บทที่19 วิวัฒนาการ

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 39

วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

(Evolution)
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
(Evolution)

สิ่งมีชีวติ ชนิดแรก
กาเนิดขึ้นมาบนโลกเมื่อประมาณ
3,900 ล้านปีมาแล้ว
ปัจจุบัน
ปัจจุบันพบว่า สัตว์มีกระดูกสันหลัง

มีสิ่งมีชีวติ มากมาย
หลายล้านชนิด กาเนิดโลก

อยู่รอบตัวเรา สัตว์ไม่ มีกระดูกสันหลัง

แต่ละชนิด
มีรูปร่างลักษณะ
แตกต่างกันไป โปรคาริโอท
คาถาม
สิ่งมีชีวิตต่างๆ เหล่านี้

มาจากใหน
เกิดขึ้นได้อย่างไร
สามารถดารงค์เผ่าพันธุ์ต่อไป
ได้อย่างไร
นักชีววิทยา
ศึกษาหาคาตอบต่างๆ เหล่านี้

สิ่ งมีชีวติ มีววิ ฒ


ั นาการ
วิวัฒนาการ คืออะไร
วิวัฒนาการ
การเปลี่ ย นแปลงลั ก ษณะพั น ธุ ก รรมในประชากรของ
สิ่งมีชีวิต ลักษณะพันธุกรรมที่เปลี่ยนแปลง นาไปสู่การ
เปลี่ ย นแปลง โครงสร้ า ง รู ป ร่ า ง ลั ก ษณะ หรื อ
หน้าที่การทางาน
เมื่อมีการสะสมในปริมาณที่มากขึน้ นาไปสู่การ
กาเนิด สิ่งมีชีวติ ชนิดใหม่หรือสปีชสี ์ (Species) วงค์
(Family) ตลอดจน อันดับ (Order) และ ไฟลัม่
(Phylum) ในที่สุด
ประวัตแิ ละแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ

จากความเชื่อในอดีต
ที่เชื่อว่าสิ่งต่างๆบนโลก
เกิดจากความประสงค์ของพระเจ้า
โดยที่เชื่อว่า
โลก มีอายุประมาณ 6,000 ปี เท่านั้น
ความเชื่อนี้
สืบทอดติดต่อกันมานาน
ต่อมา คริสต์ศตวรรษที่ 17
อริสโตเติล (Aristotle) นักปราชญ์ชาวกรีก
มีความคิดดัง้ เดิมว่า
ชีวิตอุบัตขิ นึ้ มาจากสิ่งไม่มีชวี ติ
เป็นผู้ตั้ง ทฤษฏี
“The Spontaneous Generation”
ลินเนียส (Carolus Linnaeus,1707-1778)
นักอนุกรมวิธานชาวสวีเดน
มีความเชือ่ ว่า
สิ่งมีชีวติ แต่ละชนิดมีลักษณะถาวรไม่เปลีย่ นแปลง
ไปจากแบบเดิม

ผลงานสาคัญของลินเนียส คือ

การศึกษาและจัดจาแนกสิ่งมีชวี ติ เป็นหมวดหมู่
และการจัดระบบการตั้งชื่อของสิ่งมีชีวิต โดยใช้
หลัก Binomial nomenclature
บูฟอง (Buffon, 1707-1788)
นักวิทยาศาสตร์ ชาว ฝรั่งเศส
มีความเห็นว่า
ลักษณะของสิ่งมีชีวติ
มีการเปลี่ยน
แปลงเนื่องมาจากอิทธิพลของ
สภาพแวดล้อม
“The inheritances of acquired
characteristics”
โดยเชือ่ ว่า
โลก มีอายุมากกว่า 6,000 ปี
ต่อมา
คริสต์ศตวรรษที่ 18
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
เจริญก้าวหน้ามากขึ้น
มีนักวิทยาศาสตร์
แสดงความคิดเห็นแตกต่างกัน
มีแนวความคิดอีกมากมาย
ก่อให้เกิดเป็น ทฤษฎีวิวัฒนาการ
ทฤษฎีวิวัฒนาการ
ลามาร์ค (Lamarck, 1744-1829)
นักวิทยาศาสตร์ ชาวฝรัง่ เศส
ที่นาเสนอทฤษฎีวิวฒ ั นาการ
เป็นคนแรก
แต่ทฤษฎีถกู ปฏิเสธ
จากนักวิวฒ ั นาการ
เนื่องจาก
ไม่สามารถพิสูจน์ได้
ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีของ ลามาร์ค ประกอบด้วยหลักเกณฑ์ใหญ่ คือ
1) The Inheritance of acquired characteristics
2) Law of use and disuse

ร่างกายและส่วนต่างๆมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขนาดตลอดเวลา มี
อวัยวะเกิดขึน้ ใหม่เนื่องจากผลของการใช้งาน ส่วนใหนที่ถกู
ใช้จะเจริญหรือเพิม่ ขนาด ส่วนที่ไม่ถกู ใช้จะลดขนาดหรือสูญ
หายไป ลักษณะที่เปลีย่ นแปลงนี้สามารถถ่ายทอดไปได้
Lamarckism
“The theory of acquired characteristics”

