าใจ กลับแสวงหาธรรมจากสิ่งภายนอก มีการจาริก
ธรรมเป็ นต้ น ทังที
้ ่ธรรม เป็ นสิ่งที่มี อยู่ในสิ่งทังหลายอยู
้ ่แล้ ว ในสมัยซ่ง 慧海禪師
พระอาจารย์ห้ ยุ ไห่ แสดงไว้ วา่ “ชนผูห้ ลงใหล ไม่แจ้งว่า ธรรมกายไร้รูป อาศัยวัตถุ
กาเนิ ดลักษณ์ ไผ่เขียวทัง้ หลาย ไม่มีตน้ ใด ทีไ่ ม่ใช่ธรรมกาย ดอกไม้เหลืองทัง้ หลาย
ไม่มีดอกใด ทีไ่ ม่ใช่ปรัชญา ดอกไม้เหลืองคือปรัชญา เพราะไร้ใจ ไผ่เขียวคือ
ธรรมกาย เพราะเป็ นแค่ตน้ ไม้ใบหญ้า ฉะนัน้ ”
291
เตือนใจผู้แปลเอง และเตือนใจบุคคลทังหลายด้
้ วย

~ 217 ~
ขอสารวมจิตรเป็นหนึ่ง ขออัญเชิญ อาคันตุกะหมวกเหลือง บริโภคอายุ
วัฒนโอสถ มาช้านาน อยู่ในคูหาบาเพ็ญธรรม เบื้องหน้าผาลั่งเหยวี้ยน292
ฝึกฝนจิตร นวบาเพ็ญตรีบุปผา293 สวรรค์ยังไม่ขานนาม มหาภูตรูป
อนิจจา อบายภูมิอยากเปลี่ยนแปร พิศดูน้าค้างร่วงเตาโอสถเย็น ลมพัดยะ
เยือกหนาวดอกไม้โรย อันวิชญา นักพรตนานไกล ทั้งหลายนี้

ขอสารวมจิตรเป็นหนึ่ง ขออัญเชิญ ผู้รอนแรมท่องไป ค้าขายทั้งเหนือใต้


หาทรัพย์ทางไกล นับหมื่นโยชน์ สะสมทรัพย์สิน ลมและน้าค้างยากคะเน
เดินทางยากลาบาก ไปตายในต่างแดน (อูฮู) วิชญาหนอุดรคล้อยเมฆมา
วิชญาหนบูรพาตามน้าไป อันวิชญา อาคันตุกะพเนจร ทั้งหลายนี้

292
閬苑洲 ผาลัง่ เหยวี ้ยน, ลัง่ เหยวี ้ยนทวีป อยู่ตรงหน้ าผา ที่ภเู ขาคุนหลุน เชื่อ
กันว่าเป็ นที่ประทับของเจ้ าแม่ 西王母 ซีหวางหมู่
293
三花九煉 นวบําเพ็ญตรี บป
ุ ผา คือ การบําเพ็ญ ๙ ประการ เพื่อให้ เข้ าถึงตรี
บุปผา ได้ แก่ ๑. 人花 มนุษยบุปผา คือ การเปลี่ยนอสุจิให้ กลายเป็ นปราณ ๒. 地
花 ปฤถิวีบป ุ ผา คือ การยังปราณให้ กลายเป็ นวิชญา ๓. 天花 เทวบุปผา คือ การ
ยังวิชญาหวนคืนสู่ 虚 ศูนยตา (เต๋า)

~ 218 ~
ขอสารวมจิตรเป็นหนึ่ง ขออัญเชิญ ขุนดาบนักรบ โรมรันประจัญบาน เงา
แห่งธงแดง ชิงความเป็นใหญ่ ถือดาบระยับผลาญศัตรู ระฆังทองลั่น
สัญญาณรบ เมื่อนั้น บาดเนื้อทะลุไส้ แพ้ชนะจึงจะหยุด เนื้อเลือดเนืองนอง
ไปทั่วทิศ (อูฮู) ทะเลทรายเวิ้งว้างผีร่าร้อง กระดูกขาวโพลนโพลนไร้คน
เก็บ อันวิชญา ทหารที่รบตาย ทั้งหลายนี้

ขอสารวมจิตรเป็นหนึ่ง ขออัญเชิญ นอนหลับมาสิบเดือน จะคลอดในสาม


วัน สามีภรรยาสมัครสมาน หวังว่าจะได้ลูกชาย ส่งเสียงประสาน จะดีร้ายก็
แค่เพลานี้ หยกกระเบื้องยังไม่ชัด294 ทั้งแม่ลูกกลับสู่กลางคืนอัน
ยาวนาน295 (อูฮู) ดอกไม้กาลังจะบาน กลับต้องพายุฝน ดุจจันทร์กระจ่าง
ถูกเมฆบัง อันวิชญา มารดาและทารก (ที่ตาย) ทั้งหลายนี้

294
คนจีนสมัยก่อน เมื่อให้ กําเนิดบุตรแล้ ว จะเสี่ยงทายโดยให้ หยกกับกระเบื ้องแก่
เด็ก และก็หวังว่า เด็กจะหยิบหยกมาเล่น ด้ วยเป็ นนิมิตว่า ต่อไปภาคหน้ า ชีวิตจะดี
งาม มีคณุ ค่าเช่นเดียวกับหยก; บทว่า 璋瓦未分 “หยกกระเบื ้องยังไม่ชดั ” ความ
คือ ยังไม่ทนั ได้ เสี่ยงทาย คือเด็กยังไม่ทนั จะได้ เกิด
295
บทว่า 母子皆歸長夜 “ทังแม่ ้ ลกู กลับสูก่ ลางคืน อันยาวนาน” ความคือ
ตายทังแม่
้ ลกู จากการคลอดบุตร

~ 219 ~
ขอสารวมจิตรเป็นหนึ่ง ขออัญเชิญ ชนเผ่าน้อยใหญ่ บ้าใบ้บอดหนวก
กรรมาชีพใช้แรงงาน ความแค้นริษยาทาร้ายร่างกายตน ปรามาสพระ
รัตนตรัย บาปกรรม (มากมาย) ดุจเมล็ดทรายในมหาคงคาวารี อกตัญํู
บิดามารดา ความชั่วท่วมทับจักรวาล (อูฮู) ราตรียาวนานวันใดแจ้ง ปรภพ
มืดมิดมองไม่เห็น อันทุรวิชญา ทั้งหลายนี้

ขอสารวมจิตรเป็นหนึ่ง ขออัญเชิญ สาวงามชาววัง สตรีสกุลสูง ทาเล็บ


แต่งหน้าอย่างงามงด อาพันทะเล296อบภูษา เมฆหยุดฝนพัก คืนสู่สาว
สรรค์ จันทราราบุปผาโรย โศกาท่าม๋าเหว่ย297 (อูฮู) ความรื่นเริงในกาล
ก่อนไม่พานพบ กระดูกขาวโพลนบนหญ้าหนาว อันวิชญา นารีสูงศักดิ์
ทั้งหลายนี้

296
龍麝, 龍涎 อําพันทะเล หรื อ อําพันขี ้ปลา หรื อ อําพันทอง หรื อ ขี ้วาฬ
(อังกฤษ: Ambergris, AMBRA GRISEA, Ambre gris, หมายถึง "อําพันสีเทา")
เป็ นสารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง ที่มีลกั ษณะคล้ ายกับอําพัน เป็ นสิ่งที่ได้ มาจาก
ทะเลและมหาสมุทร โดยเป็ นผลิตผลจากสัตว์ทะเลขนาดใหญ่ คือ วาฬ ชนิด วาฬ
สเปิ ร์ ม มีลกั ษณะเด่น คือ มีกลิ่นหอม
297
馬嵬驛 ท่าม๋าเหว่ย สถานที่สําเร็จโทษหยางกุ้ยเฟย อยู่ใกล้ เมืองซีอาน
ประเทศจีน กลอนท่อนนี ้ กล่าวถึงสตรีสกุลสูง โดยมีหยางกุ้ยเฟยเป็ นสัญลักษณ์

~ 220 ~
ขอสารวมจิตรเป็นหนึ่ง ขออัญเชิญ ขอทานอดอยาก ต้องราชทัญฑ์ขื่อคา
พบอัคนิแลอุทกให้บาดเจ็บ เขี้ยวงาทาร้ายให้สิ้นชีพ ทุกข์ทรมานกินยาพิษ
พันปีผันผ่าน ความแค้นหนักแน่น ฟ้าฟาดผาทลาย กัมปนาทหวาดไหว
(อูฮู) อัสดงวสันต์สกุณหนาว ลมศารทโพยพัดใบไม้ปลิว อันวิชญา บาดเจ็บ
ตายร้าย298 ทั้งหลายนี้

ขอสารวมจิตรเป็นหนึ่ง ขออัญเชิญ ทั้งหกภูมิ299ธรรมธาตุ เปรตทั้ง ๑๐


ประเภท300 พระมุขาคนีวาลเปรต301ปกครอง มีคณามากมาย ดุจเมล็ด

298
橫死 ตายร้ าย ตายโหง
299
六道 ๖ ภูมิ ได้ แก่ สวรรค์ มนุษย์ อสูร เปรต เดรัจฉาน นรก
300
ในอวตังสกสูตร ได้ แสดงถึง 十類孤魂 เปรตไว้ ทงั ้ ๑๐ ประเภท ได้ แก่ ๑. โลภ
ในวัตถุ ตายไปตกนรก สิ ้นกรรมแล้ วไปเกิดเป็ น 怪鬼 ๒. มักมากในกาม ตลอดจนมี
จิตรพันผูกในรูปอันงามทังหลาย ้ ตายไปตกนรก สิ ้นกรรมแล้ วไปเกิดเป็ น 魃鬼 ๓. มี
โมหะครอบงํา มักหลอกลวงผู้อื่น ตายไปตกนรก สิ ้นกรรมแล้ วไปเกิดเป็ น 魅鬼 ๔.
เป็ นผู้มกั โกรธ ตายไปตกนรก สิ ้นกรรมแล้ วไปเกิดเป็ น 蠱毒鬼 (บางแห่งแสดงว่า
คนที่วางยาพิษฆ่าคน ใช้ ยาสัง่ ทําร้ ายคนอื่น ตายไปตกนรก สิ ้นกรรมแล้ วจะไปเกิด
เป็ น 蠱毒鬼 นี ้) ๕. มีจิตรเคียดแค้ น ผูกเวร ตายไปตกนรก สิ ้นกรรมแล้ วไปเกิดเป็ น
癘鬼 (มีการลักลัน ่ ระหว่าง คําว่า 「癘鬼」 และ 「厲鬼」 มีทงเห็ ั ้ นว่า เป็ นคํา
เดียวกัน และคนละคํากัน แต่โดยสรุปคือ ทัง้ ๒ คํานี ้ มีนยั ที่ตรงกัน คือ เป็ นเปรตหรือ
ผีชนิดหนึ่ง ที่ทําร้ ายคน) ๖. มักเป็ นผู้กระด้ าง มีมานะ ถือตน ตายไปตกนรก สิ ้นกรรม

~ 221 ~
ทราย อาศัยตามสุมทุมพุ่มไม้ ฝูงเปรตทั้งหลาย ที่ตายก่อน ทั้งตายหลัง
อันวิชญา ญาติมิตร ทั้งหลายนี ้

(เผากระดาษผีไม่มีญาติ)

การกล่าวอัญเชิญในเบื้องต้น ได้มาประชุมกันสิ้นแล้ว ขอทุกท่านเมตตา


กรุณา ทอดอาลัย

บรรพกาลปวงกษัตริย์ ราชนิกุล พระยา เสนามาตย์ วงศ์วานอิสริยศักดิ์ แล


ชาววัง สนมกานัล ความฝันอันวิจิตรสิ้นแล้ว ขอจงมารับอมฤตรส

แล้ วไปเกิดเป็ น 餓鬼 ๗. ใส่ไคล้ ผ้ อู ื่น ตายไปตกนรก สิ ้นกรรมแล้ วไปเกิดเป็ น 魘鬼


๘. เป็ นผู้มีมิถยาทรรศน์ อวดดี อวดฉลาด ตายไปตกนรก สิ ้นกรรมแล้ วไปเกิดเป็ น
魍魎鬼 ๙. ทําร้ ายคนอื่น ด้ วยวิธีนานาประการ มีการกระทํา มนตร์ กฤตยา เป็ นต้ น
ตายไปตกนรก สิ ้นกรรมแล้ วไปเกิดเป็ น 役使鬼 ๑๐. เป็ นคนแบ่งพรรคแบ่งพวก
เห็นแก่พวกพ้ อง กระทําลําเอียง ตายไปตกนรก สิ ้นกรรมแล้ วไปเกิดเป็ น 傳送鬼
301
面燃大士 พระมุขาคนีวาลเปรต

~ 222 ~
~ 223 ~
ขุนนางราชภักดิ์ โดยรอบขอบขันฑ์ ปกครองปวงนิกร ยังไม่สมประสงค์ ก็
เสื่อมความโปรดปราน ขับสู่ชายขอบ เป็นวิชญาร่อนเร่ ขอจงมารับอมฤตรส

~ 224 ~
~ 225 ~
แม่ทัพราชบุรุษ ปกครองสามทัพ ยุทธรณรงค์ เภรีก้องทั่วหล้า รบไปทั้ง
เหนือใต้ ตายในสนามรบ สละชีพเพื่อชาติ ขอจงมารับอมฤตรส

~ 226 ~
~ 227 ~
เรียนรู้ตารับบุราณ บทความอันงดงาม อดทนศึกษา อุดมการณ์ใน
กระท่อม โชคชะตาไม่ดี สอบไม่ติดราชการ อันวิชญา ทั้งหลายนี้ ขอจงมา
รับอมฤตรส

~ 228 ~
~ 229 ~
สละทางโลกแต่เยาว์วัย เข้าสู่ศูนยตมุข302 แสวงมรรคหาอาจารย์ เพื่อหลุด
พ้นเกิดตาย วสันต์ไปเหมันต์มา ยังไม่แจ้งอนิจจา (มิอาจ) ย้อนเวลา ขอ
จงมารับอมฤตรส

302
空門 ศูนยตมุข หมายถึง พระศาสนา; บทว่า 入空門內 “เข้ าสูศ
่ นู ยตมุข”
หมายถึง การออกบวช

~ 230 ~
~ 231 ~
ปักษาภรณ์ปีตมาลา303 แต่น้อยตั้งปรณิธานบาเพ็ญสัตยะ304 ปรุงโอสถา
ยุพัฒนะ305 บาเพ็ญนิวรตติธรรม306 ประพฤติทุกรกิริยา มุ่งมาดในเท
วสถานะ อย่าได้ยึดมั่นถือมั่น ขอจงมารับอมฤตรส

303
羽服 ปั กษาภรณ์ (เสื ้อขนนก) 黃冠 ปี ตมาลา (หมวกเหลือง) หมายถึง หมวก
และเสื ้อผ้ าของ นักพรตในศาสนาเต๋า; บทว่า 羽服 “ปั กษาภรณ์” (เสื ้อขนนก)
หมายถึง ชุดนักพรต เป็ นคําแสดงถึงเทวภูษิตาภรณ์ คือ เสื ้อผ้ าของปวงเทวยุดา ที่มี
ความบางเบาดุจขนนก ดังที่ 《上清寶文》อุตตรวิศทุ ธิเทวารัตนบท แสดงไว้ วา่
「仙人有五色羽衣」 “ทวยเทพมี เบญวรรณปั กษาภรณ์ ”
304
真 สัตยธรรม บรมธรรมในศาสนาเต๋า
305
การปรุงยาอายุวฒ ั นะ ในศาสนาเต๋า เชื่อว่า บริโภคแล้ ว จักสามารถรักษาสรรพ
โรค กลับคืนเป็ นหนุ่มสาว เป็ นอมตะ ไม่ป่วย ไม่แก่ ไม่ตาย ถือเป็ น 外丹 ยา
อายุวฒ
ั นะภายนอก คือ ต้ องกินจากภายนอกเข้ าไป ไม่ได้ บําเพ็ญเอง
306
การบําเพ็ญธรรม โดยการเดินลมปราณ ในศาสนาเต๋า เพื่อการทวนกระแสวัฏ
จักร กลับคืนเป็ นหนุ่มสาว เป็ นอมตะ ไม่ป่วย ไม่แก่ ไม่ตาย ถือเป็ น 内丹 ยา
อายุวฒ ั นะภายใน คือ ต้ องบําเพ็ญเอง ไม่ต้องกินเข้ าไปร่างกาย หรือไม่ต้องอาศัย
ปั จจัยจากภายนอก

~ 232 ~
~ 233 ~
กตัญํุตบุคคล บุรุษผู้ห้าวหาญ สตรีทเี่ ด็ดเดี่ยว เห็นความตายคือสามัญ
ตายเพื่อศักดิ์ศรีอุดมการณ์ กล่าวขานนับพันปี อันภักดิ์วิชญา ทั้งหลายนี้
ขอจงมารับอมฤตรส

~ 234 ~
~ 235 ~
อันนางชีทั้งหลายเล่า ดารงตนในสุพรรณสถาน ไร้บุพเพ ฯ ในโลกิยะ ไม่
แปดเปื้อนทางโลก ยังไม่ทันหลุดพ้น ก็วางวาย ไหลไปตามสงสาร อัน
พิศุทธิ์วิชญา ทั้งหลายนี้ ขอจงมารับอมฤตรส

~ 236 ~
~ 237 ~
ชโยติษ307ภูมินัย308 ไวทย309ไภษัชย310ทวิอรรถ311 เกาตุกะ312
ครหาวฤตะ313 พยากรณ์ดีร้าย ก็ยากจะพ้นต่ออนิจจะ ขอจงสละศาฐย
ธรรม314 คืนสู่สัตยธรรม315 มารับอมฤตรส

วาณิชาทั้งปวง ศิลปินทั้งหลาย ค้าขายเพื่อหาทรัพย์ รอนแรมไปต่างแดน


สิ้นชีพในต่างถิ่น ความฝันพเนจร ขอจงมารับอมฤตรส

307
天文 ชโยติษะ ดาราศาสตร์
308
地理 ภูมินยั นัยแห่งแผ่นดิน 风水 เฟิ งสุย่ (ฮวงจุ้ย)
309
醫 ไวทยะ การแพทย์
310
藥 ไภษัชยะ เภสัช
311
陰陽類 ทวิอรรถ คือ อิน (หยิน) และ หยาง
312
卜卦占龜, 占卜, 占卦 เกาตุกะ การเสี่ยงทาย การทํานายโดยใช้ วิธีเสีย่ ง
ทาย
313
風鑑并星士, 星占法 ครหาวฤตะ การทํานายโดยใช้ การโคจรของดวงดาว
314
偽 ศาฐยธรรม สาเถยยธรรม ธรรมอันมีมายา ธรรมอันจอมปลอม ไม่จริ ง
315
真 สัตยธรรม สัจธรรม ได้ แก่ พุทธธรรม

~ 238 ~
~ 239 ~
ละเมิดอาชญา ต้องราชทัณฑ์จาตรวน สิ้นชีวะเพราะทรัพย์ ปวงเจ้ากรรม
นายเวร ภัยร้ายทุรโรค เหน็บหนาวอดตาย จงรีบพ้นจากปรโลก มารับ
อมฤตรส

