แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษา

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 34

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษา

ตามหลักการแพทยแผนไทย สําหรับผูปวยโรคเบาหวาน
กลุมงานการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร
เปาหมายการรักษาโรคเบาหวาน ตามหลักการแพทยแผนไทยและการแพทยผสมผสาน

เปาหมาย
• เพื่อปองกันและลดการเป"นโรคเบาหวานในประชาชนกลุม' เสี่ยงโรคเบาหวาน
• เพือ่ ควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดในผูป, -วยที่มรี ะดับน้ําตาลในเลือดไม'เกิน 180 มก/ดล.
• เพือ่ ควบคุมไม'ให,เกิดภาวะลุกลามและกลายเป"นภาวะแทรกซ,อน

ตัวชี้วัด
• ประชาชนกลุ'มเสี่ยงโรคเบาหวาน ได,รับการวินิจฉัยเป"นผู,ป-วยเบาหวานรายใหม' ลดลง น,อย
กว'า ร,อยละ .........
• ผู,ป-วยโรคเบาหวานควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดได,ร,อยละ.......
• ผู,ป-วยโรคเบาหวานเกิดภาวะแทรกซ,อนไม'เกินร,อยละ......
คํานิยาม โรคเบาหวาน ตามหลักการแพทยแผนปจจุบัน

เบาหวาน (Diabetes Mellitus)


หมายถึง ภาวะระดับน้ําตาลในเลือดสูงซึ่งเกิดจากความบกพรองของการหลั่งอินสุลิน หรือการ
ออกฤทธิ์ของอินสุลิน หรือทั้งสองอยาง โดยมีการตรวจพบระดับน้ําตาลในพลาสมาหลังอดอาหารนาน 8
ชั่วโมง(Fasting Plasma Glucose) มากกวาหรือเทากับ 126 mg/dL อยางนIอย 2 ครั้ง ในวันที่ตางกัน
หรือระดับน้ําตาลในพลาสมาที่ไมเจาะจงเวลามากกวาหรือเทากับ 200 mg/dL รวมกับมีอาการสําคัญของ
โรคเบาหวาน เชน ปMสสาวะบอยและมาก กระหายน้ําบอย น้ําหนักลดไมทราบสาเหตุ
หมายเหตุ:- ระดับน้ําตาลในพลาสมาหลังอดอาหาร 126 mg/dL เทียบไดIกับ การตรวจระดับ
น้ําตาลจาก Whole Blood ที่เจาะจากหลอดเลือดดํา(vein) หรือเจาะจากปลายนิ้ว (Capillary) 110
mg/dL (อIางอิงจากแนวทางการวินิจฉัยโรคเบาหวานขององคการอนามัยโลก 1998)
คํานิยาม โรคเบาหวาน ตามหลักการแพทยแผนไทย

โรคเบาหวาน มาจากคําบาลี มธุเมโห อาพาโธ (มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย: วินัยป;ฎก มหา