บรรพบุรษุ ยีราฟคอสัน้ กว่ายีราฟปัจจุบนั กินใบอ่อนบนยอดไม้เป็นอาหาร


เมื่อใบอ่อนบริเวณด้านล่างถูกกินหมด ต้องยืดคอเพือ่ กินยอดไม้ทอี่ ยูส่ งู ขึ้นไป
เป็นเวลานานทาให้คอยาวขึ้น เมื่อยีราฟตัวนี้มลี กู ลูกที่เกิดจะคอยาวเหมือน
แม่ และเมือ่ ทาเช่นนีไ้ ปหลายชั่วรุน่ เป็นสาเหตุให้ยีราฟรุน่ ต่อๆ มา มีคอยาว
ขึ้นเรื่อย จนในที่สดุ มีคอยาวอย่างที่เห็นในปัจจุบนั
ปัญหาของทฤษฎี ลามาร์ค
ไม่สามารถทดลองพิสูจน์ให้เห็นจริงได้

August Weisman
นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน
ทาการทดลองตัดหางหนูประมาณ 20 ชั่วรุ่น
ปรากฏว่าหนูที่เกิดใหม่ยังคงมีหางตามปกติ
คัดค้านหลักเกณฑ์ของทฤษฏีนี้
นอกจากนีก้ ารศึกษาต่อมาพบว่า
การถ่ายทอดลักษณะจะผ่านทางเซลสืบพันธุ์
ทฤษฎีวิวัฒนาการ ของ ดาร์วิน
(Darwinism)
ชาร์ล ดาวิน : Charles R. Darwin
1809-1882
นักธรรมชาติวทิ ยา ชาวอังกฤษ
บิดา ของการศึกษาวิวฒ
ั นาการ
ผู้ตั้ง
ทฤษฎีวิวฒ
ั นาการ
เรียก Darwinism
หลักเกณฑ์สาคัญ
ทฤษฎีวิวัฒนาการของ
ดาร์วิน คือ
กลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
(Natural Selection)
แนวความคิดที่นาไปสูก่ ารนาเสนอทฤษฎีววิ ฒ
ั นาการ
ของ ดาร์วิน
ได้แก่ 1) การเดินทางรอบโลกไปกับเรือ HMS Beagle : 1831-1836
หมู่เกาะกาลาปากอส
กาเนิดจากภูเขาไฟ
ตั้งอยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตร ห่าง
จากประเทศ อิเควดอร์ ประมาณ
600 ไมล์ มีกระแสน้าอุน่ และน้า
เย็นไหลผ่าน
พืชบนเกาะเป็นชนิดทนแล้ง

สัตว์ที่พบ มีลักษณะแตกต่างไปจากที่อื่น
ตัวอย่างสัตว์ที่สาคัญบางชนิดที่ดาร์วนิ พบจากการศึกษา
(Darwin’s Evidence for Evolution)
นกม๊อกกิง้ ที่มีความหลากหลาย
(Variation of Mocking birds)

นกฟินซ์ชนิดต่างๆ บนหมู่เกาะกาลาปากอส
2) ความรูจ้ าก ไลเอลล์
(Charles Lyell, 1797-1875)

นักธรณีวิทยา
ชาวอังกฤษ
เขียนหนังสือ ธรณีวิทยา
“The Principle of Geology”
ไลเอลล์ เป็นผู้ที่ สนับสนุนทฤษฎี
The Principle of Uniformitarianism
“Present is the Key to the Past”

โดยเชื่อว่า
สิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเป็นอย่างไร
ในอดีตจะเป็นอย่างนัน้
3) ความรู้ที่ได้จาก มัลทัส (Thomas Multhus) : 1766-1834

นักประชากรศาสตร์ เขียนหนังสือ
เรื่อง “The Principle of Population”
มีใจความตอนหนึง่ ที่กล่าวว่า
“อัตราการเพิ่มของประชากรเป็นแบบทวีคณ ู
ในขณะที่อตั ราการเพิม่ ของอาหาร เป็นแบบ
ผลบวกเลขคณิต”
อัตราส่วนในการเพิม่ จึงไม่สมั พันธ์กนั

ดาร์วนิ นาหลักเกณฑ์นี้ อธิบาย ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ


4) ความรู้ทไี่ ด้จาก วอลเลส (Alfred R. Wallace) : 1823-1913

วอลเลส มีแนวคิดเช่นเดียวกับดาร์วนิ
โดยเขียนบทความเกีย่ วกับ
การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ส่งให้ดาร์วนิ
ในชื่อเรือ่ ง
“On the Tendency of Varieties to Depart
Indifinitely From the Origin Type”