ม้าเหยียบ รถชน กาแพงทับ กายแหลกเหลว ผีกระทา อศนีบาต เชือดคอ


แขวนคอตาย จมน้า ไฟคลอก ขอดวงวิชญา ทั้งหลายนี้ จงมารับอมฤตรส

เกิดโตมาต้อยต่า อยู่ในปรัตยันตชนบท316 ตรากตราทางาน เป็นข้าทาส


รับใช้ บ้า ใบ้ บอด หนวก พิการ อนาถา ขอดวงวิชญา ทั้งหลายนี้ จงมา
รับอมฤตรส

316
ปรัตยันตชนบท ปั จจันตชนบท (ตรงข้ ามกับคําว่า “มัชฌิมประเทศ”) คํานี ้
แปลว่า สถานที่ชนบทธุรกันดาร ห่างไกลความเจริญ แต่อีกความหมาย คือ สถานที่
หรือสิ่งแวดล้ อม เช่น ประเทศ, สังคม, ครอบครัว ฯลฯ ที่ไม่มีหรือไม่นบั ถือ
พระพุทธศาสนา

~ 240 ~
~ 241 ~
ทรลักษณ์อกตัญํูต่อผู่มีพระคุณ โกรธแค้นต่อสิ่งทั้งหลาย ปรามาสพระ
รัตนตรัย เผาทาลายศาสนาวัตถุ317 มีมิถยาทรรศน์318 อกุศลวิบากเป็น
มหันต์ อันวิชญาทศากุศลธรรมบถ ทั้งหลายนี้ จงมารับอมฤตรส

เปิดมหาทานปรยาย โปรดปวงเปรตทั้งหลาย บรรพชนในอดีต เจ้าเวร


เบญจโคตร319 ไตรอบาย อัษฏากษณะ320 ช่วยเหลือโดยเสมอภาค ด้วย
เดชแห่งพุทธประภา ขอจงมารับอมฤตรส

317
ศาสนาวัตถุ ได้ แก่ ศาสนสถาน พระพุทธรู ป คัมภีร์ เครื่องใช้ ฯลฯ
318
邪見 มิถยาทรรศน์ มิจฉาทิฐิ ความเห็นผิด เช่น เห็นว่า บุญบาปไม่มี ทําดี
ไม่ได้ ดี ทําชัว่ ไม่ได้ ชวั่ ฯลฯ
319
五姓冤家 เจ้ าเวรเบญจโคตร คือ สิ่ง ๕ จําพวก ที่จะทํายังทรัพย์และชีวิตแห่ง
ชนทังหลาย
้ ต้ องวิบตั ิไป ได้ แก่ ๑. ราชภัย (ภัยจากอาชญาแผ่นดิน, ภัยจาก
ผู้ปกครองและผู้มีอํานาจในบ้ านเมือง, ภัยการเมือง) ๒. โจรภัย (ภัยจากโจรผู้ร้าย
หรือ ภัยจากนักเลงและผู้มีอิทธิพล มีการ ปล้ น, ขโมย เป็ นต้ น) ๓. อัคนิภยั (ภัยอัน
เกิดแต่เพลิง เช่น ไฟไหม้ ) ๔. วารีภยั (ภัยอันเกิดแต่นํ ้า เช่น นํ ้าท่วม) ๕. บุตรภัย (ภัย
จากลูกและหลาน ตลอดจนญาติมิตร อันชัว่ )
320
ใน วิมลกีรตินิรเทศสูตร ได้ แสดงถึง 八難 อัษฏากษณะ (อัฐาขณะ แปลว่า
ช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม ทัง้ ๘) คือ ความยากลําบาก ๘ ประการ อันจะยังให้ ไม่ได้
พานพบ พระพุทธศาสนา ได้ แก่ ๑. ตกนรก ๒. เกิดเป็ นเปรต ๓. เกิดเป็ นเดรัจฉาน ๔.
เกิดในอุตรกุรุทวีป (บันเทิงเกินไป เกิดประมาทจิตร) ๕. เกิดในเทวโลก (มีอายุยืน

~ 242 ~
พระอมิตาภตถาคต มีพระปรณิธานอัประมาณ แจ้ง (ในสัตว์ อัน) ลุ่มหลง
มีปกติล่องลอย อยู่ในทุกขสาคร ยื่นพระหัตถ์มาคอยรับ ขึ้นเมตตานาวา
บรรทุกสรรพชีวิต สู่ปัทมินี321

ขอนอบน้อมแด่พระปัทมินีตถาคตโพธิสัตว์322 (๓ จบ)

ด้วยเดชะมหากรุณาพละแห่งพระตถาคต ข้า ฯ ขออัญเชิญปวงสัตว์


ตลอดจนเปรตไร้ญาติ ในที่รกร้างทั้งหลาย ทั้งในอิธโลก323 และ
ปรโลก324 มิอาจขัดพุทธอาญา มาประชุมกัน ในสถาน ณ. ที่นี้

ยาวเกินไป เกิดประมาทจิตร) ๖. เกิดมา บ้ า ใบ้ บอด หนวก (อเหตุกจิตร ยังให้ ไม่


สามารถแจ้ งในพระสัทธรรม) ๗. เกิดมาฉลาด มีความรู้ (ทางโลก) มากเกินไป แม้ จะ
พบพุทธศาสนา แต่ก็ไม่เลื่อมใสศรัทธา ๘. เกิดมาในช่วงพุทธันดร คือ กาลที่วา่ งเว้ น
จากพระศาสนา (ช่วงเวลาที่ศาสนาของพระพุทธเจ้ าพระองค์หนึ่ง สูญสิ ้นแล้ ว และ
พระพุทธเจ้ าพระองค์ใหม่ ยังไม่มาอุบตั ิ)
321
蓮池, 蓮池會 ปั ทมินี สระบัว หรื อ ที่ประชุมแห่งดอกบัว อันได้ แก่ สุขาวดี
โลกธาตุ
322
ขอถวายความนอบน้ อมแด่ พระตถาคตและพระโพธิสตั ว์ ผู้ประชุมอยู่ในสระ
แห่งดอกปุญฑรีก

~ 243 ~
ต่อมา กระทา เปรตากรษณมุทรา325

(มือซ้ ายกระทําอภัยมนสิการ ยื่นมือขวาไปเบื ้องหน้ า ตังขึ


้ ้น จตุรปารมิตา
งอเล็กน้ อย วีรยปารมิตา งอเป็ นตะขอ แล้ วว่ามนตร์ ดงั นี ้)

๏ โอมฺ ชินะ ชิกะ เอ หเย หิ สวาหา ๚ะ๛326

323
陽 อิธโลก โลกนี ้
324
冥 ปรโลก โลกอื่น
325
召請餓鬼 เปรตากรษณะ (เปรตะอากรษณะ) เชิญเปรต
326
มนตร์ เชิญเปรต 唵。即納即葛。移希曳(二合)歇莎訶。oṃ jina
jika e hye hi svāhā (บางแห่งแสดงว่า “โอมฺ ชินะ ชิก เอ หเย หิ สวาหา” oṃ jina
jik e hye hi svāhā)

~ 244 ~
(เมื่อสวดมนตร์ แลกระทํามุทรา พึงมนสิการว่า มุทราหัตถ์เบื ้องซ้ าย บังเกิด
มีอกั ขระ หรี หฺ สีขาว ทอแสงประภาส เรี ยกเปรตมาที่มณฑลพิธี เมื่อมาถึง
แล้ ว (เปรต ฯลฯ ทังนั
้ น)้ กระทําทักษิ ณาวรรต แด่พระตถาคต ๓ รอบ
จากนันกระทํ
้ าการอภิวาทพระตถาคต แล้ วไปรออยูด่ ้ านนอก ที่มณฑลพิธีมี
ประตู ทัง้ ๔ ทิศ หนบูรพาถึงหนทักษิ ณ คือประตูของสัตว์นรก หนทักษิ ณถึง
หนหรดีคือประตูของเปรต หนหรดีถึงหนประจิม คือประตูของติรัจฉาน จาก
หนประจิมถึงหนพายัพ คือประตูของมนุษย์ จากหนพายัพถึงหนอุดร คือ

~ 245 ~
ประตูของอสูร จากหนอุดรถึงหนบูรพา คือประตูของเทวะ พึงดังนี ้ แล้ วสงบ
อยู่ แล้ วกล่าว อาศวาสนา327 ดังนี ้)

เมื่อเชิญมาแล้ว มารวมดุจเมฆา ด้วยกรุณาจิตร สรรเสริญปลอบประโลม


ยังให้เกิดปรมุทิตา ปรารถนาในพระสัทธรรม (ประธานกล่าวดังนี ้)

327
安慰 อาศวาสนา การปลอบใจ การปลอบประโลม

~ 246 ~
ปวงพุทธบุตรที่มาด้วยดีแล้ว เพราะได้สร้างกุศลปัจจัยไว้

บัดนี้กุศลสังคีติ อย่าได้กังวลกลัว

สารวมจิตรรับพระธรรม ไม่พ้นจากกาลนี้

ศีลโภชนะทั้งหลายนี้ จักยังให้พ้นทุกข์โดยพลัน

ดูกร ปวงพุทธบุตร เมื่อมาถึงมณฑลพิธีแล้ว

อกุศลวิบากทั้งหลาย จงเข้ามาสู่วัชรมุษฏิ

ต่อมา กระทา ปาปากรษณ328มุทรา

(สองหัตถ์กระทําวัชรพันธะ329 กษานติและปรณิธาน ยืดขึ ้นมา วีรยะและ


พละ เกี่ยวกัน แล้ วกล่าว ปาปากรษณมนตร์ ดังนี ้)

328
召罪 ปาปากรษณะ (ปาปะอากรษณะ) เรี ยกบาปมา
329
金剛縛 วัชรพันธะ คือ การกําประสานมือทัง้ ๒ โดยให้ นิ ้วสับหว่างกันและกัน

~ 247 ~
๏ โอมฺ สะรวะ ปาปะ อากะรษะณะ วิโศธะนะ วัชรสัตตวะ สะมะยะ
หูมฺ ชะหฺ ๚ะ๛330

330
唵。薩哩斡(二合)巴鉢。羯哩(二合)沙拏(二合)。月戌駄納。斡
資囉(二合)薩埵。薩麻耶。吽。拶。 (บางแห่งออกว่า “โอมฺ ปาปะ อา
กะรษะณะ วิโศธะนะ วัชรสัตตวะ สะมะยะ หูมฺ ชยา”)

~ 248 ~
(เมื่อสวดมนตร์ แลกระทํามุทรา พึงมนสิการว่า เหนือสองนิ ้วที่ยดื ตรงขึ ้นมา
มีอกั ขระ หรี หฺ สีขาว ทอแสงเข้ าไปสูก่ าย ยังให้ บาปทังหลายออกมา
้ มี
สัณฐาน ดังหมอกควันมารวมกัน ฉะนัน้

ปุจฉา : บาปนัน้ ไม่มีกายจริ ง (ไม่มีรูปลักษณ์) แล้ วใย จึงแสดงว่า ดุจ


หมอกควัน ประดุจมีกายจริ งเล่า ?

วิสชั นา : อันบาปนัน้ แม้ นไม่มีรูปลักษณ์ แต่สามารถอัดเต็มแผ่นฟ้ าทัว่


แผ่นดิน ปิ ดตาและบังใจ ยังให้ ไม่สามารถมองเห็น พิศทุ ธิเกษตรแห่งพระ
ตถาคต บัดนี ้จึงสมมุติลกั ษณะแห่งควัน มาแทนบาป เพื่อประโยชน์ในการ
เรี ยกออกมาได้ จริ ง ฉะนัน)

~ 249 ~
ทาลายบาปกรรมทั้งปวง ดุจกัลป์ที่ทาลายด้วยไฟ

มาตรว่ายังหลงเหลือ วัชระทาลายเป็นธุลี

~ 250 ~
ต่อมา กระทา ปาปฉินน331มุทรา

(อัษฏปารมิตาผสานกัน กษานติและปรณิธาน ยื่นขึ ้นมาดุจเข็ม แล้ วว่า


มนตร์ ดงั นี ้)

๏ โอมฺ วัชรปาณี วิสโผฏะยะ สะรวะ อปายะ พันธนานิ ประ-


โมกษะยะ สะรวะ อปายะ-คติภยะหฺ สะรวะ สัตตวาน สะรวะ ตะถา
คะตะ วัชระ-สะมะยะ หูมฺ ตรา ฏะ ๚ะ๛332

331
摧罪 ปาปฉินนะ ทําลายบาป
332
唵。斡資囉(二合)巴尼月斯普(二合)吒耶。薩哩斡(二合)阿
巴耶。班塔拏尼。不囉(二合)穆恰耶。薩哩斡(二合)阿巴耶。
葛諦毗藥(二合)。薩哩斡(二合)。薩埵喃。薩哩斡(二合)答塔葛
達。斡資囉(二合)。三麻耶。吽。怛囉吒。 (บางแห่งออกว่า “โอมฺ
วัชรปาณี วิสโผฏะยะ สะรวะ อปายะ พันธนานิ ประ-โมกษะยะ สะรวะ อปายะ-คติภ
ยะหฺ สะรวะ สัตตวานํ สะรวะ ตะถาคะตะ วัชระ-สะมะยะ หูมฺ ตระฏ”)

~ 251 ~
(เมื่อสวดมนตร์ แลกระทํามุทรา พึงมนสิการว่า นิ ้วที่ยื่นขึ ้นมา นิ ้วซ้ ายมี
อักษร ตรา นิ ้วขวามีอกั ษร ฏะ อักษรทัง้ ๒ นี ้ ทอแสงสีทอง มนสิการกายตน
ว่า คือ พระอวโลกิเตศวรกายเขียว ทุกครัง้ ที่สวด ๑ จบ นิ ้วกลางทัง้ ๒ สัน่ ถู
ไปมา เสร็ จแล้ วปรบมือ ให้ เกิดเสียง มนสิการว่า บาปกรรมดุจภูเขา
กระเบื ้อง แตกทําลายลง แลบาปกรรมทังนั
้ น้ ดังเช่นควันไฟ ที่มนสิการไว้ ใน
เบื ้องต้ น ก็กระจายหายไป ฉะนัน้

~ 252 ~
ปุจฉา : บาปกรรมไร้ รูปลักษณ์ แล้ วจะทําลายได้ เช่นไร ?

วิสชั นา : ก็เพราะไร้ ลกั ษณ์ จึงสามารถทําลายได้ มาตรว่ามีอยูเ่ ทีย่ งแท้


แน่นอน แล้ วจักทําลายได้ เช่นไร

จากนัน้ ผู้ชว่ ยกล่าวดังนี ้)

~ 253 ~
~ 254 ~
นิยตกรรม333 มิอาจแปร

(แต่) ด้วย ศมาธิ อธิษฐาน

อาวรณธรรมทั้งหลาย อันมิรู้ต้น

ล้วนภินนะ ไปโดยพลัน

333
定業 นิยตกรรม กรรมอันมีกําหนด ที่ต้องส่งผล ไม่อาจแก้ ไขได้

~ 255 ~
ต่อมา กระทา ภินนนิยตกรรม334มุทรา

(สองหัตถ์ กระทําวัชราญชลิ335 วีรยะและพละ งอข้ อที่สอง ธยานและ


ปรัชญา กดทัง้ ๒ ปารมิตาไว้ แล้ วกล่าวปริ กรรม336มนตร์ ดังนี ้)

๏ โอมฺ วัชระ กะรมะ วิโศธะยะ สะรวะ อาวะระณานิ พุทธะ สัตเย


นะ สะมะยะ หูมฺ ๚ะ๛337

334
破定業 ภินนนิยตกรรม ทําลายนิยตกรรม
335
金剛掌 วัชราญชลิ (วัชระ + อัญชลิ) คล้ ายการประนมหัตถ์
336
ุ ธิ์
淨業 ปริ กรรม บริ กรรม การยังบาปกรรมให้ พิศท
337
唵。斡資囉(二合)葛哩麻(二合)。月束塔耶。薩哩斡(二合)。阿
咓囉拏你。菩塔薩底曳(二合)納。三麻耶吽。

~ 256 ~
(เมื่อสวดมนตร์ แลกระทํามุทรา พึงมนสิการว่า ที่ดวงหทัยจันทรจักร
บังเกิดอักขะ หรี หฺ สีเขียว ทอแสงประภาส ส่องไปยังเปรต ฯลฯ ทังหลาย

บาปกรรมอันใด ทีพ่ ระตถาคตมาอุบตั ิแล้ ว ไม่สามารถกระทํากษมาปรติ

~ 257 ~
เทศนา338ได้ พึงมนสิการว่า เกิดความบริ สทุ ธิ์ ดังไม่เคยล่วงมาก่อน
มนสิการว่า เปรต ฯลฯ ทังหลาย
้ กับพระตถาคตเจ้ าทังหลาย
้ มีจิตร
เหมือนกัน โดยไม่มคี วามแตกต่าง นี ้คือการทําลายบาปกรรมแล อันธรรมนี ้
คือ การทําลายชเญณาวรณ์339 ศึกษาชนพึงแจ้ งดังฉะนี ้ จากนัน้ ผู้ช่วย
กล่าวดังนี ้)

338
懺悔 กษมาปรติเทศนา คือ การรับผิด ขอขมา และขออดโทษ ในบาปกรรม
ทังหลาย
้ ที่ตนได้ กระทําไว้
339
所知障 ชเญณาวรณะ ชเญณาวรณ์ คือ ความรู้อน
ั เป็ นเครื่องปิ ดกัน้ ความยึด
มัน่ ในความรู้ ฯลฯ

~ 258 ~
สภาวะแห่งบาป เดิมว่างเปล่า ล้วนเกิดจากใจ

ใจ มาตรว่าทาลายแล้ว บาปย่อมสลาย

จิตรทาลาย บาปดับ ทั้งสองศูนย์

นี้คือ การกษมาปรติเทศนา ที่แท้จริง340

ต่อมา กระทา กษมาปรติเทศนาภินนปาป341มุทรา

(สองหัตถ์ กระทําวัชรพันธะ ปารมิตาทัง้ ๖ ประสานกันภายนอก วีรยะและ


พละ งอข้ อที่สอง ธยานแลปรัชญา กดทังสองปารมิ
้ ตานันไว้
้ )

๏ โอมฺ สะรวะ ปาปะ วิสโผฏะ ทะหะนะ วัชรายะ สวาหา ๚ะ๛342

340
คาถา ๔ บาทนี ้ คือ นัยที่แท้ แห่งการกษมาปรติเทศนา ชนผู้แจ้ งในอรรถทังนี
้ ้
บาปกรรมทังปวง
้ ย่อมปราศไป โดยไม่ต้องทํากิจใด
341
懺悔滅罪 กษมาปรติเทศนาภินนปาป การขมากรรมทําลายบาป
342
唵。薩哩斡(二合)巴鉢。月斯普(二合)吒。怛賀納。斡資囉 (二
合)。耶。莎訶。 (บางแห่งแสดงไว้ วา
่ “โอมฺ สะรวะ ปาปะ ทะหะนะ วิสโผฏะ วัช
รายะ สวาหา”)

~ 259 ~
(เมื่อสวดมนตร์ แลกระทํามุทรา พึงมนสิการว่า นิ ้วที่งอทัง้ ๒ ข้ าง มีอกั ขระ
หรี หฺ สีขาว ทอแสงสุกใส ดุจดวงตะวัน ยังให้ มลทินแห่งบาป อันมีสณ
ั ฐาน
ดํา ดุจนํ ้าหมึก ไหลออกจากเบื ้องบาท แห่งสรรพชีวติ ทังหลาย
้ ไหลลงสู่
วัชระตาลสถาน343 ฉะนัน้

343
金剛際 วัชระตาลสถาน วัชระบาดาล อยู่ใต้ ตํ่าสุดชองจักรวาล บางแห่ง
เรียกว่า 金剛地狱 นรกวัชระ บ้ างก็แสดงว่า คือ อวิจิ (อเวจี) มหานรก

~ 260 ~
ปุจฉา : ก็ในเบื ้องต้ น ได้ ทําลายบาปกรรม สิ ้นไปแล้ ว แล้ วใยจึงกลับมา
กระทํากษมาปรติเทศนาอีก ?