วิภังค:2539 หน,า 204 ) โดย มธุ แปลว'า หวาน น้ําหวาน น้ําผึ้ง เมหะ หรือเมโห แปลว'า น้ํามูตร น้ํา
ปEสสาวะ รวมแล,ว หมายถึง น้ําปEสสาวะหวาน โรคนี้มีมาตั้งแต'สมัยใดไม'มีหลักฐานที่แน'ชัด แต'มีปรากฏการ
กล'าวถึงในพระไตรป;ฎก พระสุตตันตป;ฎก เล'ม 24 อังคุตรนิกาย ทสกนิบาต คิริมานันทสูตร หรือ คัมภีรคิริ
มานนท ว'าด,วยการอาพาธของพระคิริมานนท((มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย: สุตตันตป;ฎก อังคุตรนิกาย
ทสกนิบาต:2539 หน,า 128-130 )
หมายถึง อาการหรือโรค ที่เสมหะคั่งค,างจากการกําเริบคั่งค,างอุดกั้นในร'างกาย เกิดจากการเสียสมดุลของ
ความสัมพันธระหว'างระบบป;ตตะของเตโชธาตุ(ธาตุไฟ/สิ่งเผาผลาญและการย'อย) กับ ระบบเสมหะของ
อาโปธาตุ(ธาตุน้ํา/น้ําและของเหลวในร'างกาย) มีสมุฏฐาน(สาเหตุและกลไกการเกิด) มาจากเสมหะ(น้ํา)
กําเริบพิการ เป"นเหตุให,ป;ตตะ(ไฟ)หย'อน หรือเกิดจาก สมุฏฐานป;ตตะหย'อนหรือพิการ เป"นเหตุให,เสมหะ
กําเริบ โดย สาเหตุหลักมาจากพัทธะป;ตตะ(ตับ ตับอ'อน) ที่ทําหน,าที่ผลิตไฟย'อย หรือน้ําดี ไม'สามารถ
ทํางานได,ปกติ
อาการแสดงของโรค อธิบายตามหลักสาเหตุโดย แพทย)แผนไทย
ปEสสาวะบ'อย หนักเนื้อหนักตัว เกียจคร,าน ง'วงเหงาหาวนอน กําลังเสื่อมถอย ผิวพรรณซีดขาว
ความรู,สึกหวานปาก มักหายใจตื้น
ชนิดและประเภทของโรคเบาหวาน

ตามแนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน แบ'งโรคเบาหวานเป"น 4 ชนิด ตาม


สาเหตุของการเกิดโรค
• โรคเบาหวานชนิดที่ 1 (Type 1 diabetes mellitus,T1DM)
เกิดจากการทําลายเบต,าเซลลของตับอ'อน ไม'สามรถผลิตอินซูลินได, จําเป"นต,องพึ่งอินซูลิน
• โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (Type 2 diabetes mellitus,T1DM)
เกิดจากภาวะดื้ออินซูลิน ร'วมกับความผิดปกติในการหลังอินซูลินของตับอ'อน
• โรคเบาหวานที่มีสาเหตุจําเพาะ (Other specific types)
เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม โรคของตับอ'อน ความผิดปกติของฮอรโมน ยาหรือ
สารเคมี อื่นๆ
• โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ) (Gestational diabetes mellitus,GDM)
โรคเบาหวานหรือความผิดปกติของความทนต'อกลูโคส ที่ได,รับการวินิจฉัยครั้งแรกขณะ
ตั้งครรภ
การแปลผลระดับน้ําตาลในเลือด
เปาหมายการรักษาโรคเบาหวาน
การควบคุม / การปฏิบัติตัว เปาหมาย

การควบคุมเบาหวาน *
ระดับน้ําตาลในเลือดขณะอดอาหาร (fasting plasmaglucose : FPG) 90-130 มก./ดล.
Hemoglobin A₁c < 7%
ระดับไขมันในเลือด
ระดับโคเลสเตอรอลรวม 130-170 มก./ดล.
ระดับ แอล ดี แอล โคเรสเตอรอลรวม ** < 100 มก./ดล.
ระดับไตรกลีเซอไรด < 150 มก./ดล.
ระดับเอช ดี แอล โคเลสเตอรอล :
ผูIชาย ≥ 40 มก./ดล.
ผูIหญิง ≥ 50 มก./ดล.
ความดันโลหิต ***
ความดันโลหิตตัวบน (systolic BP) < 130 มม.ปรอท
ความดันโลหิตตัวลาง (diastolic BP) < 80 มม.ปรอท
น้ําหนักตัว
ดัชนีมวลกาย 18.5-22.9 กก./ม.²
รอบเอว :
ผูIชาย < 90 ซม.
ผูIหญิง < 80 ซม.
หลักการและทฤษฎีการแพทยแผนไทย วาดIวย สมุฏฐานโรค