การศึกษาของวอลเลส
Alfred Russel Wallace ทาในพื้นที่ หมู่เกาะมาเลย์อาชิเพลาโก
(Malay archipelago)
Malay Archipelago
บริเวณที่ วอลเลส ทาการศึกษา
จากความรูต้ า่ งๆ รวมทั้งบทความของวอลเลส
ดาร์วิน เขียนหนังสือ เกี่ยวกับกาเนิดของสิ่งมีชีวติ
และ ตีพิมพ์ในปีค.ศ. 1859
โดยใช้ชอื่ เรือ่ งว่า
The Origin of Species by Means of Natural
Selection

หลักเกณฑ์ตา่ งๆเหล่านี้
ต่อมากลายเป็นทฤษฎีววิ ฒ
ั นาการ
เรียก ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
(The Theory of Natural Selection)
หลักเกณฑ์
ทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์วิน

1. สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด มีความสามารถในการสืบพันธุ์สูง ถ้า


ทุกตัวมี โอกาสอยู่ รอดได้เท่ากันหมด ส่งผลให้ ประชากรมี
จานวนเพิ่มมากขึ้น

2. สมาชิกในกลุ่มประชากร มีลักษณะแตกต่างแปรผัน มากบ้าง


น้อยบ้าง
3. เมื่อสมาชิกอยู่รวมกันมีการแข่งขัน แก่งแย่งทรัพยากร การดารงชีวิต ได้แก่
อาหารที่อยูอ่ าศัยและสิง่ อืน่ ๆ ตัวใหนทีแ่ ข็งแรงกว่า มีความสามารถมากกว่าอยู่
รอดได้ตัวที่ออ่ นแอถูกกาจัด

เกิด
การคัดเลือกโดยธรรมชาติ
(Natural Selection)

4. ตัวที่ถูกคัดเลือกไว้ สามารถสืบพันธุแ์ ละ ถ่ายทอดลักษณะต่อไปยัง


ลูกหลานเมือ่ กาลเวลาผ่านไป มีการสะสมลักษณะที่เปลีย่ นแปลงเพิม่ มากขึน้
ในที่สุดทาให้กลายเป็น สิ่งมีชีวิตชนิดใหม่
หลักเกณฑ์ทฤษฎีววิ ฒ
ั นาการของดาร์วิน
1. ความสามารถในการสืบพันธุ์สูง

2. มีลักษณะแตกต่างแปรผัน

3. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ
(Natural Selection)

4. ตัวที่ถกู คัดเลือกไว้
จะสืบพันธุแ์ ละถ่ายทอดลักษณะ
ต่อไปยังลูกหลาน
หลักเกณฑ์ทฤษฏีววิ ฒ
ั นาการของดาร์วนิ
ได้รับการยอมรับ และ กระตุ้นให้นักวิทยาศาสตร์
สนใจศึกษาวิวฒ
ั นาการเพิม่ มากขึน้
ปัญหาของทฤษฎีดาร์วนิ
* รับแนวความคิดของลามาร์คในเรือ่ งอิทธิพลของ
สภาพแวดล้อม
* ไม่สามารถอธิบายขัน้ ตอนการแปรผันลักษณะทีเ่ กิดขึน้
* ไม่สามารถอธิบายได้วา่ การแปรผันลักษณะทีเ่ กิดขึ้น
สามารถคงอยูใ่ นสภาพแวดล้อมได้อย่างไร
ในระหว่างปี 1822-1884
เมนเดล (Gregor J. Mendel)
บาทหลวงและนักพฤกษศาสตร์ชาวออสเตรีย
ทาการทดลองผสมต้นถัว่
ค้นพบการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
ผลการทดลองสนับสนุนให้เห็นว่า
การแปรผันของลักษณะในสิ่งมีชวี ติ
เกิดขึ้นได้อย่างไร
ดาร์วิน
ได้ชื่อว่า
บิดาแห่งวิวัฒนาการ

เมนเดล
ได้ชื่อว่า
บิดาแห่งพันธุศาสตร์
ทฤษฎีวิวฒ
ั นาการปัจจุบัน

Modern synthesis
หรือ
Synthetic Theory
นับตั้งแต่ในปี1935
ได้มีการนาความรูใ้ หม่ๆ
ในสาขาวิชาต่างๆ ได้แก่
พันธุศาสตร์ พันธุศาสตร์ประชากร
การศึกษาทางชีวโมเลกุล
และ
วิทยาศาสตร์สาขาอื่นๆ
ถูกนามาผสมผสาน
อธิบายใช้ร่วมกับ
กลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์ของทฤษฎีดาร์วนิ
หลักใหญ่อธิบายเกี่ยวกับ
การเปลี่ยนแปลงของลักษณะ (traits)
ทฤษฎีววิ ฒ
ั นาการปัจจุบนั เรียกว่า
Neo-Darwinism หรือ Synthetic Theory

จะเห็นได้วา่
หลักเกณฑ์ทฤษฎีววิ ฒ ั นาการ
มีการเปลี่ยนแปลง
ไปตามเหตุผลและกาลเวลา

You might also like