วิสชั นา : ก่อนหน้ านี ้คือ นัยแห่งกษมาปรติเทศนา แต่บดั นี ้คือ กิจแห่ง


กษมาปรติเทศนา (ดังนี ้แล้ ว) นัยและกิจ ย่อมพ้ นจากอาวรณ์ จึงไม่ถือว่า
ซํ ้าซ้ อน

ปุจฉา : ก็แลเหตุใด จึงต้ องมนสิการว่า บาปกรรมมีสณ


ั ฐานดํา ดุจนํ ้า
หมึก ?

วิสขั นา : บาปกรรมเป็ นกรรมดํา จึงให้ มนสิการดุจหมึก และเพราะเพื่อให้ มี


การไหลลงเป็ นลักษณะ จึงได้ ให้ มนสิการว่าเป็ นนํ ้า ฉะนัน)

~ 261 ~
อันปวงพุทธบุตร เมื่อกระทากษมาปรติเทศนาแล้ว

บาปกรรมนับร้อยกัลป์ ล้วนปราศโดยฉับพลัน

ดุจเพลิงผลาญหญ้าแห้ง วินาศสิ้นมิหลงเหลือ

ดั่งหยาดอุทกอันไหลเย็น จักระงับความกระหาย

ประพรมอภิเษกปรยาย ยังให้สงบและบันเทิง

~ 262 ~
(ต่อไปนี ้ สวดนามพระตถาคตทัง้ ๗ และกระทํามุทรา)

ต่อมา กระทา พระสุ รูปตถาคต344 อมฤตทาน345มุทรา

(บ้ างก็ออกนามว่า “ศีตทานมุทรา”346 ยื่นหัตถ์ออกไปด้ านหน้ า ดีดพละ


และปรัชญาปารมิตา แลกล่าวอมฤตทานมนตร์ ดังนี ้)

๏ นะโม สุรุปายะ ตะถาคะตายะ ตัทยะถา โอมฺ สุรุ สุรุ ประสุรุ


ประสุรุ สวาหา ๚ะ๛347

344
妙色身如來 พระสุรูปตถาคต, พระสุรูปกายตถาคต
345
施甘露 อมฤตทาน การให้ อมฤตเป็ นทาน
346
施清凉印 ศีตทานมุทรา มุทราอันประทานความชุ่มชื ้นและร่มเย็น
347
那謨蘇嚕癹耶。答塔葛達耶。怛牒塔。唵。酥嚕酥嚕。鉢
囉(二合)酥嚕。鉢囉(二合)酥嚕。莎訶。 (บางแห่งแสดงว่า “นะโม สุรุปายะ
ตะถาคะตายะ ตัทยะถา โอมฺ สรุ สรุ ประสรุ ประสรุ สวาหา”)

~ 263 ~
(เมื่อสวดมนตร์ แลกระทํามุทรา พึงมนสิการว่า ที่หตั ถ์ซ้าย บนปรณิธาน
เกิดอัขระ วํ สีขาว มีนํ ้าอมฤต สีเงินยวง ไหลออกมา นี ้เกิดแต่ปรัชญา มือ
ขวาแตะขึ ้นมา แล้ วดีดออกไปในอากาศ มนสิการว่า ปวง เทวะ มนุษย์
เปรต ฯลฯ ต่างสัมผัสด้ วยนํ ้าอมฤตนัน้ ก็พลันมีรูปกาย ลักษณะสมบูรณ์
งดงาม เพลิงอันกล้ าทังหลาย
้ ล้ วนปลาสนาการไป ต่างพ้ นแล้ ว จากความ
หิวกระหาย เข้ าถึงความชุม่ ฉํ่าร่มเย็นโดยทัว่ กัน ทําลายแล้ วซึง่ จิตตาภิ
นิเวศายาวรณ์348)

348
心執障 จิตตาภินิเวศายาวรณ์ จิตตาภินิเวศายาวรณะ เครื่องกันอั
้ นเกิดจาก
ความยึดมัน่ แห่งจิตร

~ 264 ~
อันบาปกรรมทั้งหลาย ที่เกิดจากมัตสระ349เป็นต้น

349
慳貪 มัตสระ มัจฉริ ยะ คือ ความหวงแหนตระหนี่ มี ๕ ประการ ได้ แก่ ๑.
อาวาสมัจฉริยะ หวงที่อยู่อาศัย ๒. กุลมัจฉริยะ หวงสกุล คือ การหวงในสกุลผู้
อุปัฏฐาก หรือเป็ นผู้มีมานะ ถือในสกุลแห่งตน ไม่เกี่ยวขัองด้ วยสกุลอื่น ๓. ลาภ
มัจฉริยะ หวงในทรัพย์ ลาภสักการะ (ทานมัจฉริยะ) ฯลฯ ๔. วัณณมัจฉริยะ หวงใน

~ 265 ~
ที่เธอทั้งหลาย กระทามา เป็นอนันตกัลป์

อันบาปทั้งนั้น ได้ปิดศอ เอาไว้

จงเปิดออก ด้วยเดช แห่งมนตร์นี้

ต่อมา กระทา อุคฆาฏยาติกณั ฐ350มุทรา

๏ โอมฺ นะโม ภะคะวะเต วิปุละ-คาตรายะ ตะถาคะตายะ ๚ะ๛351

คําสรรเสริญ คําชม ในผิวพรรณ วรรณะ ฯลฯ ๕. ธัมมมัจฉริยะ หวงแหนในธรรม


ความรู้ ฯลฯ
350
開咽喉 อุคฆาฏยาติกณ
ั ฐ์ เปิ ดคอ (ปกติแล้ ว เปรตจะมีปากเท่ารูเข็ม หรื อ มี
คอปาก ที่ปิดเอาไว้ ทําให้ กินอะไรไม่ได้ )
351
唵。那謨癹葛咓諦。月補辣葛得囉(二合)耶。答塔葛達耶。

~ 266 ~
(เมื่อสวดมนตร์ แลกระทํามุทรา พึงมนสิการว่า บนหัตถ์ซ้ายมีนีลบุ ล352
บนบัวนัน้ มีอกั ขระ อาหฺ สีขาว และมีอทุ กไหลออกมา เย็นชื่นใจเป็ นที่ยิ่ง
แลใช้ มือขวาแตะนํ ้านัน้ แล้ วดีดออกไปในอากาศ มนสิการว่าเปรตทังนั
้ น้
ปากและศอเปิ ดออก เย็นฉํ่าชุ่มชื ้น ไร้ การติดขัด

352
青色蓮花 นีลบ
ุ ล บัวสีเขียว

~ 267 ~
ปุจฉา : ก่อนหน้ านี ้มนสิการ อักขระ หรี หฺ แล้ วใยกาลนี ้ กลับมามนสิการ
อักขระ อาหฺ เล่า ?

วิลชั นา : อันอักขระ อาหฺ นี ้ คือ พีชแห่งวจนะ353 จึงได้ อาศัย นัยแห่งตรี มลู


ตันตระ354 แล้ วใช้ ฉะนัน)

ดูกร พุทธบุตร บัดนี้ได้สาธยายมนตร์และกระทามุทรา เพื่อให้คอของเธอ


เปิดออก ไร้การติดขัด และพ้นจากทุกข์ทั้งปวง ดูกร พุทธบุตรทั้งหลาย
บัดนี้เราจักสรรเสริญ พระนามอันเป็นมงคล แห่งพระตถาคตเจ้า อันจัก
ยังให้เธอทั้งหลาย พ้นจากไตรอบายและอัษฏากษณะ มีปกติเป็นพุทธบุตร
แห่งพระตถาคตเจ้า อันพิสุทธิ์ ดังนี้

353
語種 พีชแห่งวจนะ เพราะเวลาออกเสียง คําว่า “อาหฺ” จะออกเสียงนี ้ จาก
ลําคอ จึงได้ ใช้ พีชอักขระนี ้ ในการเปิ ดลําคอเปรตทังหลาย

354
三本續, 三字總持真言 ตรี มลู ตันตระ คือ ๓ อักขระ อันเป็ นพื ้นฐานแห่ง
มนตร์ ทงหลาย
ั้ ได้ แก่ ๑. “โอมฺ” คือ ความพิสทุ ธิ์แห่งกาย ๒. “อา” (อาหฺ) ความ
พิสทุ ธิ์แห่งวาจา ๓. “หูมฺ” ความพิสทุ ธิ์แห่งจิตร

~ 268 ~
ขอถวายความนอบน้อมแด่ พระรัตนตรตถาคต355

355
寶勝如來 พระรัตนตรตถาคต (บางแห่งออกพระนามว่า “พระรัตนศิขิน
ตถาคต” หรือ “พระรัตนเกตุตถาคต”)

~ 269 ~
(สองหัตถ์ กระทําวัชราญชลิ ปารมิตาทัง้ ๖ ประสานกัน วีรยะและพละ ยื่น
มาชนกัน ธยานและปรัชญา ตังขึ
้ ้น สรรพชีวิตทังหลาย
้ กล่าวพระนามโดย
พร้ อมเพรี ยงกัน)

~ 270 ~
๏ นะโม รัตนะ ตรายะ ตะถาคะตายะ ๚ะ๛356

(สวดนามพระตถาคต และกระทํามุทรานี ้ ตนย่อมไม่หา่ งจาก พระอวโลกิเต


ศวร แล)

ดูกร ปวงพุทธบุตร มาตรสดับพระนามแห่งพระรัตนตรตถาคต ย่อมจัก


ยังให้ทุกข์จากเพลิงแห่งบาปกรรม แห่งเธอทั้งหลาย สิ้นไป

356
那謨囉怛納(二合)怛囉耶。答塔葛達耶。

~ 271 ~
ขอถวายความนอบน้อมแด่ พระวิคตตรณตถาคต357

(หัตถ์ขวา ไว้ ที่อกตังขึ


้ ้น กษานติและธยาน แตะกัน น้ อมฝ่ ามือลง หัตถ์ขวา
รับหัตถ์บน)

357
離怖畏如來 พระวิคตตรณตถาคต บางแห่งออกนามว่า “พระอภยชกร
(อภะยะชกะระ) ตถาคต”)

~ 272 ~
๏ นะโม วิคะตะ ตะระณายะ ตะถาคะตายะ ๚ะ๛358

ดูกร พุทธบุตร มาตรได้สดับพระนามแห่งพระวิคตตรณตถาคต ย่อมยังให้


เธอทั้งหลาย มีปกติสงบสุข พ้นจากความหวาดกลัว วิศุทธิ์และบันเทิง

358
那謨微葛怛得囉(二合)納耶。答塔葛達耶。

~ 273 ~
ขอถวายความนอบน้อมแด่ พระวิปุลคาตรตถาคต359

359
廣博身如來 พระวิปลุ คาตรตถาคต (บางแห่งแสดงว่า นี ้เป็ นอีกพระนามของ
พระไวโรจนตถาคต กล่าวคือ เป็ นพระองค์เดียวกัน)

~ 274 ~
(หัตถ์ซ้าย งอนิ ้วเข้ า พละและปรัชญา ดีดกันที่ไหล่ หัตถ์ขวา กระทําวัช
ราญชลิ วีรยะและธยาน ดีดกันทีอ่ ก)

๏ นะโม ภะคะวะเต วิปุละ-คาตรายะ ตะถาคะตายะ ๚ะ๛360

360
那謨癹葛咓諦。月補辣葛得囉(二合)耶。答塔達耶。

~ 275 ~
ดูกร ปวงพุทธบุตร มาตรสดับพระนามแห่งพระวิปุลคาตรตถาคต ย่อมจัก
ยังให้เธอทั้งหลาย ที่มีปากดังรูเข็ม มีเพลิงแห่งกรรมเผาผลาญนั้น ย่อมสงบ
ระงับ มีความร่มเย็นปลอดโปร่ง ที่ดื่มและบริโภค ล้วนแล้วคืออมฤตรส

~ 276 ~
ขอถวายความนอบน้อมแด่ พระสุ รูปตถาคต361

361
妙色身如來 พระสุรูปตถาคต (บางแห่งออกนามว่า “พระสุรูปกายตถาคต”
ทังยั
้ งกล่าวว่า นี ้เป็ นอีกพระนามของพระอักโษภยตถาคต กล่าวคือ เป็ นพระองค์
เดียวกัน)

~ 277 ~
(หัตถ์ขวา ตังตรงระดั
้ บอก วีรยะและธยานแตะกัน หัตถ์ซ้ายงอ และคลาย
ออก ฝ่ ามือน้ อมลง)

~ 278 ~
๏ นะโม สุรูปายะ ตะถาคะตายะ ๚ะ๛362

ดูกร ปวงพุทธบุตร มาตรสดับพระนามแห่งพระสุรูปตถาคต ย่อมจักยังให้


เธอทั้งหลาย ไม่ต้องอัปลักษณ์ มีอินทรีย์บริบูรณ์ วิเศษาลังการ เป็นเอกทั้ง
ในสวรรค์และมนุษยโลก

362
那謨蘇嚕八耶。答塔葛達耶。

~ 279 ~
ขอถวายความนอบน้อมแด่ พระพหุรัตนตถาคต363

363
多寶如來 พระพหุรัตนตถาคต (บางแห่งออกนามว่า “พระประภูตรัตน
ตถาคต”)

~ 280 ~
(สองหัตถ์หนั เข้ าหากัน คล้ ายประนมมือ มีสณ
ั ฐานคล้ ายดอกอุบล)

๏ นะโม พะหุ รัตนายะ ตะถาคะตายะ ๚ะ๛364

364
那謨波虎囉怛納(二合)耶。答塔葛達耶。

~ 281 ~
ดูกร ปวงพุทธบุตร มาตรสดับพระนามแห่งพระพหุรัตนตถาคต ย่อมจัก
ยังให้เธอทั้งหลาย ทรัพย์สินบริบูรณ์ สมดังมโนรถ มีเสพมิรู้สิ้น

(ในต้ นฉบับภาษาจีนเดิมนัน้ ไม่มีปรากฏพระนามและมุทรา แห่ง “พระ


อมฤตราชตถาคต”365 แต่ในบัดนี ้ มีปรากฏเป็ นที่แพร่หลาย จึงนํามาลง
366
ร่วมไว้ ดังนี ้)

365
มีผ้ สู นั นิษฐาน โดยอาศัย 「往生咒」สุขาวดีวยูหธารณี ว่า 「甘露王如
來」 “พระอมฤตราชตถาคต” นี ้ อาจจะเป็ นพระองค์เดียวกันกับ 「阿彌陀如來」
”พระอมิตาภตถาคต”
366
อันนามแห่งพระตถาคตทัง้ ๗ นี ้ (ยกเว้ น “พระอมฤตราชตถาคต”) ปรากฏมา
ใน 瑜伽集要救阿難陀羅尼焰口軌儀經 แปลสูภ่ าษาจีนในสมัยถัง โดย
พระอโมฆวัชระ (ค.ศ. ๗๐๕ – ๗๗๔)

~ 282 ~
ขอถวายความนอบน้อมแด่ พระอมฤตราชตถาคต367

367
甘露王如來 พระอมฤตราชตถาคต

~ 283 ~
๏ นะโม อมฤเต ราชายะ ตะถาคะตายะ ๚ะ๛368

ดูกร ปวงพุทธบุตร มาตรสดับพระนามแห่งพระอมฤตราชตถาคต ย่อมจัก


ยังให้เธอทั้งหลาย เย็นกายชื่นใจ มีปกติสงบและบันเทิง
368
那謨阿彌利諦。喝囉闍也。答塔葛達耶。

~ 284 ~
ขอถวายความนอบน้อมแด่ พระอมิตาภตถาคต369

369
阿彌陀如來 พระอมิตาภตถาคต

~ 285 ~
(หัตถ์ขวาทับซ้ าย ธยานและปรัชญา ชนกัน)

๏ นะโม อมิตาภายะ ตะถาคะตายะ ๚ะ๛370

370
那謨阿彌怛婆耶。答塔葛達耶。

~ 286 ~
ดูกร ปวงพุทธบุตร มาตรสดับพระนามแห่งพระอมิตาภตถาคต ย่อมจัก
ยังให้เธอทั้งหลาย ไปอุบัติ ณ. สุขาวดีโลกธาตุ เป็นปัทมสมภพ เข้าถึงอวิ
นิวรตนียภูมิ371

371
不退地 อวินิวรตนียภูมิ คือ การเข้ าถึงโพธิมรรคเป็ นมัน
่ คง จะไม่หวนสูไ่ ตร
อบาย ตลอดจน ไม่คืนสูศ่ ราวกยานและปรัตเยกยานอีกแล้ ว

~ 287 ~
ขอถวายความนอบน้อมแด่ พระโลกวีสตีรณเตเชศวรประภาตถาคต

~ 288 ~
(หัตถ์ขวา งอควํ่าลง กษานติและธยาน ดีดกัน หัตถ์ซ้าย หายขึ ้น ดัชนีทงห้
ั้ า
คลายออก แล้ วสวดมนตร์ นี ้)

๏ นะโม โลกะวีสตีรณะเตเชศวะระ-ประภายะ ตะถาคะตายะ ๚ะ๛372

372
那謨盧迦委斯諦。(二合)呤捺(二合)弟唧說囉。不囉(二合)
癹耶。答塔葛達耶。

~ 289 ~
ดูกร ปวงพุทธบุตร มาตรสดับพระนามแห่งพระโลกวีสตีรณเตเชศวรประภา
ตถาคต ย่อมจักยังให้เธอทั้งหลาย เข้าถึงอนุศังศะ (อานิสงส์) ทั้ง ๕
ประการ ได้แก่ ๑. เป็นเอกในโลกียะ ๒. เข้าถึงโพธิสัตวกาย มีอลังการอัน
วิเศษ ๓. มีเดชานุภาพอัประไมย เหนือกว่าเดียรถีย์ เทพ มาร ทั้งปวง ดุจ
สุริโยภาสที่ส่องโลกา ดังมหาสมุทราอันยิ่งใหญ่ เป็นมหากุศลอันยิ่ง ๔.
เข้าถึงความเป็นมเหศวร373 สมดังมโนรถ ดุจวิหคที่บินไปในอากาศ ไร้ซึ่ง
อุปสรรคใด ๕. เข้าถึงมหาทฤฒยปรัชญาประภาส374 กายและจิตรสุกสว่าง
ดุจแก้ววิฑูรย์

ดูกร ปวงพุทธบุตร อันพระตถาคตทั้ง ๗ นี้ อาศัยปรณิธานพละ โปรด


สรรพชีวิต ปราศจากกิเลสโดยสมุจเฉท พ้นจากไตรอบาย มีปกติเป็นสุข
กล่าวรฤกพระนามเพียงหนึ่งครั้ง จักยังให้สหสรสรรพชีวิต พ้นจากทุกข์
เข้าถึงอนุตตรมรรค (กล่าว ๓ ครัง้ )