ประเทศสมุฏฐาน/ กาลสมุฏฐาน
อวัยวะตางๆ/ ปhวยดIวย น้ํา(อาโปธาตุ)
ภูมิประเทศ โครงสรIาง 20 อยาง
เหนือ ประเทศรIอนพื้นที่สูง/เขา เวลา 6.00-10.00 น. และ
ปhวยดIวย ไฟ ธาตุดิน 18.00-22.00 น.
อีสาน ประเทศอบอุน พื้นที่น้ํา ทราย ปhวยดIวย ไฟ(เตโชธาตุ)
ปhวยดIวย น้ํา น้ําทั้งหลาย ใน (ปถวี) สิ่งเผาพลาญ/ เวลา 10.00-14.00 น. และ
กลาง ประเทศเย็น พื้นที่น้ําฝนเปลือก รางกาย12 อยาง การยอย 4 อยาง 22.00-02.00 น.
ตมปhวยดIวย ลม
ใตI ประเทศหนาว พื้นที่ น้ําเค็ม ธาตุน้ํา ชีวิต = ขันธ 5 ธาตุไฟ ปhวยดIวย ลม(วาโยธาตุ)
เวลา 14.00-18.00 น. และ
เปลือกตม ปhวยดIวย ดิน (อาโป) (รูป/กาย + นาม/จิต) (เตโช)
02.00-06.00 น.
อากาศธาตุ/ชองวาง
อายุสมุฏฐาน/อายุ ธาตุลม อุตุสมุฏฐาน/ฤดูกาล
ปฐมวัย(0-15ปq) (วาโย) ฤดูรIอน
ปhวย ดIวยน้ํา พลังงานแหงการ ปhวย ดIวยไฟ
มัชฉิมวัย(16-32 ปq) เคลื่อนไหว 6 อยาง ฤดูฝน ปhวย
ปhวย ดIวย ไฟ ดIวย ลม
ปMชฉิมวัย(> 32 ปq)
วาตะ ฤดูหนาว ปhวย
ปhวย ดIวย ลม พฤติกรรมมูลเหตุการเกิดโรค ดIวย น้ํา
กิน นอน อิริยาบถ รIอน เย็น กลั้นอุจจาระ ปMสสาวะ เศรIา เสียใจ
การใชIกําลังหนัก โทสะ ขาดสติ
หลักการและทฤษฎีการแพทยแผนไทย วาดIวย ธาตุสมุฏฐาน