373
大自在 มเหศวร อีศวระ อิศวร อิสระ ความเป็ นใหญ่อน
ั ยิ่ง พ้ นจากอาวรณะ
แห่งกาละ เทศะ ฯลฯ
374
大堅固智慧光明 มหาทฤฒยปรัชญาประภาส ปั ญญาอันเรื องรองและแข็ง
กล้ าเป็ นที่ยิ่ง

~ 290 ~
ต่อไป ขอให้เธอทั้งหลาย ถือพระรัตนตรัย ว่าเป็ นศรณะ

๏ พุทธ ศะระณ คัจฉามิ ธะรมม ศะระณ คัจฉามิ สังฆ ศะระณ คัจฉามิ ๚ะ๛

เข้าถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นศรณะแล้ว ย่อมพ้นจากนรกภูมิ โดยสมุจเฉท

เข้าถึงพระธรรมเจ้า ว่าเป็นศรณะแล้ว ย่อมพ้นจากเปรตภูมิ โดยสมุจเฉท

เข้าถึงพระสังฆเจ้า ว่าเป็นศรณะแล้ว ย่อมพ้นจากติรัจฉานภูมิ โดยสมุจเฉท

ดูกร ปวงพุทธบุตร การเข้าถึง พุทธศรณะ ธรรมศรณะ สังฆศรณะ การ


เข้าถึงพระรัตนตรัย ว่าเป็นศรณะดังนี้ ย่อมมีธรรมสมตา375คอยบริรักษ์
พ้นจากมิถยาทรรศนะ ดังนี้แล้ว จึงควรประสันนาภิวาท376

ต่อมา กระทา พระรัตนตรัย มุทรา

375
法堅 ธรรมสมตา
376
至心禮 ประสันนาภิวาท การกราบไหว้ ด้ วยจิตรเลื่อมใสอันยิ่ง

~ 291 ~
(หัตถ์ซ้าย กระทํามุษฏิลกั ษณะ วีรยะยื่นขึ ้น ที่ระดับอก หัตถ์ขวา งอพละ
ปารมิตา จิตรมนสิการ มนตร์ ดงั นี ้)

๏ โอมฺ ภูหฺ ข ๚ะ๛377

377
唵婆(重呼)龕。

~ 292 ~
นะโมพุทธายะ นะโมธรรมมายะ นะโมสังฆายะ บัดนี้ ข้า ฯ ขอ
ตั้งปรณิธาน ไม่ปรารถนาใน มนุษยสมบัติและสวรรคสมบัติ ไม่ปรารถนา
ใน ศราวกและปรัตเยกะ ตลอดจน ไม่ปรารถนาใน สมมุติยาน378

อันพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย พึงถือเอาอุตตรยาน ตั้งปรณิธานโพธิจิตร ขอให้


ปวงสรรพชีวิต ต่างร่วมกันเข้าถึงอนุตตรอภิสัมโพธิ ในกาลบัดนี้

บัดนี้ ข้า ฯ ตั้ง พุทธิจิตร

ห่างไกล จากปวง สภาวะลักษณ์

ขันธ์ และอายตนะ ทั้งหลาย

สิ่ง ที่สามารถ ยึดถือเอา

สรรพธรรม ทั้งหลาย ล้วนอนาตมัน


378
權乘 สมมุติยาน คือ ยานหรื อคําสอน อันเสมือน หมายเอา คําสอนใด ๆ ใน
บวรพุทธศาสนา ที่ยงั ไม่เข้ าถึงสัตยเอกพุทธยาน ล้ วนคือ สมมุติยาน แม้ แต่พระ
โพธิสตั ว์ ที่ยงั ไม่เป็ นที่พระมหาสัตว์ ก็ถือว่าเป็ นสมมุติยาน ตราบเมื่อเข้ าถึงทศภูมิ
โพธิสตั ว์ ถึงพร้ อมด้ วย มหาอินทรีย์, มหาปรัชญา ฯลฯ จึงจะถือว่า พ้ นจากสมมุติ
ยาน

~ 293 ~
สมตา ดุจ อากาศธาตุ

จิตรเดิม แต่ไร ไม่เคยเกิด

ศูนยสวภาวะ บริบูรณ์ ศานติ

ดุจพระตถาคต โพธิสัตว์ ทั้งหลาย

ตั้ง ปรณิธาน มหาโพธิจิตร

บัดนี้ ข้า ฯ ก็ตั้งปรณิธาน เฉกกัน

จึงได้ กระทา ประสันนาภิวาท

ต่อมา ขอให้เธอทั้งหลาย ตั้งปรณิธานโพธิจิตร ตั้งใจสดับ ดังนี้

แม้นว่ามีกงจักรเพลิง เผาผลาญที่ยอดเกศแห่งเธอ

ก็ไม่พึงเพราะทุกข์นี้ ละทิ้งโพธิจิตร

ต่อไป กระทา ตั้งโพธิจิตรมุทรา

~ 294 ~
(สองมือประนม เว้ นตรงกลางไว้ สัณฐานดุจดอกบัว วางไว้ บนหฤทัย)

๏ โอมฺ โพธิจิตต อุต-ปาทะยามิ ๚ะ๛379

379
唵補提即答沒怛巴達野彌。

~ 295 ~
(เมื่อสวดมนตร์ แลกระทํามุทรา พึงมนสิการว่า จิตร พระตถาคต และสรรพ
ชีวิต ทัง้ ๓ ประการนี ้ ล้ วนไม่ตา่ งกัน เพียงชัว่ ลัดนิ ้วมือ ก็หลอมรวมลงเป็ น
มหาจันทรจักร อันโอฬาร ดุจพระจันทร์ วนั เพ็ญ ในฤดูศารท อันไร้ เมฆ
ฉะนัน้ เย็น กระจ่าง สะอาด สดใส เป็ นหนึง่ เดียวกันกับอากาศธาตุ
ท่ามกลางจันทรจักรนัน้ เกิดอักษร อาหฺ สีทอง (เบาบาง) ดุจปลายขนสัตว์
เหมือนมี เหมือนไม่มี ก็ในขณะนัน้ ไม่ควรเพิ่มความรู้ 380 เบื ้องบนนัน้ ไม่มี
พุทธะให้ ตรัสรู้ เบื ้องล่างนัน้ ไม่มสี รรพชีวิตให้ ต้องโปรด ท่ามกลางนัน้ ไร้
ธรรมที่ต้องบําเพ็ญ กิเลส โพธิ เกิด ตาย นิรวาณ ต่างพิสทุ ธิ์สิ ้น ทังนี
้ ้สําคัญ
มาก ต้ องมนสิการให้ ดี อย่างได้ ยดึ ว่ามี เทพ เปรต ฯลฯ381 แล้ วกระทําการ
อุปการะ อันผู้บําเพ็ญโยคะ พึงแจ้ งดังฉะนี ้ จากนัน้ ประธานกล่าวนํา ทุกคน
กล่าวตาม ๓ ครัง้ ดังนี ้)

380
不得加於了知 ไม่ควรเพิ่มความรู้ คือ ไม่พงึ มีความรู้อน
ั เกิดจากแบ่งแยก
และวิปรยาย อันเกิดจากความยึดมัน่ ว่า มีตวั ตน
381
การยึดว่ามี สัตว์ บุคคล ตัวตน ฯลฯ แล้ วกระทํากิจใด ๆ ย่อมไม่ใช่พทุ ธศาสนา
มหายาน และยิ่งหากยึดว่า มีตวั ตน แล้ วกระทําพิธีโยคเปรตพลีนี ้ การณ์ทงนัั ้ น้ ย่อม
ไม่ใช่ปารมิตา และจักสูญเปล่าด้ วย

~ 296 ~
บัดนี้ให้เธอทั้งหลาย ตั้งปรณิธานโพธิจิตร อันปวงพุทธบุตรทั้งหลาย พึง
แจ้งว่า โพธิจิตรนั้น เกิดจากมหากรุณาจิตร เป็นเหตุแห่งการตรัสรู้อันชอบ
แล้ว มูลชญาน สามารถทาลาย อวิทยา กิเลส และบาปกรรม ทั้งหลาย ไม่
มีอะไรแปดเปื้อน หรือทาลายได้ บัดนี้ เธอทั้งหลาย พึงสมาทานสมยศีล382

382
三昧耶戒 สมยศีล คือ ศีลที่อาศัยโพธิจิตร ๓ ประการ เป็ นพื ้นฐาน ใน 《大
乘起信論》 “มหายานศรัทโธตปาทศาสตร์ ” ที่ประพันธ์ โดย 馬鳴菩薩 พระอัศว
โฆษ ได้ แสดงไว้ ได้ แก่ ๑. 直心 เอกจิตร คือ จิตรอันซื่อตรงเป็ นหนึ่งเดียว พ้ นจาก
ศาฐยะ สามารถที่จะบําเพ็ญพระสัทธรรม ๒. 深心 คัมภีรจิตร คือ การเลื่อมใสใน
ความคัมภีรภาพแห่งพระสัทธรรม จึงยินดีที่จะบําเพ็ญ โดยมิเบื่อหน่าย ๓. 大悲心
มหากรุณาจิตร คือ ความสงสารในสรรพชีวิต ที่ต้องทนทุกข์ จึงมีปกติสขุ ยินดีที่จะ

~ 297 ~
เธอรับพุทธศีลแล้ว ก็เท่ากับเข้าสู่พุทธฐานะ

ดุจมหาตรัสรู้แล้ว คือปวงพุทธที่แท้จริง

บําเพ็ญธรรม; ใน 《廣釋菩提心論》 “ภาวนากรรม” โดย 蓮花戒 พระกมล


ศีล (ค.ศ. ๗๔๐ – ๗๙๕) ได้ อธิบายถึงโพธิจิตร ๓ ประการไว้ ดังนี ้ ๑. 行願菩提
心 ประณิธิโพธิจิตร (จรยปรณิธานโพธิจิตร) คือ คือ การบําเพ็ญธรรมนานาประการ
เพื่อการตรัสรู้ และโปรดสรรพชีวิต ตามปรณิธานที่ได้ ตงไว้ ั ้ อันจิตรนี ้ มีแต่ในพระ
โพธิสตั ว์มหาบุรุษ ไม่มีในเดียรถีย์ พระสาวก และพระปั จเจกพุทธเจ้ า ๒. 勝義菩
提心 ปรมารถโพธิจิตร พระโพธิสตั ว์แจ้ งว่า สรรพธรรมไร้ ซงึ่ สวภาวะ อันการ
ปรารถนาในพระโพธิญาณนัน้ มีการสละ 世間之妄心 โลกียมิถยาจิตร คือ จิตรที่
สําคัญผิดในโลกียะ (เช่น เห็นว่าเที่ยงแท้ , เห็นว่าเป็ นสุข, เห็นว่ามีตวั ตน ฯลฯ) เป็ น
ประถม มีการสละ 唯蘊無我心 ศราวกสกันธปติอนาตมันจิตร คือ จิตรที่สําคัญ
(ตามนัยแห่งเถรวาท) ว่า สรรพธรรมทังหลาย ้ ไม่มีตวั ตน เกิดจากการที่ ปั จจัย ขันธ์
ฯลฯ ประชุมกัน ยังให้ เกิดขึ ้น เป็ นมัธยม ทังมี ้ การสละ 遣他緣大乘心, 不從他
緣大乘心 อปรปรัตยยมหายานจิตร คือ จิตรที่สําคัญว่า สรรพธรรมทังหลาย ้ เกิด
แต่ปัจจัยอื่นมาประชุมกัน เป็ นปริโยสาน (อนาตมัน ตามนัยแห่งเถรวาทกับมหายาน
นันต่
้ างกัน เถรวาทถือว่า ไร้ ตวั ตน เพราะเกิดจากปั จจัยที่มาประชุมกัน แต่มหายาน
แสดงไว้ วา่ ไร้ ทงตั ั ้ วตน ไร้ ทงปั
ั ้ จจัย มหากรุณาและโพธิจิตรที่แท้ ไม่มีปัจจัยยังให้
เกิดขึ ้น สิ่งนี ้คือ 真空 สัตยศูนยตา คือ ศูนยตาที่แท้ ส่วนสุญตาของเถรวาท เกิดแต่
เหตุปัจจัย ด้ วยยังมีเหตุปัจจัย จึงไม่ใช่ความว่างที่แท้ จริง)

~ 298 ~
ต่อมา กระทา สมยมุทรา

(กระทําวัชระพันธะ ปารมิตาทัง้ ๖ ประสานกัน กษานติปรณิธาน ยื่น


ออกมา แล้ วกล่าวมนตร์ ดังนี ้)

๏ โอมฺ สะมะยะ สัตตวะ ว ๚ะ๛383

383
唵(引)。三摩耶。薩埵錽。

~ 299 ~
(เมื่อสวดมนตร์ แลกระทํามุทรา พึงมนสิการว่า ตรงกลางมุทรา เกิดเป็ น
อักขระ วํ สีขาว ทอแสงสกาว ส่องไปยังสรรพชีวติ ทังหลาย
้ แลเมือ่ ได้ รับ
แสงแล้ ว สรรพชีวิตทังนั
้ น้ ต่างบริบรู ณ์ ถึงพร้ อมด้ วยศีลปารมิตาแห่งพระ
ตถาคตเจ้ าทังหลาย
้ ทัว่ ทังในไตรยอวธวะ
้ อันกุศลทัว่ ทังธรรมธาตุ
้ พึง
มนสิการดังแสงสว่าง อภิเษกสรรพชีวิตทังนั
้ น้ แลสรรพชีวิตทังนั
้ น้ ต่างมี
กายดุจพระสมันตภัทร ประทับบนมหาจันทรจักร สืบทอดพุทธกิจ เป็ นที่
พุทธทายาท)

~ 300 ~
บัดนี้ได้ถ่ายทอดสมยศีลแก่เธอแล้ว สืบแต่นี้ไป เธอทั้งหลาย เข้าสู่สถานแห่ง
พระตถาคต เป็นที่พุทธบุตรโดยแท้ เป็นธรรมสมภพ เข้าถึงพุทธธรรม
ภาค384

384
得佛法分 “เข้ าถึงพุทธธรรมภาค” คือ การได้ รับส่วนแห่งพระสัทธรรม ซึง่ ก็คือ
การประจักษ์ ในพระสัทธรรม ที่พระตถาคตทรงตรัสรู้ เป็ นที่พทุ ธบุตร เป็ นธรรม
ทายาท ดังที่ใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร แสดงไว้ วา่ 「今日乃知真是佛子,從

~ 301 ~
สรรพชีวิตทั้งในปรโลกและอิธโลก บัดนี้เราให้อมฤตเป็นทาน

ธรรมาภิเษกไปทั้งทศทิศ ยังให้เธอทั้งหลายล้วนอิ่มเปรม

ต่อมา กระทา พระโลกวีสตีรณเตเชศวรประภาตถาคต มุทรา

(หัตถ์ขวา น้ อมลง ศีลและธยาน ดีดกัน หัตถ์ซ้าย หงายขึ ้น เบญจดรรชนี


คลายออก แล้ วกล่าวมนตร์ ดังนี ้)

佛口生,從法化生,得佛法分。」 “วารนี ้แจ้ งพุทธบุตรที่แท้ เกิดแต่พท


ุ ธ
โอษฐ์ เป็ นธรรมสมภพ เข้ าถึงพุทธธรรมภาค” (ในพระไตรปิ ฏกเถรวาท พระ
สุตตันตปิ ฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค อัคคัญญสูตร ได้ แสดงไว้ วา่ “ดูกร วาเสฏฐะและ
ภารทวาชะ ก็ผ้ ใู ดแล มีศรัทธาตังมั้ น่ เกิดขึ ้นแล้ วแต่รากแก้ ว คืออริยมรรค
ประดิษฐานมัน่ คง อันสมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือผู้ใดผู้หนึ่งในโลก ไม่
พรากไปได้ ควรเรียกผู้นนว่
ั ้ า เป็ นบุตรเกิดแต่พระอุระ เกิดแต่พระโอฐ ของพระผู้มี
พระภาค เป็ นผู้เกิดแต่พระธรรม เป็ นผู้ที่พระธรรมเนรมิตขึ ้น เป็ นผู้รับมรดกพระธรรม
ข้ อนันเพราะเหตุ
้ ไร เพราะคําว่า ธรรมกาย ก็ดี ว่าพรหมกาย ก็ดี ว่าธรรมภูต ก็ดี ว่า
พรหมภูต ก็ดี เป็ นชื่อของตถาคต ฯ”)

~ 302 ~
๏ โอมฺ สะรวะ ตะถาคะตะ อวะโลกิเต ว ภาระ ภาระ สภาระ ส
ภาระ หูมฺ ๚ะ๛385

385
唵。薩哩斡(二合)。答塔葛達。阿咓盧揭諦錽。婆囉婆
囉。三婆囉。三婆囉。吽。 (บางแห่งออกว่า “โอมฺ สะรวะ ตะถาคะตะ
อวะโลกิเต สํภาระ สํภาระ หูมฺ”)

~ 303 ~
(เมื่อประธานสวดมนตร์ แลกระทํามุทรา ผู้ชว่ ยพึงถวายถ้ วยหรื อชามทีม่ ีนํ ้า
ประธานใช้ มือขวากระทําอภัยมุทรา แล้ วดีดนํ ้าออกไป เพื่อขับมารในมือ
ซ้ าย สวด “หูมฺ หูมฺ ผัฏ” (๓ จบ)

ปุจฉา : ในมือซ้ าย มีมารใดหนอ ?

วิสชั นา : คือปวงหนอน386 ฉะนัน้

จากนัน้ เปลีย่ นเป็ นความว่าง สวด “โอมฺ ข” (๓ จบ)

ปุจฉา : เปลีย่ นมือให้ วา่ ง เพราะเหตุใดหนอ ?

วิสชั นา : เพราะหัตถ์มีแดงขาวอันไม่บริ สทุ ธิ์387 จึงได้ แปรเป็ นความว่าง


เพื่อสําเร็ จเป็ นกุศลอันพิเศษ เพื่ออลังการหัตถ์ ฉะนัน้

386
ในมหาปรัชญาปารมิตาสูตร อวินิวรตนียวรรค แสดงไว้ วา่ 「常人身中恒
為八萬戶蟲之所侵食」 “ปกติกาย (เช่น ร่างกายของมุษย์) มีหนอนจํานวน ๘
หมื่น กัดกินอยู”่ (บทว่า “๘ หมื่น” ในที่นี ้ เป็ นคําอุปมา แปลว่า มีมากมาย นับไม่ถ้วน
ไม่ใช่วา่ มีจํานวนนับได้ ๘ หมื่น, บทว่า “หนอน” อาจหมายถึง พยาธิ, จุลชีวะ ฯลฯ
ไม่ได้ หมายความว่า เป็ นหนอนเสมอไป)
387
ในพุทธตันตระ ร่างกายของมนุษย์ ไม่บริสทุ ธิ์ เพราะเหตุ ๒ สถาน ได้ แก่ ๑.
อาโป (ขาว) คือ อสุจิ จากพ่อ ๒. เตโช (แดง) คือ โลหิต จากแม่ ทัง้ ๒ ประการนี ้
เรียกว่า 明點 “พินธุ” และแม้ วา่ พินธุจะไม่สะอาด แต่เป็ นรากฐานที่สําคัญของชีวิต
เป็ นตัวแทนของชีพจร และจักรทัง้ ๗ ในร่างกาย นอกจากนี ้ คําว่า พินธุ ยังหมายถึง

~ 304 ~
ปุจฉา : ก่อนหน้ านี ้ มนสิการว่า ตนคือพระโพธิสตั ว์ แล้ วใยกาลนี ้ มา
มนสิการความว่าง เพื่อขับมาร ?