ธาตุดิน/ปถวีธาตุ ปBตตะสมุฏฐานอาพาธา ธาตุไฟ/เตโชธาตุ


ตัวคุมธาตุ อวัยวะตางๆ/ ตัวคุมธาตุ
หทัยวัตุ คือ ตัวหัวใจ โครงสรIาง 20 อยาง พัทธะปBตตะ คือ น้ําดีที่อยูในถุง
อุทริยะ คือ อาหารใหม จาก ธาตุดิน น้ําดี
กระเพาะ ถึงลําไสIเล็กสวนตIน อพัทธะปBตตะ คือ น้ําดีที่อยูนอก
น้ําทั้งหลาย ใน (ปถวี) สิ่งเผาพลาญ/
กรีสะ คือ อาหารเกา หรือ ถุงน้ําดี ในลําไสI ในเลือด
รางกาย12 อยาง การยอย 4 อยาง
อุจจาระหรือของเสียที่ขับถาย กําเดา คือ องคแหงความรIอน/
ออกมา ธาตุน้ํา ชีวิต = ขันธ 5 ธาตุไฟ ศูนยควบคุมความรIอนในรางกาย
(อาโป) (รูป/กาย + นาม/จิต) (เตโช)
ธาตุน้ํา/อาโปธาตุ อากาศธาตุ/ชองวาง
ตัวคุมธาตุ ธาตุลม/วาโยธาตุ
ศอเสมหะ คือ น้ํา มูก เมือก ตั้งแต
ธาตุลม ตัวคุมธาตุ
คอ จรดปลายจมูก จนถึงศีรษะ (วาโย) หทัยวาตะ คือ ลมเกี่ยวกับหัวใจ
อุระเสมหะ คือ น้ํา มูก เมือก น้ํายอย พลังงานแหงการ จิตหรือลมที่ทําใหIหัวใจเตIน
ตั้งแต คอ ไปถึงกระเพาะอาหาร จนถึง เคลื่อนไหว 6 อยาง สัตถกวาตะ คือ ลมที่คมเหมือน
ลําไสIสวนตIน อาวุธ ลักษณะเฉียบพลัน และแหลม
คูถเสมหะ คือ น้ํา มูก เมือก บนลําไสI วาตะ(ลม) เจ็บแปลบ
ตอนปลายถึงทวารหนัก รวมทั้ง สุมนาวาตะ คือ ระบบการไหลเวียน
กระเพาะปMสสาวะ ทางเดินปMสสาวะ
ตรีโทษ ของเลือด และประสาท หรืออื่นๆ
ที่มีผลตอการเคลื่อนไหว
กลไกการเกิดโรคเบาหวาน ตามหลักทฤษฎีการแพทยแผนไทย
คําอธิบาย อุทริยัง/อาหารใหม
มูลเหตุการณเกิดโรค
• อาหารและพฤติกรรมการรับประทาน ไดIแก
- อาหารที่มีรสหวานและรสมัน
เขIาสูรางกาย
- การรับประทาน อาหารในปริมาณที่มากกวา
กรีสัง/อาหารเกา กําลังไฟยอยในรางกาย/กินเกินอิ่ม ไมเหมาะกับอายุ/
อาหารรสหวาน มัน หวานชุม ธาตุเจIาเรือนของตน
การทานอาหารปริมาณ ระยะเวลานาน - การรับประมานอาหารที่เหนี่ยวนําใหIไฟยอยใน
มาก อาหารเพิ่มไฟยอย ธาตุสมุฏฐาน รางกายเพิ่มมากขึ้น/อาหารที่ยอยยากและตIองใชIกําลัง
ในรางกาย/อาหารยอย ปtตตะ/ไฟกําเริบ ไฟยอยสูง ประจํา เปuนเวลานาน เชน เนื้อสัตว ของมัน
อุตุสมุฏฐาน
ยาก เชน เนื้อสัตว ของ อายุสมุฏฐาน ของทอด
ทอด ของมัน • อุปปาติกะ เกิดขึ้นโดยไมทราบสาเหตุ เชน จาก
กาลสมุฏฐาน
ปtตตะออนกําลังลง โรคในเด็ก หรือโรคซางที่รักษาไมหาย แลIว
ประเทศสมุฏฐาน กลายเปuน กษัย ทําใหIอวัยวะและรางกายเสื่อม
พฤติกรรมกอโรค • พฤติกรรมสุขภาพ ทําใหIเกิดโรคและเพิ่มไฟ
กําเริบ ไดIแก อดนอน อดน้ํา อดอาหาร กลั้น
เสมหะ/น้ํากําเริบ ปMสสาวะ กลั้นอุจจาระ ทํางานหนัก เศรIาโศก