วิสชั นา : ในสัทธรรมปุณฑรี กสูตร ได้ แสดงไว้ วา่ “พระตถาคตมีนยั


อัประมาณ เข้ าสูศ่ มาธิ สําแดงประภาส เปิ ดรัตนสถูป แล้ วเข้ าศมาธิสาํ แดง
ประภาส (ซํ ้าอีก)” ไม่เป็ นการซํ ้าซากดอกฤๅ เพราะมี เหตุ ๑ จึงต้ องมี ธรรม
๑ ดุจธรรมเนียมทางโลก การเข้ าสูศ่ าลบรรพชน มีการถือศีล ชําระร่างกาย
เป็ นต้ น แลเมื่อจะเข้ าไปนัน้ ก็ต้องล้ างมืออีก นี ้คือการแสดงถึงความเคารพ
อันการแปรเปลีย่ นเป็ น ความว่างแลขับมารดังนี ้ คือการแสดง ที่สดุ แห่ง
เมตตากรุณาแล

จากนัน้ ชัว่ พริ บตาเดียว มนสิการว่าหัตถ์นี ้ คือหัตถ์อนั วิเศษ ที่ฝ่ามือ เกิด


เป็ นอักขระ ปํ สีแดง แล้ วแปลเปลีย่ นเป็ นดอกบัวแดง บนนันมนสิ
้ การว่ามี
อักขระ วํ สีขาว ที่พินธุ มีอกั ษร วํ นับไม่ถ้วน พรั่งพรูออกมา อาหารและ
เครื่ องดื่ม นํ ้าในเบื ้องหน้ า มีมากเท่ากับขนาดของแคว้ นมคธ ประดับด้ วย

บริเวณ อุนาโลม อีกด้ วย; พินธุ มีทงสิ


ั ้ ้น ๔ ประการ ได้ แก่ ๑. อาโปพินธุ สีขาว อยู่
ที่สหสรารจักร (กระหม่อม) เป็ นที่กําเนิดของอสุจิอนั บริสทุ ธิ์ในเพศชาย ๒. เตโชพินธุ
สีแดง อยู่ที่มลู าธารจักร (จักรเพศ) เป็ นที่กําเนิดของโลหิตอันบริสทุ ธิ์ในหญิง ๓.
วาโยพินธุ ได้ แก่ ลม ๔. ธารณีพินธุ ได้ แก่ ธารณีมนตร์ ทงหลาย
ั้ อันวาโยและ
ธารณีพินธุ จัดอยู่ใน มหาและอนุโยคะ ส่วนอาโปและเตโชพินธุ จัดอยู่ในขันสู ้ งสุด
คือ อติโยคะ (อนุตตรโยคะ) เปลี่ยนความไม่สะอาด ให้ กลายเป็ นความบริ สทุ ธิ์ ตรัสรู้
อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ

~ 305 ~
สัปตรัตนะ เต็มไปทังวิ
้ เศษโภชนะทังหลาย
้ แลมนสิการว่าพีชอักขระ เกิด
เป็ นอาหารและเครื่ องดื่ม อันประมาณมิได้ เต็มไปทังธรรมธาตุ
้ แล้ วสวด
“โอมฺ อา หรีหฺ หูมฺ” (๑๐๘ หรือ ๔๙ จบ) แล้ วสวดแปรโภชนมนตร์ ทุกครัง้
ที่สวด ให้ มนสิการว่า ที่พินธุ เกิดเป็ นอาหารและเครื่ องดืม่ หลัง่ ไหลออกมา
แผ่ไปทังธรรมธาตุ

จากนันผู
้ ้ ชว่ ยกล่าวดังนี ้)

~ 306 ~
ที่กล่าวว่า “พุทธบุตร” ก็หมายถึงเธอทั้งหลาย เมื่อกระทามุทราแลสาธยาย
ธารณีแล้ว เปลี่ยนโภชนะเป็นอัประไมย ใหญ่ดุจสิเนรุราช มีประมาณดุจ
ธรรมธาตุ ไร้ซึ่งที่สิ้นสุด

ด้วยพลังแห่งมนตร์นี้ เปลีย่ นโภชนะเป็นเกษียรสมุทร

ให้ทานแก่ปวงเปรตโดยถ้วนทั่ว อิ่มกายบริบูรณ์ใจ

กระทามุทรา ก่อนหน้านี้ และสวดกษีรสาคร388มนตร์

(มือขวา น้ อมลง ศีลและธยาน ดีดกัน มือซ้ าย คลายออก หงายขึ ้น แล้ วว่า


มนตร์ ดังนี ้)

๏ นะมะหฺ สะมันตะ พุทธาน ว ๚ะ๛389

388
乳海 กษี รสาคร เกษี ยรสมุทร ขีรสาคร ทะเลนํ ้านม
389
那麻三鬘哆。勃塔喃。錽。 (บางแห่งแสดงว่า “นะมะหฺ สะมันตะ
พุทธานํ วาร”)

~ 307 ~
(เมื่อสวดมนตร์ แลกระทํามุทรา พึงมนสิการว่า ที่พินธุ มีอกั ขระ วํ สีขาว
ทอแสงสกาว มีนํ ้าอมฤตไหลริ นออกมา เอาหัตถ์ขวาแตะ แล้ วดีดออกไปใน
อากาศ แล้ วโปรยปรายลงมา ดุขโบกขรพรรษ ตกลงไปที่ใด ก็เกิดเป็ นขีร
สาคร

ปุจฉา : เพราะเหตุใดฤๅ อุทกเพียงน้ อย จึงสามารถแผ่ไปได้ ทังธรรมธาตุ


้ ?

~ 308 ~
วิสชั นา : เพราะเป็ นอจินตยะแล เพราะได้ พลังจากการมนสิการพีชอักขระ
และยังมีพลังธยานแห่งพระตถาคตเจ้ าทังหลาย
้ แล้ วจะไม่เปลีย่ นเป็ น
จํานวนมากได้ เช่นไร ดุจการสาดนํ ้าโสม แล้ วใช้ มนตร์ แปรให้ เป็ นสาย
ฝน390 ยังกระทําได้ แล้ วจักกล่าวไปใย กับแรงอันอจินตยะนี ้ จึงไม่อาจไม่
สํารวมจิตรให้ ดี ฉะนัน้

ปุจฉา : แล้ วเหตุใดฤๅ จึงให้ ทานนํ ้าแทนโภชนาหาร

วิสชั นา : เพราะเปรตทังหลาย
้ มีเพลิงแห่งบาปเผากาย จึงได้ ให้ นํ ้าเป็ น
ทาน ก็เพื่อระงับเพลิงนัน้ พระพุทธองค์ทรงตรัสว่า อันเปรตทังนี
้ ้ ร้ อยพัน
หมื่นกัลป์ แม้ นามแห่งอุทก ก็มิอาจได้ ยิน จักกล่าวไปใย กับการบริ โภค ทัง้
ยังแสดงว่า อันเปรตทังนี
้ ้ แม้ อยู่ข้างคงคามหาธาร ก็มีอาจมองเห็นนํ ้า แล
ถึงแม้ จะมองเห็น ก็เป็ นหนองเป็ นเลือด เมื่อดืม่ เข้ าไปท้ องนัน้ ก็กลายเป็ น
เพลิงพวยพุง่ มาเผาผลาญ ได้ รับทุกขเวทนาแสนสาหัส น่าสงสารเป็ นที่ยิ่ง
ด้ วยเหตุดงั ฉะนี ้ จึงได้ ให้ นํ ้าเป็ นทาน เมื่อแจ้ งดังนี ้แล้ ว ดังที่บทได้ แสดงว่า
“สุรูปะ” คือการให้ ทานโภชนะ จําเดิมนัน้ คือการให้ อทุ กทานฉะนัน้ บัดนี ้ชน
ทังหลายพากั
้ นไม่แจ้ ง ให้ ทานโภชนะ แต่ละเว้ นซึง่ อุทก บ้ างก็จดั โภชนะ
โดยมีบทว่า “(ข้ าว) ๗ เมล็ด แผ่กําจรไปทศทิศ” แต่ไม่มีนํ ้า จึงไม่พงึ สงสัยดัง
ฉะนี ้

390
คือ การใช้ เวทมนตร์ ในทางโลก ใช้ สรุ าสาดไปในอากาศ เพื่อเรียกฝน

~ 309 ~
ต่อไปผู้ช่วยกล่าวว่า)

ดูกรพุทธบุตร บัดนี้ได้กระทามุทรา และสาธยายมนตร์ แด่เธอแล้ว ด้วยเดช


อธิษฐาน แห่งมุทราและมนตร์นี้ ยังให้มีอมฤตไหลออกจากมุทรา สาเร็จ
เป็นเกษียรสมุทร ไปทั่วทั้งธรรมธาตุ โปรดเธอและปวงสรรพชีวิตทั้งหลาย
ให้เข้าถึงความอิ่มพร้อมบริบูรณ์

ปวงอาวรณทานเปรต391 เพลิงผลาญมิอาจบริโภค

บัดนี้สาธยายรหัสยมนตร์ ธรรมโภชนะล้วนบริบูรณ์

ต่อมา สวด อาวรณทานเปรตมนตร์

๏ โอมฺ อา หูมฺ จะระเมต สะรวะ ประเต ภยะหฺ สวาหา ๚ะ๛392


391
障施鬼 อาวรณเปรต เป็ นเปรตจําพวกหนึ่ง ซึง่ แรงแห่งบาปกรรม จักขัดขวาง
ไม่ให้ รับทานได้ การสาธยาย 障施鬼真言 อาวรณทานเปรตมนตร์ นี ้ จึงจัก
สามารถทําลายอุปสรรคในการรับทานได้

~ 310 ~
(เมื่อสวดมนตร์ แลกระทํามุทรา พึงมนสิการว่า หัตถ์ขวาน้ อมลง ที่ด้าน
ในพินธุ มีอกั ษร วํ มีนํ ้าอมฤตออกมา ไหลไปทางมือซ้ าย แล้ วสวด “โอมฺ
อา หรีหฺ หูมฺ” (๑๐๘, ๗๗, ๓๗ จบ) ผู้ช่วยกระทําการอภิวาทประธาน แล้ ว
นําคนโทนํ ้า ออกไปนอกมณฑลพิธี ประกาศว่า “วารีอันพิสุทธิ์ โปรยปราย
ลงมา” ประธานเมื่อประกาศนัน้ มนสิการว่า อาวรณทานเปรตต่างพากัน

392
唵啞吽。拶辢彌擔。薩哩斡 (二合)不哩(二合)的毗牙(二合)莎訶。

~ 311 ~
คุกเข่า ประธานมนสิการว่า ตนคือพระอวโลกิเตศวร ประธานอมฤตต่อ
เปรตที่อยูใ่ นเบื ้องหน้ า อมฤตรดลง ต้ องกายเปรตทังนั
้ น้ ตังแต่
้ กระหม่อมลง
มา เพลิงทังสิ
้ ้นก็ปราศไป เกิดเป็ นความสะอาดฉํ่าเย็น แล้ วสวดอาวรณทาน
เปรตมนตร์ ๓ จบ แต่ละจบ ดีดนิ ้วหนึง่ ครัง้ )

ดูกร พุทธบุตรทั้งหลาย แม้ว่าฝูงชนมีจาแนก สรรพชีวิตจักต่างกัน แต่ทาน


แห่งเรานี้ ไร้ซึ่งอุปสรรคใด ไม่แบ่งแยกสูงต่า เสมอภาคโดยถ้วนทั่ว ไม่
เลือกที่รัก ไม่มักที่ชัง บัดนี้อย่าได้ ให้ความสาคัญแก่สูงศักดิ์ แล้วดูถูกต้อย
ต่า ให้ความสาคัญแก่เข้มแข็ง แล้วรังแกชนที่อ่อนแอ ฤๅยังให้ผู้เยาวอนาถา
ไม่ได้รับโภชนะ เกิดความอยุติธรรม ด้วยพระพุทธกรุณา โปรดสรรพชีวิต
ต้องเมตตาต่อกันและกัน ดุจบิดรมารดา มนสิการถึงบุตร ฉะนั้น

ดูกร บุตรแห่งพระชินเจ้า เธอทั้งนั้น ต่างมีบิดามารดร พี่น้องชายและหญิง


ภริยาบุตรและบริวาร กัลยาณมิตรและปวงญาติ มาตรว่ามีเหตุใด ยังให้
มา (ที่มณฑลพิธีน)ี้ ไม่ได้ ดูกร ปวงพุทธบุตรทั้งหลาย พึงมีจิตรรฤก
เมตตากรุณา อันโภชนะทั้งหลายนี้ ส่งต่อทานกันไป ให้พร้อมเพรียง
บริบูรณ์ อย่าได้ขาดตก ยังให้เกิดมรรคจิตร พ้นจากไตรอบายโดยสมุจเฉท

~ 312 ~
ข้ามพ้นจตุโรฆะ393 พึงสละกายนี้ เข้าสู่มรรคผล ทั้งยังได้แบ่งพิสุทธิ์
โภชนะแด่เธอ เป็นไตรภาค คือ ๑. ให้ทานแด่อัมพุชาติ394 ยังให้เข้าถึงศ
ราวกานาตมัน395 ๒. ให้ทานแด่โลมชาติ396 ยังให้เข้าถึงธรรม
ศานติ397 ๓. ให้ทานแด่พรหมลูกฟัก398 ยังให้บริบูรณ์ เข้าถึงอนุตปัตติก
ธรรมกษานติ399

393
四流 จตุโรฆะ คือ โอฆะ ทัง้ ๔ ได้ แก่ ห้ วงนํ ้าที่เวียนเกิดตาย ทัง้ ๔ ได้ แก่ กาม,
ภวะ (ภพ), ทรรศนะ (ทิฐิ), อวิทยา (อวิชชา)
394
水族 อัมพุชาติ สัตว์นํ ้า
395
人空 ศราวกานาตมัน คือ อนาตมัน (อนัตตา) ของสาวกยาน
396
毛羣 โลมชาติ สัตว์ที่มีขน
397
法寂 ธรรมศานติ คือ ความสงบแห่งธรรม อันได้ แก่นิรวาณ
398
稟識陶形 พรหมลูกฟั ก ไดแก่ อสัญชญิกสัตว์ หรื อ อวฤหสัตว์ (อสัญญสัตต
พรหม) คือ ชนที่บําเพ็ญศมถะ พอถึงเบญจมธยาน เกิดจิตรเบื่อหน่ายในนาม จึง
บําเพ็ญสัญชญาวิราคภาวนา เมื่อถึงกาลกิริยา จึงไปบังเกิดเป็ นพรหม ที่มีแต่รูป แต่
ไม่มีนาม มีอายุขยั ได้ ๕๐๐ กัลป์
399
無生法忍 อนุตปั ตติกธรรมกษานติ คือ กษานติ (ขันติ) บารมีในพระโพธิสตั ว์
เป็ นความอดทน ที่พ้นจากรูปลักษณ์ทงปวง ั ้ ชนที่เข้ าถึงได้ ต้ องเป็ นพระโพธิสตั ว์ภมู ิที่
๗ คือ ทูรังคมาภูมิ ขึ ้นไป เข้ าถึง อวิวรตยะ คือ การไม่วิวตั (นิวตั ) คือ ไม่ถอยกลับ
ออกจากโพธิญาณ เป็ นที่นิยตโพธิสตั ว์

~ 313 ~
ธารณี อธิษฐาน พิศุทธิธรรมโภชนะ

ให้ทานแก่เปรตและเทพ ดุจเมล็ดทรายในคงคาธาร อย่างถ้วนทั่ว

ขอทั้งหลาย จงอิ่มพี พ้นจากมัตสรจิตร

พ้นจากปรโลก สู่วิสุทธิธาตุ โดยพลัน

ต่อมา กระทา สมันตปูชามุทรา

(สองหัตถ์ประนม กษานติและปรณิธานงอข้ อที่สองลง แล้ วว่าดังนี ้)

๏ โอมฺ คะคะนะ สภะวะ วัชระ โหหฺ ๚ะ๛400

400
唵。葛葛納。三婆斡。斡資囉(二合)。斛

~ 314 ~
(เมื่อสวดมนตร์ แลกระทํามุทรา พึงมนสิการว่า นิ ้วกลางทีง่ อนัน้ มีอกั ขระ
โอมฺ สีขาว และที่พินธุมีอกั ษร โอมฺ ไหลออกมา กระทําการบูชา มิขาดสาย
พร้ อมด้ วยความอลังการ เป็ นสมตาปูชา401 แล้ วสวดสมันตบูชา โดย
พร้ อมเพรี ยงกัน (๕, ๗ จบ)

401
平等供養 สมตาปูชา คือ การบูชาโดยเสมอภาค โดยถ้ วนทัว่ กัน

~ 315 ~
ปุจฉา : ในบทต้ นมีการบูชาพระรัตนตรัย และให้ โภชนะทานเรี ยบร้ อยแล้ ว
แล้ วใยหนอ จึงกลับมา กระทําการบูชาอีกเล่า ?