ปากแหIง โมโหโทโส อยูในอิริยาบถซ้ําๆนานๆ ออกทาทาง
คอแหIง ผิด ดื่มสุรา
ลมพัดทั่วรางกายไม ปMสสาวะ • ผิดปกติแตEกําเนิด มีความพิการของไฟธาตุหรือ
ตกลงสูเบื้องต่ํา
สะดวก บอย ธาตุดิน ที่เปuนที่ตั้งของไฟธาตุ
กลไกการเกิดโรคเบาหวาน ตามหลักทฤษฎีการแพทยแผนไทย
คําอธิบาย คําอธิบายเพิ่มเติม
อุทริยัง/อาหารใหม • อาหารใหม ถูกยอย เปuนอาหารเกา หวานชุม ดูดซึมเปuนอาหารหลอ
เลี้ยงรางกาย และอีกสวนถูกขับออก
เขIาสูรางกาย • ช'วงมัจฉิมวัย(16-32 ปg) มีป;ตตะหรือไฟธาตุเป"นสมุฏฐาน ร'างกายมี
พลังในการย'อยมาก
กรีสัง/อาหารเกา
• พฤติกรรมการกินในปริมาณมากหรือมากเกินกําลังไฟธาตุ ไฟย5อย
อาหารรสหวาน หวานชุม ทํางานหนักก็จะอ5อนกําลังลง เมื่อเขาสู5ช5วงป7จฉิมวัยหรืออาจยังไม5ถึง
มัน การทาน ช5วงป7จฉิมวัย
ระยะเวลานาน ธาตุสมุฏฐาน
อาหารปริมาณ • อาหารรสหวาน บํารุงธาตุน้ําหรือระบบเสมหะในร'างกาย และซึมซาบ
มาก อาหารเพิ่ม ปtตตะ/ไฟกําเริบ อุตุสมุฏฐาน บํารุงผิวเนื้อ เมื่อไฟย'อยผิดปกติ การซึมซาบจะไม'สมบูรณ เกิดการ
ไฟยอยใน อายุสมุฏฐาน กําเริบหรือการคั่งของน้ําหรือเสมหะ
รางกาย/อาหาร กาลสมุฏฐาน • เมื่อน้ํามีปริมาณมาก ลมและไฟที่อยู'ตามเนื้อ เคลื่อนที่ผ'านเนื้อลําบาก
ยอยยาก เชน ประเทศ เลือดลมจึงไหลเวียนไม'สะดวก จึงทําให,มีอาการ เหนื่อยง'าย ผิวช้ําง'าย
เนื้อสัตว ของ
ปtตตะออนกําลังลง สมุฏฐาน ปวดเมื่อยเนื้อตัว หรือมีอาหารชา หากเป"นแผลก็จะแฉะและสมานยาก
พฤติกรรมกอ • น้ําเคลื่อนลงสู'ที่ต่ํา น้ําจึงไปกองบริเวณส'วนล'างของร'างกาย จึงมีอาการ
ทอด ของมัน
แสดงออก คือ ส'วนบนแห,ง (ปากแห,ง คอแห,ง) ส'วนล'างมีน้ํามาก (ปวด
โรค
ตึงขา ขาบวม ปEสสาวะมาก ปEสสาวะบ'อย)
เสมหะ/น้ํากําเริบ • ร'างกายที่ชุ'มน้ํา ทําให,ช'องว'างในเนื้อเยื่อต'างๆของร'างกายชุ'มไปด,วยน้ํา
ปากแหIง ลมและไฟไม'สามารถพัดไปตามส'วนต'างๆของร'างกายได,สะดวก อวัยวะ
คอแหIง ภายในทํางานหนักขึ้น มีผลทําให,เกิดอาการหรือโรคแทรกซ,อน เช'น
ลมพัดทั่วรางกายไม ปMสสาวะ ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรตไต
น้ําตกลงสูเบื้องต่ํา หากไม5สามารถควบคุมโรคหรือการดําเนินโรคได ธาตุไฟจะเสื่อมและ
สะดวก บอย •
หย5อนลง ส5งผลต5อธาตุอื่นหย5อนกําลังลงตามจนสุดทายร5างกายเสื่อม
ลง และเสียชีวิต
แนวทางการคัดกรองโรคเบาหวานในผูใG หญE ตามหลักการแพทยแผนปจจุบัน
(Clinical Practice guidline for diabetes 2017)

ผูIใหญที่มีปMจจัยเสี่ยงตามเกณฑประเมิน
การคัดกรองเบาหวานควรทําใน
ตรวจวัดระดับ fasting ≥100 มก./ดล. ตรวจวัดระดับ fasting capillary 1. อายุ 35 ปq ขึ้นไป
plasma glucose blood glucose จากปลายนิ้ว 2. อIวน และมี พอ แม ญาติ
เปuนเบาหวาน
75 กรัม OGTT 3. โรคความดันโลหิตสูง หรือ
<100 มก./ดล. 100-125 มก./ดล. กําลังกินยาลดความดัน
ระดับ fasting plasma 2 h.140-199 4. ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ
glucose <100 มก./ดล. • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชีวิต มก./ดล. TG ≥ 250 และ/หรือ
• วัดระดับ fasting plasma HDL < 35 มก/ดล.
glucose ซ้ําตาม คําแนะนํา วินิจฉัย 5. เบาหวานขณะตั้งครรภ
ระดับ fasting plasma หรือ คลอดบุตร นน. > 4
วินิจฉัย IFG IFG + IGT
glucose 100-125 มก./ดล. กิโลกรัม
วินิจฉัย IFG 6. เคยตรวจพบวาเปuน IGT /
IFG
ระดับ fasting plasma วัด fasting plasma glucose 2 h.<140 7. มีโรคหัวใจและหลอดเลือด
glucose >126 มก./ดล. ซ้ําในวันอื่นเพื่อยืนยันอีกครั้ง <126 มก./ดล. มก./ดล. 8. มีกลุมอาการถุงน้ําในรังไข
(polycystic ovarian syndrome)
≥126มก./ดล. 2 h. ≥200 อIวน หมายถึง BMI ≥ 25 กก/ม2
มก./ดล และ หรือ รอบเอว ≥ 90 ผูIชาย
≥ 80 สําหรับผูIหญิง
ลงทะเบียน
สEงตEอพบแพทย วินิจฉัยเป[นเบาหวาน
ผูIปhวยเบาหวานผูIใหญ
แนวทางการรักษาผูGป\วยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ตามหลักการแพทยแผนปจจุบัน
(Clinical Practice guidline for diabetes 2017)