วิสชั นา : ในบทต้ น คือการจําแนกพระอารยะและปุถชุ น จึงได้ บชู า (อารยะ)


พระรัตนตรัยก่อน แล้ วตามด้ วย ให้ ทาน (ปุถชุ น) เปรต ฯลฯ ทว่าบัดนี ้คือ
สมตาบูชา คือ พระอารยะและปุถชุ น ต่างร่วมกัน จึงได้ แสดงว่า “สมันต
บูชา” ฉะนัน้

กรมทานกล่าวรับนํ ้าและโภชนะ จากนัน้ ประธานพึงกระทําเบญจบูชาและ


ปวงรัตนะ สวด “สะมะระ ฯลฯ”402 จากนัน้ ผู้ชว่ ยกล่าวว่า “ต่อไปจัก
สาธยายวาทยธรรมแด่เธอ” ทุกคนสวดพร้ อมกัน ดังนี ้)

402
คือ รัตนมนตร์ ในหน้ า 127 – 128

~ 316 ~
ดูกรปวงพุทธบุตร อันโภชนะที่บริโภคแต่ไรมา คือการค้าขายชีวิต ค้าขาย
สุรา โลหิต และมังสะ กลิ่นคาวคละคลุ้ง แม้นได้รับโภชนะดังนี้อีก อุปมา
ดังยาพิษ ทาร้ายร่างกาย โทษทุกข์ทับทวี จมอยู่ทุกขสาคร บัดนี้เรา อาศัย
อนุศาสนีแห่งพระตถาคต ด้วยประสันนจิตร กระทาอัประมาณวิปุลยมหา
ธรรมสังคีติ เธอทั้งหลาย ได้ประสบสถานะอันร่มเย็นนี้ องค์แห่งศีลประดับ
กาย ก็เพราะในอดีตกาล ได้ยังพุทธกิจให้ไพบูลย์ ชักชวนญาติมิตร บูชา
พระรัตนตรัย ปัจจัยทั้งนี้ ควรแล้วที่เธอ จักตั้งปรณิธาน ปรารถนาพระ
~ 317 ~
โพธิญาณ ไม่พึงหวังไนผลอื่น403 ผู้เข้าถึงมรรคก่อน พึงโปรดที่เหลือ
ต่อไป ทั้งยังขอให้เธอทั้งหลาย มีปกติบริรักษ์เรา ทั้งทิวาและราตรี ยังปวง
ปรารถนาแห่งเรา ให้สมดังมโนรถ แลกุศลในการให้โภชนทานในกาลนี้
ขอแผ่อุทิศให้กับสรรพสัตว์ ทั้งธรรมธาตุ ขอให้สรรพชีวิตทั้งหลาย ต่าง
ได้รับบุญร่วมกัน แลน้อมบุญทั้งสิ้นนี้ เพื่อสรวชญาชญาน อนุตตรสัมยัก
อภิสัมโพธิ อย่าได้ในผลอื่น ขอให้ตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณโดยเร็ว

403
ผลอื่น ได้ แก่ มนุษยสมบัติ, สวรรคสมบัติ, สาวกผล, ปั จเจกผล

~ 318 ~
~ 319 ~
ทุกคนสวด อุษณี ษวิชยธารณี 404โดยพร้อมกัน

๏ นะโม ภะคะวะเต ไตรโลกยะ ประติวิศิษฏายะ พุทธายะ ภะคะวะ


เต ตัทยะถา โอมฺ วิศุทธะยะ วิศุทธะยะ อสะมะ-สะมะ สะมันตาวะ
ภาสะ-สะผะระณะ คติ คะหะนะ สวะภาวะ วิศุทเธ อภิษิญจะตุ มาม
สุคะตะ วะระ วะจะนะ อมฤตะ อภิเษไก มะหา มันตรา-ปะไท อา
หะระ อาหะระ อายุหฺ ส-ธารณี โศธะยะ โศธะยะ คะคะนะ วิศุทเธ
อุษณีษะ วิชะยะ วิศุทเธ สะหะสระ-รัศมี ส-โจทิเต สะรวะ ตะถาคะ
ตะ อวะโลกะนิ ษัฑ-ปารมิตา-ปะริปูราณิ สะรวะ ตะถาคะตะ มะติ
ทะศะ-ภูมิ ประติ-ษฐิเต สะรวะ ตะถาคะตะ หฤทะยะ
อธิษฐานาธิษฐิตะ มะหา-มุทเร วัชระ กายะ ส-หะตะนะ วิศุทเธ สะ
รวาวะระณะ อปายะ-ทุรคติ ปะริ-วิศุทเธ ประติ-นิวะรตะยะ อา
ยุหฺ-ศุทเธ สะมะยะ อธิษฐิเต มะณิ มะณิ มะหา มะณิ ตะถะตา ภู
ตะ-โกฏิ ปะริศุทเธ วิศผุฏะ พุทธิ ศุทเธ ชะยะ ชะยะ วิชะยะ วิชะยะ
สะมะระ สะมะระ สะรวะ พุทธะ อธิษฐิตะ ศุทเธ วัชริ วัชระคะรเภ
วัชรัม ภาวะตุ มะมะ ศะรีร สะรวะ สัตตวานัม จะ กายะ ปะริ วิศุท
เธ สะรวะ คะติ ปะริศุทเธ สะรวะ ตะถาคะตะ สิญจะ เม สะมาศวา
404
尊勝呪, 佛頂尊勝陀羅尼 อุษณีษวิชยธารณี, สรวทุรคติปริ โศธนอุษณีษวิ
ชยธารณี

~ 320 ~
สะยันตุ สะรวะ ตะถาคะตะ สะมาศวาสะ อธิษฐิเต พุทธยะ พุทธยะ
วิพุทธยะ วิพุทธยะ โพธะยะ โพธะยะ วิโพธะยะ วิโพธะยะ สะมัน
ตะ ปะริศุทเธ สะรวะ ตะถาคะตะ หฤทะยะ อธิษฐานาธิษฐิตะ มะ
หา-มุทเร สวาหา ๚ะ๛405

405
南無薄伽伐帝。咥哩盧枳也。鉢喇底毗失瑟吒(引)也。
勃陀(引)也。薄伽伐帝。怛姪他。 唵。毗輸駄(唐左反)也。颯
麼三曼多。阿婆婆(引)娑。颯癹囉拏揭底[口*((尸-口+(占-口
+田))@巳)]喝娜。瑣婆(引)婆毗戌(商聿反下同)睇。阿毗詵者覩
漫(引)。蘇揭多䟦囉跋者 那。阿蜜栗多鞞師計。痾(引)(下同)
喝囉。痾喝囉。痾愈珊陀(引)喇你。輸駄也輸駄也。伽 伽
那毗戌睇。烏瑟膩沙。毗逝也戌睇(引)。索訶薩囉曷赖溼弭
珊珠地帝。薩婆(上)怛他揭 多。阿地瑟佗(引)娜。阿地瑟恥
䫂(丁可反下同)。沒姪囇。䟦折囉(引)迦也。僧喝旦娜戌 睇。
薩婆痾伐喇拏毗戌睇。鉢喇底你䟦戴也。阿愈戌睇。三麼
耶阿地瑟恥帝。末你末你麼末你。呾闥多步多孤㨖。鉢唎
戌睇。鼻窣怖吒勃地戌睇。逝也逝也。鼻逝也鼻逝 也。三
末囉三末囉。薩婆勃陀。阿地瑟恥多戌睇。䟦折囇跋折囉
(引)揭鞞(引)跋折藍婆跋 覩麼麼阿目羯寫。薩婆薩埵難(引)者

迦也毗戌睇。薩婆揭底鉢唎戌睇。薩婆怛他揭哆。 三摩戌
和娑阿地瑟恥帝。勃陀勃陀(停也反)菩駄也菩駄也。三曼䫂
鉢唎戌睇。薩婆怛他揭 䫂。阿地瑟侘(引)娜阿地瑟恥帝。
莎訶。

~ 321 ~
(สวด “สุขาวตีวยูหธารณี”406 (๑ จบ) เพื่อความบริ บรู ณ์ แห่งอธิษฐาน ๒
สถาน ได้ แก่ ๑. ความบริ บรู ณ์แห่งธารณี ๒. ความบริ บรู ณ์แห่งกุศลมูล
ผู้ช่วยชูข้าวและดอกไม้ แสดงแก่ทกุ คน จากนัน้ จากนัน้ ประธานสวด
อุษณีษธารณีพร้ อมกัน มนสิการว่าข้ าวแลดอกไม้ ทอแสงประภาส จากนัน้
ผู้ช่วยโปรยข้ าวและดอกไม้ ออกไปจํานวนหนึง่ ประธานมนสิการว่าเปรต
ทังนั
้ น้ สัมผัสดอกไม้ ด้ วยรัศมี ยังให้ อบุ ตั ิสขุ าวดีพิศทุ ธิเกษตร ชันเอกกํ
้ าเนิด
เอก ผู้ช่วยกระทําประทานนํ ้า ประธานและทุกคน สวดษัฑอักษรวิทยา
ธารณี407 (๑๐๘ จบ) แล้ วท่องวาทยธรรม ๖ บท ดังนี ้)

(ในที่นี ้ไม่ได้ แสดง “สุขาวตีวยูหธารณี” ไว้ จึงได้ นาํ มาลงไว้ ดังนี ้)

406
徃生呪, 拔一切業障根本得生淨土陀羅尼 สุขาวตีวยูหธารณี
407
六字大明呪 ษัฑอักษรวิทยาธารณี 唵嘛呢叭咪吽 ༀམཎིཔདྨེཧཱུྃ། “๏ โอมฺ
มะณิ ปั ทเม หูมฺ ๚ะ๛”

~ 322 ~
~ 323 ~
สุ ขาวตีวยูหธารณี 408

๏ นะโม อมิตาภายะ ตะถาคะตายะ ตัทยะถา อมฤโตทภะเว อมฤ


ตะ-สิทธภะเว อมฤตะ-วิกรานเต อมฤตะ-วิกรานตะ คามิเน คะคะ
นะ กีรตะ-กะเร สวาหา ๚ะ๛409

ด้วยอนุศังศะนี้ สัตว์ที่เสวยทุกข์ ในนรกภูมิ ภูเขาดาบ ต้นไม้กระบี่


กลายเป็นต้นกัลปพฤกษ์ จักรเพลิง ลูกไฟ กลายเป็นปัทมแก้ว มงคลโดยแท้
พ้นจากนิรยะ จักสามารถตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ

ด้วยอนุศังศะนี้ สัตว์ที่เสวยทุกข์ ในเปรตภูมิ เปลวไฟที่เผา ในปากและ


ลาตัว กลับสะอาดเย็น อมฤตภายในหัตถ์พระอวโลกิเตศวร ยังให้บริบูรณ์

408
“สุขาวตีวยูหธารณี” นี ้ มาแต่ “สุขาวตีวยูหสูตร” ฉบับที่แปลโดยพระคุณภัทร
(ค.ศ. ๓๙๔ – ๔๖๘) ปั จจุบนั ได้ หายสาบสูญไปแล้ ว คงเหลือไว้ แต่ตวั ธารณี และ
อนุศงั ศะ (ในตอนท้ ายแห่งพระสูตร) ดังที่ปรากฏเป็ นที่แพร่หลายในปั จบุ นั
409
南無阿彌多婆夜哆(多曷切) 。他伽哆(都餓切) 。夜哆地(途賣切) 。
夜他阿彌利(上聲) 。都婆毘。阿彌利哆。悉眈婆毘。阿彌利哆。
毘迦蘭諦。阿彌利哆。毘迦蘭哆。伽彌膩。伽伽那。枳多迦隸。
莎婆訶。

~ 324 ~
โดยพลัน มงคลโดยแท้ พ้นจากเปรต จักสามารถตรัสรู้อนุตตรสัมมา
สัมโพธิญาณ

ด้วยอนุศังศะนี้ สัตว์ที่เสวยทุกข์ ในเดรัจฉานภูมิ ย่อมพ้นจากทุกข์ ที่ถูกฆ่า


ทาร้าย เพลิงพลาญ โดนยาพิษ ห่างไกลจากอวิทยา เข้าถึงมหาปรัชญา
โดยพลัน มงคลโดยแท้ พ้นจากเดรัจฉาน จักสามารถตรัสรู้อนุตตรสัมมา
สัมโพธิญาณ

ด้วยอนุศังศะนี้ สัตว์ที่เสวยทุกข์ ในมนุษยภูมิ เมื่อยามจะเกิด ดั่งออกจาก


พระกัจฉะแห่งพระนางมายา ขอให้มีอินทรีย์บริบูรณ์ พ้นจากอัษฏากษณะ
บาเพ็ญปรัชญา มงคลโดยแท้ พ้นจากมนุษยภูมิ จักสามารถตรัสรู้อนุตตร
สัมมาสัมโพธิญาณ

ด้วยอนุศังศะนี้ สัตว์ที่เสวยทุกข์ ในอสุรภูมิ ขจัดมานะ กักขฬะ ให้เกิดความ


นอบน้อม ระงับอกุศลจิตร ริษยา โกรธะ ไฝ่สงคราม มงคลโดยแท้ พ้น
จากอสุรภูมิ จักสามารถตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ

~ 325 ~
ด้วยอนุศังศะนี้ สัตว์ที่เสวยสุข ในเทวภูมิ จงละกาม ปรารถนาในโพธิจิตร
อันไพบูลย์ เมื่อสิ้นบุญจากสวรรค์ ย่อมเกิดความยินดี มงคลโดยแท้ พ้น
จากเทวภูมิ จักสามารถตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ

ด้วยอนุศังศะนี้ ศราวกะและปรัตเยกะ ทั้งทศทิศ จงละทิ้งศราวก จัตวาริ


อารยสัตยานิ410 ปรตีตยสมุตปาท411 เข้าไปบาเพ็ญมหายาน จตุหสังครห
วัสตุ412 ษัฑปารมิตา ประพฤติธรรมนานาประการ มงคลโดยแท้ พ้นจาก
ทวิยาน จักสามารถตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ

410
四諦 จัตวาริ อารยสัตยานิ คือ อริ ยสัจ ๔ ได้ แก่ ทุกข์ สมุทยั นิโรธ มรรค
411
十二因緣行 ปรตีตยสมุตปาท ปฏิจจสมุปบาท คือ ปั จจยาการ ๑๒ ได้ แก่
อวิชชา สัญญา สังขาร วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน
ภพ ชาติ ชรามรณะ ความโศก ความครํ่าครวญ ทุกข์ โทมนัส และ ความคับแค้ นใจ
412
四攝 จตุหสังครหวัสตุ คือ สังคหวัตถุ ๔ ได้ แก่ ทาน ปิ ยวาจา อัตถจริ ยา
สมานัตตา

~ 326 ~
ด้วยอนุศังศะนี้ ขอประถมโพธิสัตว์ จงบริบูรณ์ด้วยศตปุญญาลังการ
ทะยานข้ามไปสู่ทศภูมิ จรมภวิกโพธิสัตว์ 413 มงคลโดยแท้ มหายาน จัก
สามารถตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ

ปรณิ ธานปรี นามคาถา

ปัจจุบัน และอนาคต เมื่อยังไม่ตรัสรู้

ขอให้อาวรณะ ทั้งนอกใน อกุศลปัจจัยทั้งหลาย อย่าได้มี

มีปกติ ได้พานพบ กัลยาณมิตรอันวิเศษ อยู่เป็นนิจ

ขอธรรมทั้งหลาย ที่บาเพ็ญ จงสาเร็จโดยเร็วพลัน

อุตตรรัตนตรัย

เมื่อยามถึงกาลกิริยา ขอวิชญา อย่าได้ไหลหลง

413
補處位 จรมภวิกโพธิสตั ว์ หรื อ เอกชาติปรติพท
ุ ธะ คือ พระโพธิสตั ว์ ที่จะเกิด
อีกเพียงชาติเดียว ก็จะตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมพุทธเจ้ า

~ 327 ~
ขอให้ไปอุบัติ ณ. สุขาวดี พุทธเกษตร เบื้องหน้าพระตถาคต
414
อาศัยทินปรัชญาธรรมประภาส สุตมยปัญญา จินตามยปัญญา ภาวนามยปัญญา

ประหารกเลศ415 เข้าถึงอนุกัมปาจิตร416ที่แท้ 417 ต่อสรรพชีวิต

อุตตรรัตนตรัย

มาตรว่า ก่อนที่จะได้ไปอุบัติ ณ. สุขาวตีพุทธเกษตร

แล้วไม่มี กุศลมูล ได้ไปอุบัติ ณ. พระชินสังคีติ

ต้องไปเกิดตามสถาน ตามกรรมที่สร้างไว้

414
聞思修 สุตมยปั ญญา จินตามยปั ญญา ภาวนามยปั ญญา
415
惑 กเลศ กิเลส
416
愍念 อนุกม
ั ปาจิตร อนุกมั ปายจิตร กรุณาจิตร จิตรอันสงสาร จิตรอัน
อนุเคราะห์
417
การจะเกิดจิตร ที่สงสารสรรพชีวิต ที่แท้ จริง ได้ นนั ้ ต้ องทําลายกิเลส แจ้ งใน
ปรัชญาปารมิตา คือ ประจักษ์ ในสวภาวะที่แท้ คือภูตตถตา จึงสามารถเกิดอนุกมั
ปายจิตรที่แท้ จริงได้ ความสงสารทางโลกทังหลาย
้ เช่น เจ็บป่ วย, ยากจน, หิว
กระหาย ฯลฯ ไม่ใช่ความเมตตากรุณาที่แท้ จริง เป็ นเพียงความหลงไปแห่งอวิทยา

~ 328 ~
ขอให้มีปกติ อบรมบาเพ็ญกุศลมูล ไม่ขาดตอน

อุตตรรัตนตรัย

ขอบังเกิดในมัชฌิมประเทศ บาเพ็ญพระสัทธรรม ด้วยสามารถ

ไร้โรคาพาธ อายุวัฒนา อุปโภชนะบริบูรณ์

มีลักษณะงดงาม ปฏิภาณ ปรัชญา ฯลฯ

ถึงพร้อมด้วย สัปปุริสธรรม เป็นที่สัตบุรุษ

อุตตรรัตนตรัย

ออกบวชแต่อายุน้อย ได้พบอารยปุคคลาจารย์ แต่กาลต้น

ได้รับถ่ายทอด และบาเพ็ญ ตรีศึกษา418

มีสัมยักสมฤติ419ต่อพระสัทธรรม ในทุกเวลา

418
三種修學 ตรี ศกึ ษา ไตรสิกขา ได้ แก่ ศีล ศมาธิ และ ปรัชญา

~ 329 ~
อุปัฏฐาก พระวัชราจารย์ ด้วยจิตรอันยินดี

อุตตรรัตนตรัย

พระกัลยาณมิตร ผู้ถึงพร้อมด้วย อริยทรัพย์ทั้งเจ็ด420

ดุจดวงตะวัน ที่คู่กับแสงสว่าง ในทุกขณะ

ทั้งปราศใน มานะ วิจิกิจฉา แลถึงพร้อมด้วยปรัชญา

ขอให้พ้นจากอกุศลปัจจัย ที่เปรียบเสมือน ดังหนอนพิษ

อุตตรรัตนตรัย

มูลแห่งกุศล คือ พระอุตตรรัตนตรัย


419
正念 สัมยักสมฤติ สัมมาสติ คือ การระลึกชอบ เป็ น ๑ ใน ๘ ของ อัษฏารย
มารค (อริยมรรค มีองค์ ๘)
420
七種勝財 อริ ยทรัพย์ทงั ้ ๗ ได้ แก่ ศรัทธา ศีล หิริ (ความละอายต่อบาป),
โอตตัปปะ (ความเกรงกลัวต่อบาป) พาหุสจั จะ (เรียนรู้มามาก) จาคะ (ความ
เสียสละ) และ ปั ญญา

~ 330 ~
ขอมีปกติ ถือเป็นศรณะและบูชา อยู่เป็นนิจ

โลภะ โทสะ และโมหะ

จงสงบ ดุจมหาปฐพี อย่าได้กาเริบขึ้นมา

อุตตรรัตนตรัย

มนสิการ สฬายตนธรรม มีรูป เป็นต้น

แจ้งประจักษ์ว่า ดุจพยับแดด

สวภาวะแต่ไร ไม่เคยแปดเปื้อน ด้วยกามคุณ

ขอให้ข้า ฯ ไม่คลาย จากโพธิจติ ร

อุตตรรัตนตรัย

สรรพธรรม อันคัมภีรภาพ แห่งมหายาน

ดุจจุดเพลิง ผลาญเศียร วีรยะบาเพ็ญเพียร

~ 331 ~
เมื่อกาลที่ ตรัสรู้ อนุตตรสัมมาอภิสัมโพธินั้น

อาศัย จตุหสังครหวัสตุ สามารถโปรดสรรพชีวิต

อุตตรรัตนตรัย

พระมหากรุณาวโลกิเตศวร ผู้โปรดปัญจกสายะ421

ในปัศจิมกัลป์ เผยแผ่ปรณิธาณ พระกษิติครรภราช

421
五濁 ปั ญจกสายะ หมายเอาโลกนี ้ และสัตว์ในโลกนี;้ 濁 กสายะ คือ ความไม่
สะอาด มี ๕ ประการ ได้ แก่ ๑. 劫濁 กัลปกสายะ คือ กัลป์อันเป็ นมลทิน ได้ แก่
ช่วงเวลาที่ยากจะศึกษาและประพฤติธรรม ได้ แก่ ยามที่มนุษย์ มีอายุขยั เหลือ ๓๐ ปี
จะเกิดทุพภิกขภัย เมื่อมนุษย์มีอายุขยั เหลือ ๒๐ ปี จะเกิดโรคระบาด และเมื่อมนุษย์
มีอายุขยั เหลือแค่ ๑๐ ปี เป็ นมิคสัญญี เมื่อพบกันก็สําคัญว่าชนอื่น เป็ นดัง่ เนื ้อทราย
เข้ าเข่นฆ่า ประหารกันและกัน ๒. 見濁 ทฤษฏีกสายะ คือ ทรรศนะอันเป็ นมลทิน
ได้ แก่ ยามที่พระศาสนาสิ ้นแล้ ว มิถยาทรรศนะเป็ นที่แพร่หลาย ชนทังปวงมี