เมื่อวินิจฉัยเป[นเบาหวาน
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชีวิต
พลาสมากลูโคสขณะอดอาหาร โภชนบําบัด การออกกําลังกาย เรียนรูIโรคเบาหวานและการดูแลตนเอง
<180 มก./ดล. หรือ A1C <8.0% 1-3 เดือนถIายังควบคุมไมไดIตามเป}าหมาย ใหIเริ่มรักษาดIวยยา

ไมEไดGตามเปาหมาย
พลาสมากลูโคสขณะอดอาหาร
>180 มก./ดล.หรือ A1C >8% ใหGยา Metformin
ปรั บ ยาที่เป[นทางเลือก: Sulfonylureas หรือ Glitazones หรือ
กรณีพลาสมากลูโคสขณะอดอาหาร เปลี่ ย น DPP-4 inhibitorsยาที่เปuนทางเลือก: Sulfonylureas หรือ Glitazones หรือ
>220 มก./ดล. หรือ A1C >9% DPP-4 inhibitors
อาจพิจารณาเริ่มยา 2 ชนิดรEวมกัน พฤติ ไมEไดGตามเปาหมาย
ตั้งแตEเริ่มรักษา กรรม การใชGยารEวมกัน 2 ชนิด (เพิ่มเสริมกับ metformin)
กรณีพลาสมากลูโคสขณะ
พรI อ ม ยาชนิดที่ 2 ที่ควรใชG คือ Sulfonylureas
อดอาหาร >300 มก./ดล. หรือ กั บ ยาที่เป[นทางเลือก ไดIแก 1. Thiazolidinediones 2. DPP-4 inhibitors
A1C >11% รEวมกับมีอาการ
จากน้ําตาลในเลือดสูง
เริ่ ม 3. SGLT-2 inhibitors 4. α– glucosidase inhibitors 5. Repaglinide
ยา 6. Basal insulin 7. GLP1 analogThiazolidinediones
ไมEไดGตามเปาหมาย
ไดGรับการรักษาอยูE
แตEพลาสมากลูโคส ยาเม็ดลดน้ําตาลรEวมกับฉีด
ขณะอดอาหาร >300 มก./ดล. หรือ ยาลดน้ําตาล
basal insulin
A1C >11% ± มีโรคหรือภาวะอื่น 3 ชนิด
แนวทางการบูรณาการการดูแลโรคเบาหวานดGวยการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
ผูIใหญที่มีปMจจัยเสี่ยงตามเกณฑประเมิน ประเภทผูปวยเบาหวานตามกลุ5มสี
(ตามเกณฑ) จังหวัดพิจิตร)
กลุ5มสีเขียว = มีความเสี่ยงต่ํา ไม'มี
ผลการคัดกรอง ภาวะแทรกซ,อน
กลุ5มสีเหลือง = มีความเสี่ยงปาน
วินิจฉัย IFG วินิจฉัยเป[นเบาหวาน กลาง พบโรคแทรกซ,อนระยะต,น
เบาหวานราย กลุ5มสีสม = เสี่ยงสูง พบโรคแทรก
ใหม' ระยะปรับ เบาหวาน เบาหวาน เบาหวาน เบาหวาน ซ,อนระยะกลาง
พฤติกรรม กลุ5มสีแดง = พบโรคแทรกซ,อน
โปรแกรมการปรับ กลุ'ม สีเขียว กลุ'ม สีเหลือง กลุ'ม สีส,ม กลุ'ม สีแดง
รุนแรง
พฤติกรรมและดูแลสุขภาพ
ด,วยแพทยแผนไทย คัดกรองภาวะแทรกซ,อน ประเภทภาวะแทรกซอนเทา
เสี่ยงต่ํา =ไม'พบแผล ที่เท,า ไม'ถูกตัด
ขา เท,า นิ้วเท,า รูปเท,าปกติ การรับรู,
ภาวะแทรกซ,อนเท,า ตา หลอดเลือดหัวใจ ไต ความรู,สึกและชีพจรเท,าปกติ
รายกลุ'ม รายบุคคล และสมอง เสี่ยงปานกลาง= ไม'พบแผล ที่เท,า
เสี่ยงต่ําและ ไม'ถูกตัดขา เท,า นิ้วเท,า รูปเท,าปกติ
เสี่ยงปานกลาง พบการรับรู,ความรู,สึกผิดปกติและ
ชีพจรเท,าเบาลง
เสี่ยงสูง= มีประวัติแผลที่เท,าหรือถูก
โปรแกรมการปองกันและฟ9:นฟูสุขภาพ ตัดขา/เท,า/นิ้วเท,า หรือมีความเสี่ยง
เท,า ด,วยแพทยแผนไทย ปานกลางร'วมกับพบเท,าผิดรูป
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแล กลุEมเสี่ยงโรคเบาหวาน (Pre DM) ดGวยการแพทยแผนไทย
การคัดกรองผูGป\วยโรคเบาหวานในผูGใหญE(ไมEรวมหญิงตั้งครรภ)เพื่อคGนหาผูGป\วย เบาหวาน โปรแกรมปรับพฤติกรรมและดูแลสุขภาพ