ความเห็นผิด มีปกติก่อกรรมทําชัว่ ๓. 煩惱濁 กเลศกสายะ คือ กิเลสอันเป็ นมลทิน
ได้ แก่ อวิทยา กามราคะ มัตสระ ฯลฯ ยังให้ ไม่สามารถประพฤติธรรม ๔. 眾生濁
สัตตวกสายะ คือ สัตว์อนั เป็ นมลทิน ก่อกรรมชัว่ ทุรลักษณ์อกตัญํู ไม่เกรงกลัว
บาป ไม่รักษาศีล และไม่ประพฤติธรรม ๕. 命濁 อายุกสายะ คือ อายุอนั เป็ นมลทิน
เมื่อมนุษย์ตา่ งก่อกรรม กระทําบาป อายุขยั ก็มีแต่จะสันลง
้ คนที่มีอายุยืน (แล้ ว
แข็งแรง) มีแต่จะยิ่งน้ อยลง เป็ นอุปสรรคในการประพฤติธรรม

~ 332 ~
ปวงอารยาธิกธรรมปาลเทพ

เป็นประจักษ์ อารักษ์ธรรม อันชัชวาล

อุตตรรัตนตรัย

รักษ์ประเทศ รักษ์พระศาสนา ปวงธรรมบาล

เดชานุภาพ อัประมาณ ทั่วเขตขันฑ์

มารร้าย เดียรถีย์ พินาศพลัน

นาค เปรต ดารา422 ยาพิษนั้น ต่างคร้ามกลัว

อุตตรรัตนตรัย

ขอให้ไตรวิบัติ423เบญจกสายะ424 จงปราศไปโดยเร็ว

422
ดารา คือ ภัยจากการโคจรของดวงดาว อันยังให้ ชนทังหลายเป็
้ นทุกข์ ตามคติ
แห่งโหราศาสตร์

~ 333 ~
สัปตภัย425 อัษฏันตราย จงพินาศไป ภายในชั่วขณะจิตร

พืชพรรณ ธัญญาหาร จงอุดมสมบูรณ์

สัปตรัตน์ เบญจรส426 ล้วนบริบูรณ์

อุตตรรัตนตรัย

จตุรปูชากิจ427อุปโภค มิได้ขาดตก

423
三災 สํวะรตันยะหฺ คือ ความวิบตั ิ ๓ ประการ ทังนี
้ ้มี ๒ นัย คือ ๑. หมายเอา
กัลป์กสายะ (ดูเชิงอรรรถข้ อ 421) ได้ แก่ ทุรภิกษะ (ทุพภิกขภัย), โรคะ (โรคระบาด),
ศาสตรฆาตะ (การฆ่าฟั นทําร้ ายกัน) ส่วนนัยที่ ๒. หมายเอา ภัยเมื่อสิ ้นกัลป์ ซึง่ เกิด
จาก ไฟ, นํ ้า, ลม
424
五濁 เบญจกสายะ, ปั ญจกสายะ ดูเชิงอรรรถข้ อ 421
425
七難 สัปตภัย คือ ภัยทัง้ ๗ ประการ ได้ แก่ ๑. อัคนิภยั (ภัยจากไฟ) ๒. วารี ภยั
(ภัยจากนํ ้า) ๓. อสุรภัย (ภัยจากอสุรกาย) ๔. ศาสตรภัย (ภัยจากอาวุธ) ๕. เปรตภัย
(ภัยจากเปรตผี) ๖. พันธภัย (ภัยจากการพันธนาการ ถูกมัด จองจํา กักขัง) ๗. เวรภัย
(ภัยจากการตามจองเวรของเจ้ าเวร)
426
五味 เบญจรส มีนยั ๒ ประการ คือ ๑. หมายเอาผลิตภัณฑ์ ที่ได้ จากนํ ้านมโค
ทัง้ ๕ (ดูเชิงอรรถข้ อ 254) ๒. หมายเอารสชาติทงั ้ ๕ ได้ แก่ เปรีย้ ว, ขม, หวาน, เผ็ด,
เค็ม

~ 334 ~
บุญเกษตรทั้งแปด428งดงาม ยังให้เกิดเกษมศานต์

พุทธิกิจ ทั่วเขตคาม ประกาศพระสัทธรรม

เพิ่มบุญปรัชญา แก่สรรพชีวิต ให้บริบูรณ์

อุตตรรัตนตรัย

ข้า ฯ ทั้งหลาย ด้วยเดชแห่งกุศลมูล ปัจยยการธรรมสภาวะ

ด้วยแรงสงเคราะห์จาก พระวัชราจารย์ สัตยเทวตา429 ฑากิณี430

427
四事供養 จตุรปูชากิจ คือ การบูชาด้ วยปั จจัยทัง้ ๔ ประการ ได้ แก่ โภชนะ
(อาหาร), จีวร (เครื่องนุ่งห่ม), อาสนะ (เครื่องนัง่ นอน, ที่อยู่อาศัย), ไภษัชยะ (ยา
รักษาโรค) ในพระบาลีเภรวาท ได้ แสดงไว้ วา่ จิปิเสคิ ดังนี ้ ๑. จิ (จิวร จีวร เครื่องนุ่ม
ห่ม) ๒. ปิ (ปิ ณฑปาต บิณฑบาต อาหาร) ๓. เส (เสนาสนะ เครื่องนัง่ นอน, ที่อยู่
อาศัย) ๔. คิ (คิลานเภสัช ยารักษาโรค)
428
八福田 บุญเกษตร หรื อ นาบุญทัง้ ๘ ประการ ปรากฏมาในพรหมชาลสูตร
(มหายาน) แต่มีการอธิบาย ที่ตา่ งกันไป ใน อธิบายศีลของนิกายเทียนไถ ได้ แสดงถึง
บุญเกษตรทัง้ ๘ ไว้ ดังนี ้ ๑. พระพุทธเจ้ า ๒. พระอารยบุคล ๓. พระอุปาธยายะ
(อุปัชฌายะ คือ พระผู้บวชให้ ถือเป็ นบิดามารดา คือเป็ นผู้ให้ กําเนิด ในทางธรรม)
๔. พระอาจารยะ (คือ อาจารย์อื่น ที่ถ่ายทอดพระธรรมให้ โดยที่ไม่ใช่พระอุปาธยา
ยะ) ๕. พระภิกษุโดยทัว่ ไป ๖. บิดร ๗. มารดา ๘. อาพาธชน

~ 335 ~
เดชะ พระรัตนตรัย 431 สัตยปรมารถธารณี นี้

ปรณิธาณที่ตั้งไว้ ขอให้ประสิทธิ โดยเร็วพลัน

อุตตรรัตนตรัย

ขอปัตติทาน กุศล แด่ชนทั้งหลาย

จงได้รับ ปวงกุศล โดยถ้วนทั่ว

อันมายา ทั้งหลาย ดุจสุบิน

ตรีกาย ศูนยตะ432 พิสุทธิ์สิ้น

429
本尊 สัตยเทวตา, อิษตเทวตา สัจเทวดา คือ เทพธรรมบาลในพุทธศาสนา
โดยมากคือ นิรมาณกายของ พระพุทธเจ้ าและพระโพธิสตั ว์
430
空行, 空行母, 荼吉尼, 明妃 ฑากิณี วิทยเทวี (เป็ นชายาของพระวิทย
ราช) มีจํานวนมากมาย จัดอยู่ในเทวภูมิ โดยมากคือ นิรมาณกายของ พระพุทธเจ้ า
และพระโพธิสตั ว์
431
พระวัชรจารย์, สัตยเทวตา, ฑากิณี ทัง้ ๓ นี ้ คือ 內三寶 “พระรัตนตรัย
ภายใน” ในพุทธศาสนาวัชรยาน

~ 336 ~
อุตตรรัตนตรัย

มงคลคาถา

ขอความสวัสดี จงมีใน ทุกทิวาและราตรี

ษัฑฤตุ433ล้วนแต่ มีความสวัสดี

432
三輪體空 ตรี กายศูนยตะ คือ กายทัง้ ๓ ล้ วนว่างเปล่า ได้ แก่ ๑. ไม่มีผ้ ใู ห้
ทาน ๒. ไม่มีผ้ รู ับทาน ๓. ไม่มีวตั ถุทาน (แม้ ในกุศลและอกุศลอื่น ก็มีนยั เฉก
เดียวกัน) ด้ วยสรรพธรรมทังหลาย้ เป็ นอนาตมัน สิ่งทังหลายล้
้ วนไม่มี, ไม่เคยมี และ
จะไม่มี แต่ด้วย สรรพชีวิตมีวิปรยาย สําคัญผิดว่ามี สัตว์, บุคคล, วัสตุ, ตัวตน ฯลฯ
จึงกระทํากรรม ต้ องเวียนเกิดตาย ยึดว่ามีตวั ตนแล้ วทําดี ก็ไปเสวยสุขในสุคติภมู ิ ยึด
ว่ามีตวั ตนแล้ วทําบาป ก็ไปเสวยทุกข์ในทุรคติภมู ิ แท้ จริงแล้ ว ไม่มีทงบุ
ั ้ ญและบาป
ไม่มีสขุ และทุกข์ ไม่มีสคุ ติและทุรคติ ไม่มีพทุ ธะและมาร ไม่มีกเสศและนิรวาณ แจ้ ง
ในอนาตมันแล้ วกระทําทาน นัน่ คือ ทานปารมิตา ย่อมเข้ าสูวิโมกษ์ แต่ถ้ายึดตัวตน
แล้ วกระทําทาน นัน่ คือโลกียกุศล ซึง่ ต้ องมีความเกิดตายเป็ นวิบาก อันพระโพธิสตั ว์
ทังหลาย
้ พึงอาศัยปรัชญาปารมิตา แจ้ งในอรรถดังฉะนี ้ ย้ อมพ้ นแล้ วจากอนัยทังปวง ้
433
六時 ษัฑฤตุ ได้ แก่ ฤดู หรื อ อุตุ ทัง้ ๖ คือ ใน ๑ วัน (๒๔ ชัว่ โมง) ออกเป็ น ๖
ฤดู หรือ ๖ ยาม ยามละ ๔ ชัว่ โมง กลางวันและกลางคืน อย่างละ ๓ ยาม โดย

~ 337 ~
แลสิ่งทั้งหลาย ล้วนเข้าถึง ความสวัสดี

ขอพระรัตนตรัย โปรดเมตตา สงเคราะห์

ขอความสวัสดี จงมีใน ทุกทิวาและราตรี

ษัฑฤตุ ล้วนแต่ มีความสวัสดี

แลสิ่งทั้งหลาย ล้วนเข้าถึง ความสวัสดี

ขอพระวัชราจารย์ โปรดเมตตา สงเคราะห์

ขอความสวัสดี จงมีใน ทุกทิวาและราตรี

ษัฑฤตุ ล้วนแต่ มีความสวัสดี

แลสิ่งทั้งหลาย ล้วนเข้าถึง ความสวัสดี

ขอเทพธรรมบาล มีปกติ บริรักษ์

แบ่งเป็ น ๑. ประถมยาม (ยามเบื ้องต้ น), ๒. มาธยมยาม (คือยามท่ามกลาง) และ ๓


ปั ศจิมยาม (ยามที่สดุ )

~ 338 ~
พระอวโลกิเตศวร วิเศษ หาใดปาน

บาเพ็ญชั่วกัลป์กาล เข้าถึงอลังการ อันวิสุทธิ์

ปัทมะ สีแดง อยู่เบื้องบาท

จันทระ ฤดูศารท อยู่ที่พระขนง

มีปกติ ประพรมน้าอมฤต ในคนโท

กมลมาลย์ ในพระหัตถ์ ไร้โรยรา

สหสรสถาน ขอพร ล้วนสมหวัง

เป็นธรรมนาวา ท่ามกลาง โอฆะสงสาร

มีปกติ เข้าธยาน อยู่ที่โปตลกะ434

ตามปัจจยะ โปรดสัตว์ โดนถ้วนทั่ว

434
แท้ จริงแล้ ว “โปตลกธรรมสถาน” ไม่ได้ อยู่ที่ไหน หากแต่อยู่ในใจ ของสรรพชีวิต
ทังหลาย

~ 339 ~
เสาะเสียง แสวงหา ช่วยสัตว์ที่เมามัว

จึงได้นาม “อวโลกิเตศวร” ผู้เมตตา

ขอนอบน้อมแด่ พระอมิตายุสตถาคตเจ้า ปวงพระปัทมินีโพธิสัตว์


แลพระอารยาธิกเทพทั้งหลาย ขอบาปกรรม อันคู่กับธรรมธาตุที่เกิด
ดับทั้งนั้น จงสิ้นสลาย บังเกิดในสุขาวดีพิศุทธิเกษตร เข้าสู่อนุตตร
สัมมาอภิสัมโพธิ

(ทุกคนกล่าวสิ ้นแล้ ว ให้ ตา่ งขอพร แล้ วกระทําปั ตติทานกุศล ดังนี)้

บทประกาศ

สิ่งทั้งหลาย คือมายา ตรีโลก ดุจบุปผา กลางนภา

แจ้งมายา อายตนะสิ้นแล้ว อาสวะสิ้นแล้ว พุทธิบริบูรณ์

~ 340 ~
อันภูตตถตา วิสุทธิ์สันต์ และบาปสภาวะนั้น ก็ล้วนว่างเปล่า ทะเลโอฆะลึก
เป็นที่ยิ่ง คลื่นแห่งมิถยามิรู้ดับ ด้วยแรงกรรมแห่งสรรพสัตว์ จึงลอยคอนับ
กัปกัลป์ เสวยทุกข์ในนรก รับทุกข์เป็นอนันต์ สืบมาเกิดเป็นเปรต ทนหิว
อย่างยาวนาน มิได้ผ่อนพัก อันทางจะหลุดพ้น ก็ด้วยพระเมตตาปรณิธาน
แห่งพระตถาคต ด้วยเดชแห่งธารณี ย่อมจักระงับ ทางแห่งทรุคตินั้น
ประทานอมฤตธรรม ตามรัตนประทีป เปิดทางให้ปรโลก ยังให้ชนผู้เมา
มัว ไปสู่พิศุทธิเกษตร มณฑลพิธีในวารนี้ ยังกุศลให้เป็นสมันตทาน อุทิศ
ให้พระมุขาคนีวาลเปรต ในขอบขัณฑ์จักรวาล ปกครองปวงเปรต
อัประมาณ ดุจเมล็ดทรายในคงคาธาร ทั้ง ๓๖ จาพวก แลนับแต่อนันตร
กัลป์ จวบจนปรัตยุบันชาติ ปาปกรรมที่เคยกระทามา จงปลาสนาการไปสิ้น
หิมาลัยแห่งบาป ละลายสิ้น เข้าถึงความวิสุทธิ์ เพลิงผลาญอันดาลเดือด
กลายเป็นสระโบกขรณี อันกอปรด้วยคุณทั้ง ๘ อันฉ่าเย็น เตาเพลิงอันโชติ
ช่วง กลายเป็นกระถางสัปตรัตนสุคนธ์ บรรดาต้นไม้กระบี่ กลายเป็นต้นไม้
หยก ภูเขาดาบทั้งนั้น กลายเป็นรัตนบรรพต บรรดาแท่นเหล็กทองแดง
กลายเป็นธรรมาสน์ น้าทองแดงกลายเป็นน้าอมฤต อันอ่อนหวาน ปวงเจ้า
เวร เมื่อได้มาประสบ ต่างพากันพ้นทุกข์ แลนายกรรมทั้งหลายแต่ในอดีต
เมื่อได้มาพานพบ ต่างพากันอิสระบันเทิง นิรยบดีเกิดจิตรเมตตา ปวงนิรยา

~ 341 ~
มาตย์ต่างเกิดกุศลจิตร บิดรมารดาทั้งหลาย435 แต่นี้ พ้นจากปุถุชนเป็นที่
อารยะ ญาติมิตรทั้งปวง ต่างได้รับบุญญา เบญจบุพพนิมิต436 ในเทวภูมิ
ไม่ปรากฏ จตุลักษณะ437 ในมนุษยภูมิ ล้วนว่างเปล่า อสูรสละสิ้นโกรธ
จิตร สัตว์นรกดับแล้วซึ่งปวงทุกข์ ทุกข์ร้อนแห่งเปรตทั้งหลาย อันมี
มากมาย ดุจเมล็ดทรายในท้องธารา เปลี่ยนเป็นความพิศุทธิ์เย็น (เปรต)
ทั้ง ๑๐ จาพวก สละหนทางอันลุ่มหลง ขึ้นสู่ฝั่งแห่งการตรัสรู้ ขอ
แผ่ปรณิธานนี้ โดยถ้วนทั่ว ทั้งในอิธโลก ทั้งในปรโลก และในอนันตร
โลก ขอสรรพชีวิตทั้งหลาย ต่างประจักษ์ในภูตตถตา ทั้งในอิธโลก ทั้งใน
ปรโลก และในอนันตรโลก ปวงผู้มีวิชญา ต่างเข้าถึงพุทธมรรค ตอบแทน

435
บทว่า 多生父母 “บิดรมารดาทังหลาย”้ มีนยั ๒ ประการ ๑. หมายเอาสรรพ
ชีวิตทังหลาย
้ เพราะการเวียนเกิดตาย อันนับประมาณมิได้ ไม่มีสรรพชีวิตใด ไม่เคย
เป็ บบิดรมารดาแห่งเรา ๒. หมายเอา บิดรมารดาในทุกชาติ ที่เคยเกิดร่วมกันมา
436
五衰, 天上五衰 เบญจบุพพนิมิต คือ ลางบอกเหตุลว่ งหน้ า๕ ประการ แก่
เทวดาผู้จะต้ องจุติ ได้ แก่ ๑. ทิพยมาลาที่ประดับวิมานเหี่ยวแห้ ง ๒. เครื่องทรงเศร้ า
หมอง ๓. ผิวพรรณหม่นหมอง ไม่ผอ่ งใส ๔. เสโท (เหงื่อ) ไหลออกจากรักแร้ ๕. เบื่อ
หน่ายในทิพยอาสน์
437
四相 จตุลกั ษณะ คือ ลักษณะทัง้ ๔ ในมุนษย์ ได้ แก่ ๑. 生相 อุตปาท
ลักษณะ คือ การเกิดขึ ้น แห่งลักษณะ ๒. 住相 สถิติลกั ษณะ คือ การสถิต หรือ
ตังอยู
้ ่ แห่งลักษณะ ๓. 異相 วิลกั ษณะ คือ การแตกต่างกัน แห่งลักษณะ ๔. 滅相
นิรุทธลักษณะ คือ การดับไป แห่งลักษณะ

~ 342 ~
พระคุณทั้งสี่438 โดยถ้วนทั่ว ทัง้ ไตรภพ ต่างได้รับผลกุศล สรรพสัตว์ทั้ง
ธรรมธาตุ ต่างเข้าถึงสรวถาชญาน โดยทั่วกัน

ปวง พระตถาคต พระสัทธรรม พระโพธิสัตว์ พระภิกษุสงฆ์

ตลอดจน โพธิ ข้า ฯ ขอเข้าถึงเป็นศรณะ

ข้า ฯ บาเพ็ญปวงกุศลมูล

เพื่ออุปการะสรรพชีวิต ขอตั้งปรณิธาน ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ

ทั้งโลกิยะ และโลกุตตระ

ขอปรณิธานจงสาเร็จ ขอปรณิธานจงสาเร็จ

อาศัยโยคานุศาสนี กระทาธรรมไพที

บาเพ็ญสมันตทานแด่สรรพชีวิต ต่างสาเร็จพุทธมรรค

438
四恩 พระคุณทัง้ ๔ ท่านได้ แสดงไว้๒ นัย คือ นัยที่ ๑. ได้ แก่ บิดรมารดา,
สรรพชีวิต, ผู้ปกครองและประเทศชาติ, พระรัตนตรัย และ นัยที่ ๒. ได้ แก่ บิดร,
มารดา, พระตถาคต, ครูอาจารย์

~ 343 ~
ต่อมา กระทา ปริ ปูรณปเรษิต439มุทรา

(สองหัตถ์ กระทําวัชรมุษฏิ วีรยะและพละ เกี่ยวกัน แล้ วว่า ดังนี ้)

๏ โอมฺ วัชระ โมกษะ มุหฺ ๚ะ๛440

439
圓滿奉送 ปริ ปรู ณปเรษิ ตะ การน้ อมส่งโดยสมบูรณ์
440
นี ้คือ วัชรโมกษมนตร์ 《金剛解脫真言》唵。斡資囉(二合)穆吃吒
(二合)穆。oṃ vajra mokṣa muh

~ 344 ~
(เมื่อสวดมนตร์ แลกระทํามุทรา พึงมนสิการว่า ปวงพระตถาคต โพธิสตั ว์
้ 441บริ บรู ณ์ เทวะ อสุระ
และสรรพชีวิต ต่างปลาสนาการไป กุศลมูลทังสอง
ยักษะ ล้ วนเฉกกัน

ปุจฉา : ก็ถ้า พระพุทธเจ้ าและพระโพธิสตั ว์ ไม่ปรากฏแล้ ว ก็ใครเล่าจักเป็ น


สักขี ?

441
二善根 กุศลมูลทัง้ ๒ ได้ แก่ โลกิยกุศลมูล และ โลกุตตรกุศลมูล

~ 345 ~
วิสชั นา : ที่มาปรากฏนี ้ มา คือ ไม่ได้ มาจริ ง ไป ก็ ไม่ได้ ไปจริ ง พระ
รัตนตรัยมีปกติสถิตอยูเ่ ป็ นนิจ ดังที่สทั ธรรมปุณฑีกสูตรแสดงไว้ วา่ พระ
สถูปยังปรากฏอยู่ และพระโพธิสตั ว์มา อันพระสถูปและพระตถาคตนัน้ ไม่
มีที่ไม่ปรากฏ เมื่อเชิญ ก็มาจริ ง เมื่อส่ง ก็ไปจริ ง แลจักกล่าวไปใย กับเปรต
หรื อเทพทังหลาย
้ ศึกษาชนพึงแจ้ ง ดังฉะนี ้

ต่อไปสวด วัชรสัตวศตักษรธารณี (๓ จบ) ดังนี ้)

~ 346 ~
~ 347 ~
วัชรสัตวศตักษรธารณี

๏ โอมฺ วัชร-สัตตวะ สะมะยะ มะนุปาละยะ วัชระ สัตตะ-ตเวโนปะติษฐะ


ทฤโฒ เม ภะวะ สุโตษโย เม ภะวะ อนุรักโต เม ภะวะ สุโปษโย เม ภะ
วะ สะรวะ สิทธิมฺ เม ประยัจฉะ สะรวะ กะรมะสุ จะ เม จิตตะ-ศริยะหฺ กุรุ
หูมฺ หะ หะ หะ หะ โหหฺ ภะคะว สะรวะ ตะถาคะตะ วัชระ มา เม มุญจะ
วัชริ ภะวะ มะหา-สะมะยะ สัตตวะ อาหฺ ๚ะ๛442

(อันมนตร์ ทงนี
ั ้ ้ ก็เพื่อยัง การที่ผ้ บู าํ เพ็ญโยคะ กระทํามุทราผิด หรื อ
มนสิการซัดส่าย ตลอดจน ข้ อผิดพลาดใด ๆ ล้ วนให้ เข้ าถึงความวิศทุ ธิ์
443
แล้ วสวดคําว่า “อา” (๒๑ จบ) แล้ วมนสิการว่า การกระทําหลายก่อน
หน้ านี ้ มิอาจยึดถือ มาตรไม่เป็ นทังนี
้ ้ ย่อมล่วงลงสู่ ความมี (โทษ) ฉะนัน้
อันว่าโยคเปรตพลี จักกล่าวโดยง่ายได้ ไฉน

442
唵。斡資囉(二合)薩埵蘇。薩麻耶。麻納巴辢耶。斡資囉(二合)
薩埵諦。奴鉢諦瑟劄(二合) 得哩(二合)鋤。彌癹咓。蘇度束。彌癹
咓。阿奴囉屹都(二合)。彌癹咓。蘇布蘇。彌癹 咓。薩哩斡(二合)。
戌提彌。不囉(二合)耶茶。薩哩斡(二合)。葛哩麻(二合)。蘇拶彌。
稷 達。釋哩(二合)揚。骨嚕。吽。訶。訶。訶訶斛。癹葛灣。薩
哩斡(二合)。答塔葛達斡資 囉(二合)。麻彌們拶。斡資囉(二合)癹咓。
麻訶薩摩耶。薩埵阿。
443
ควรจะเป็ น “อาหฺ”

~ 348 ~
จากนัน้ ทุกคนกล่าวดังนี ้)

กุศล แห่งโภชนทาน แสนพิเศษ

ขออุทิศ กุศลอัประไมย นี้

แก่สรรพชีวิต ผู้จมอยู่ โดยถ้วนทัว่

ไปอุบัติ ณ. พุทธเกษตร แห่งพระอมิตาภะ

ปวงพระตถาคต ทั้งทศทิศ ในไตรยอวธวะ

พระมัญชุศรี สมันตภัทระ อวโลกิเตศวร

พระโพธิสัตว์ มหาสัตว์ ทั้งหลาย

มหา ปรัชญา ปารมิตา

เข้าถึงพระรัตนตรัย ว่าเป็นศรณะ อันโยคเปรตพลีสมตาอมฤตธรรมสังคีติ


ทั้งนี้ กุศลบริบูรณ์ กุศลปัจจัย เป็นอัประไมย แผ่ไปทั่วทั้งธรรมธาตุ อัน
คณาได้ดุจเมล็ดทราย (ทุกคนกล่าวพร้ อมกัน) ขออภิวาทต่อหมู่สงฆ์

~ 349 ~
ཨོཾ โยคสังครหเปรตพลีวิธี อวสานลงแต่เพียงนี้ ཨོཾ

~ 350 ~
~ 351 ~
สถูปที่เก็บศรีรธาตุของพระอาจารย์จหู ง

~ 352 ~
ประวัติพระอาจารย์จูหง

พระอาจารย์จงู หง สกุล (แซ่) 沈 เสิน่ ชื่อ 祩宏 จูหง ฉายา 佛慧 ฝอ


หุ้ย444 (มีอีกฉายาที่ 蓮池 เหลียนฉือ445) เกิดในสกุลใหญ่ แห่งเมือง
หังโจว ในรัชสมัย 嘉靖 เจียจิ ้งปี ที่ ๑๔ (ค.ศ. ๑๕๓๕)

ในวัยเยาว์นนั ้ เริ่มแรกได้ ศกึ ษาตําราของลัทธิหรู ต่อมาก็ได้ ศกึ ษาวิชาการ


อื่น อย่างกว้ างขวาง โดยมีชื่อเสียงเป็ นที่ปรากฏ ทังในด้
้ านความรู้และความ
กตัญํู

444
佛慧 พุทธปรัชญา
445
ดูเชิงอรรถข้ อที่ 321

~ 353 ~
เมื่ออายุได้ ๒๗ ปี บิดาเสียชีวิต และเมื่ออายุได้ ๓๑ ปี มารดาเสียชีวิต จึง
ตัดสินใจออกบวชพร้ อมภรรยา โดยตนบวชเป็ นทีพ่ ระภิกษุ ส่วนภรรยาบวช
เป็ นนางชี และเมื่อคราวที่จะออกบวช ได้ แต่งกลอนสละเรื อน (อนาคาริก)
ไว้ ดงั นี ้

恩重山丘,五鼎三牲未足酬,親得離塵垢,子道方成就。
嗏,出事大因由,凡情怎剖,孝子賢孫,好向真空究,因
此把五色金章一筆勾。

~ 354 ~
พระคุณดุจขุนเขา ฆ่าสัตว์เซ่นไหว้ ยากทดแทน บัดนีโ้ ชคดีพน้ โลกี ย์ กตเวทิ
ตมรรคพลันสาเร็ จ อา... คือเหตุหลัก ของการออกจากโลก ความรักจะตัด
เช่นไร อันกตัญญุตชน พึงเข้าสู่ศูนยตมุข ดังนีแ้ ล้ว จึงได้สละซึ่ งเบญจกาม
คุณและทรัพย์สิน

鳳侶鸞儔,恩愛牽纏何日休,活鬼喬相守,緣盡還分手。
嗏,為你兩綢繆,披枷帶杻,覷破冤家,各自尋門走,因
此把魚水夫妻一筆勾。

หงส์มงั กรคู่กนั จนแก่เฒ่า ความรักพันผูกวันใดพัก รักกันปานจะกิ น ปั จจัย


สิ้ นก็ตอ้ งแยกจาก อา... แม้จะมัดทัง้ สองไว้ เวรสิ้ นต่างต้องไปตามทางตน
ดังนีแ้ ล้ว จึ งได้สละ สามี ภริ ยา ทีด่ จุ ดังมัสยาแลวารี

身似瘡疣,莫為兒孫作遠憂,憶昔燕山竇,今日還存否?
嗏,畢竟有時休,總歸無後,誰識當人,萬古常如舊,因
此把貴子蘭孫一筆勾。

~ 355 ~
ชี วนั ต้องตรมทุกข์ อย่าได้เป็ นกังวลเรื ่องลูกหลาน รฤกถึงสกุลสูงแต่ปาง
บรรพ์ บัดนีย้ งั อยู่ฤๅ ? อา... ถึงเวลาก็ตอ้ งมี พกั ใครบ้างเล่า จักอยู่ยงั่ ยืนยง
ดังนีแ้ ล้ว จึ งสละ ลูกหลาน ทัง้ หลาย

獨占鰲頭,謾說男兒得意秋,金印懸如鬥,聲勢非常久。
嗏,多少枉馳求,童顏皓首,夢覺黃梁,一笑無何有,因
此把富貴功名一筆勾。

ยึดประโยชน์โดยลาพัง อ้างว่าจะสมหวังช้า แย่งชิ งชื ่อเสียงและอานาจ


ทัง้ หลายล้วนไม่ยงั่ ยืน อา... กี ่คนบ้าคลัง่ หา คิ ดมากจนผมหงอก ตืน่ มาทุก
สิ่ งสูญ ดังนีแ้ ล้ว จึงสละ ชื ่อเสียง ความสาเร็ จ และทรัพย์สิน

富比王候,你道歡時我道愁,求者多生受,得者憂傾覆。
嗏,淡飯勝珍饈,衲衣如繡,天地吾廬,大廈何須構,因
此把家舍田園一筆勾。

มัง่ คัง่ ดุจพระยาสามนตราช ท่านมี ความสุข แต่ชนอืน่ ทุกข์ อยากมัง่ มี


ร่ ารวยสูงศักดิ์ กลับได้ความกังวลทุกข์ อา... ข้าวจื ดอร่ อยกว่าอาหารดี จี วร

~ 356 ~
ดุจผ้าปั ก มี ฟ้าดิ นเป็ นบ้าน อาคารใยเล่าต้องสร้าง ดังนีแ้ ล้ว จึงสละ บ้าน
และ เรื อกสวน ไร่ นา ทัง้ หลาย

學海長流,文陣光芒射鬥牛,百藝叢中走,斗酒詩千首。
嗏,錦繡滿胸頭,何須誇口,生死跟前,半時難相救,因
此把蓋世文章一筆勾。

ศึกษาสมุทรมิ เคยดับ บัณฑิ ตวิ วาทะ ศิ ลปิ นมิ ลดละ ร่ ายกาพย์ประชันเชิ ง


อา... ว่าถ้าดีจริ ง แล้วใยต้องเอือ้ นเอ่ย ความตายอยู่บือ้ งหน้า ไม่มีใครช่วย
ได้ ด้วยเหตุนี้ จึ งสละ บทความ งานประพันธ์ ทัง้ หลาย

夏賞春遊,歌舞場中樂事綢,煙雨迷花柳,棋酒娛親友。
嗏,眼底逞風流,苦歸身後,可惜光陰,懡㑩空回首,因
此把風月情懷一筆勾。

คิ มหันต์ไป วสันต์มา ร้องเล่น เต้นกายา หมอกฝน มวลบุปผา หมาก สุรา


มิ ตรกรี ฑา อา... อันความบันเทิ งทัง้ หลายตรงหน้า เมื ่อทุกข์ มาเยือน
เสียดายเวลา ทุกอย่างยากหวนคืน ด้วยเหตุนี้ จึ งสละซึ่ง สิ่งบันเทิ ง
ทัง้ หลาย

~ 357 ~
พระอาจารย์จหู งเป็ น ๑ ใน ๔ พระมหาเถระ ในตอนปลายราชวงศ์หมิง
ท่านพระเถระผู้ใหญ่ ในนิกายธยาน ทังยั
้ งเป็ นอัษฏมมหาบูรพาจารย์แห่ง
นิกายสุขาวดี ท่านเน้ นยํ ้าถึงพระสัทธรรมว่า ธยานและสุขาวดี ล้ วนเป็ นหนึง่
เดียว ไม่แยกจาก

พระอาจารย์จหู งได้ อธิบายถึงคํา 一心不亂 “เอกัคคตาไม่ซดั ส่าย” ไว้ วา่


“บทว่า เอกัคคตา คือ การรวมจิ ตเป็ นอธิ ษฐานเดียว ส่วน ไม่ซดั ส่าย คือ
การไม่เกิ ด มิ ถยาจิ ตร ฉะนัน้ มีกิจมี นยั รฤกดังก่อนหน้า รฤกสืบต่อ
เป็ นสตติ ไม่ขาดตอน ไม่มีเรื ่องทีส่ อง สาเร็จเป็ นศรัทธาพละ นีช้ ื ่อว่า กิ จ
เอกกัคคตา สงเคราะห์เป็ นศมาธิ ปรยาย แลในทีแ่ สดงในในบทต้น แจ้งใน
สิ่ งรฤกและถูกรฤก ยิ่ งไม่เป็ นสอง ไม่มี ไม่ไร้ พ้นแล้วจากจตุษโกฏิ 446

446
四句 จตุษโกฏิ, จตุกโกฏิ คือ กถาหรื อทรรศนะทัง้ ๔ คือ ๑. ยอมรับ ๒. ปฏิเสธ
๓. ทังยอมรั
้ บและปฏิเสธ ๔. ทังไม่ ้ ยอมรับและไม่ปฏิเสธ ทังหมดนี
้ ้ เกิดจากอาตมัน
(อัตตา) ที่เข้ าไปยึดถือ และกําหนดแบ่งแย่งสิ่งทังหลาย้ (ประเด็นจึงอยู่ที่ อาตมัน คือ
ตัวตนที่เข้ าไปยึดถือ ไม่ได้ อยู่ที่วา่ จะเห็นหรือจะแสดงว่าอย่างไร เพราะเมื่อไร้
อาตมัน ความเห็นทังนั ้ น้ ย่อมไม่มี ไม่ใช่ดงั ที่เอกสารภาษาไทยทัว่ ไป ที่ อธิบาย
ทํานองว่า “ทฤษฎี จตุกโกฏิ ทีส่ ร้างโดยพระนาคารชุน เพือ่ จะพิสจู น์ว่าทรรศนะใด ๆ
ทีใ่ ครก็ตาม แสดงออกมา ล้วนไม่ถูกต้อง” ซึง่ เป็ นการอธิบายไปคนละทาง ไม่มี
ความสัมพันธ์ เป็ นคนละเรื่องเดียวกัน)

~ 358 ~
สาเร็ จเป็ นวิ ปัสสนาพละ เข้าถึงจิ ตรเดิ ม นีช้ ื ่อว่า นัยเอกกัคตา สงเคราะห์
เป็ นปรัชญาปรยาย ปวงมิ ถยาสิ้นสลาย เข้าถึงศมาธิ เอกกัคคตาจิ ตร ก็คือ
ตัตตวธรรม ดุจเช่นธรรมธาตุ เป็ นศมาธิ ท่ามกลางศมาธิ พุทธานุสมฤติ 447
สมาบัติ แห่งพระโพธิ สตั ว์ ก็ดงั ทีพ่ ระโพธิ ธรรม448 แสดงไว้ถึงธยาน
เปลีย่ นวิ ชญา ให้เป็ นปรัชญา จึ งได้แสดงว่า พุทธานุสมฤติ นี้ ครอบคลุม
ปวงธรรมปรยาย”

มีผ้ ถู ามพระอาจารย์จหู งว่า “อันผูป้ รี ชา ล้วนแจ้งในธยาน บัดนีต้ ่างพากัน


แสดงสุขาวดี ชะรอย จะเป็ นการไม่แจ้งนัยแห่งสภาวะฤๅ ?” พระอาจารย์จู
หงตอบว่า “ต่างเข้าถึงสภาวะเดิ ม ไม่เป็ นสอง ปรยายนัน้ มี อปั ระมาณ
มาตรแจ้งทัง้ นี ้ ธยานและสุขาวดี วิ เศษเฉกกัน”

447
念佛 พุทธานุสมฤติ พุทธานุสติ
448
菩提達摩 พระโพธิ ธรรม (ค.ศ. ? – ๕๓๕) ประถมบูรพาจารย์ นิกายธยานใน
ประเทศจีน (คนไทยออกนามท่าน ตามสําเนียงจีนแต้ จิ๋ว ว่า “ตัก๊ ม้ อ”)

~ 359 ~
二十年前事可疑,ยี่สบ
ิ ปี ก่อนยังสงกา

三千里外遇何奇?สามพันโยชนาแปลกไฉน

焚香擲戟渾如夢,จุดธูปรบราดุจฝั นไซร้

魔佛空爭是與非。พุทธมารว่างเปล่าไร้ รบกัน

ในรัชสมัย 萬曆 ว่านลีป่ ี่ ที่ ๔๓ (ค.ศ. ๑๖๑๕) เดือน ๗ พระอาจารย์จหู ง


มรณภาพ สิริอายุได้ ๘๑ ปี พรรษา ๕๐ ปี

~ 360 ~

You might also like