ดGวยการแพทยแผนไทย กลุEมเสี่ยง
FBS ≥126 mg% ขั้นตอน 1 ซักประวัติและตรวจประเมิน
ตรวจ Capillary blood FPG 100- ไมใช รอการยืนยันและวินิจฉัยซ้ํา • คํานวณธาตุเจIาเรือนและแนะนํา
glucose 125 mg% จากแพทยแผนปจจุบัน อาหารธาตุเจIาเรือน
ใช • ตรวจสมุฏฐานการเกิดโรค พฤติกรรม
กอโรคและความผิดปกติธาตุ
Impaired fasting glucose(IFG)/Pre DM ขั้นตอน 2 แนะนํากลไกการเกิดโรค
การรักษาและการปรับพฤติกรรมกอโรค
F/U ตามแพทยกําหนด สอบถามความสมัครใจ สEงพบแพทยเพื่อ ขั้นตอน 3 สอนออกกําลังกาย และสมาธิ
ประเมินผลและวัด สEงตEอ เขGา โปรแกรมการปรับพฤติกรรมและ การวินิจฉัย บําบัด
ระดับ FBS ดูแลสุขภาพดGวยแพทยแผนไทย กลุEมเสี่ยง ขั้นตอน 4 ตรวจดูความผิดปกติของธาตุ
รEวมกับยาแผน
ปจจุบัน และสมุฏฐานโรค เลือกอาหารหรือยา
F/U 1-3 เดือน ประเมินผล และตรวจ FPG ซ้ํา สมุนไพรปรับสมดุลธาตุ
• อาการปtตตะเดน เชน ปากแหIง
Good control คอแหIง ใหIสมุนไพรรสขมเย็น เชน
FBS100-125 mg% FBS ≥126 mg%
FBS≤100mg% มะระขี้นก
• อาการวาตะเดน เชน ชา ปวดเมื่อย
สอบถามความสมัครใจ
ใหIสมุนไพรรสรIอน เชน พริกไทยลอน
สEงตEอ เขGา โปรแกรมการปรับพฤติกรรมและ
• อาการทางเสมหะเดน บวมที่เทIา
ดูแลสุขภาพดGวยแพทยแผนไทย กลุEมเสี่ยง
ปMสสาวะมาก ใหIสมุนไพรรสขมหรือ
ขมรIอน เชน ชIาพลู
F/U 6 เดือน ประเมินผลและตรวจ FPG ซ้ํา FBS100-125 mg% FBS ≥126 mg% ขั้นตอน 5 การติดตามตอเนื่อง ในและนอก
หนวยบริการ
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแล กลุEมป\วยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ดGวยการแพทยแผนไทย
1 .เกณฑการเขGารับบริการรักษา
เมื่อวินิจฉัยเบาหวาน รายใหม5 • ผูIปhวยเบาหวาน ชนิดที่ 2 ที่มีอายุ 30-70 ปq
• มีระดับน้ําตาลในเลือดไมเกิน 180 mg/dl และ HBA1C
FPG ≥ 126 มก./ดล 7-7.9
2. เกณฑไมEรับเขGาบริการรักษา
• มีภาวะ Dibetic Ketosis/Ketoacidosis
เบาหวาน ชนิดที่ 2 ระยะ ปรับพฤติกรรม • มีระดับความดันโลหิต SBP >160 หรือ DBP >100
และเขGาเกณฑการรักษาดGวยแพทยแผนไทย มิลลิเมตรปรอท
(1,2) • มีพยาธิสภาพที่ไตรุนแรง SCr >1.5 mg/dl หรือ GFR
<60 หรือ นิ่วในไต
• มีคา อิเลคโตรไลตผิดปกติ Na K Ca
สอบถามความสมัครใจ • อื่นๆ ที่แพทยลงความเห็นวาจะมีอันตรายตอชีวิตผูIปhวย
สEงตEอ เขGา โปรแกรมการปรับพฤติกรรมและ 3. โปรแกรมปรับพฤติกรรมและดูแลสุขภาพดGวย
ดูแลสุขภาพดGวยแพทยแผนไทย กลุEมป\วย แพทยแผนไทย กลุEมป\วย
ขั้นตอน 1 ซักประวัติและตรวจประเมินธาตุและ
F/U 1-3 เดือน ประเมินผล และตรวจ FPG ซ้ํา สมุฏฐานโรค
ขั้นตอน 2 แนะนํากลไกการเกิดโรค การรักษาและ
โปรแกรมการ การปรับพฤติกรรมกอโรค
สEงพบแพทยแผนปจจุบันทุกราย ปองกันและฟuvนฟู ขั้นตอน 3 สอนออกกําลังกาย และสมาธิบําบัด
เพื่อพิจารณาวางแผนการรักษาตEอเนื่อง สุขภาพเทIา ดIวย ขั้นตอน 4 การลIางพิษ(Detoxification)
แพทยแผนไทย ขั้นตอน 5 การปรับสมดุลธาตุ ดIวยอาหารหรือยา
กลุEม สีเขียว กลุ'ม สีเหลือง กลุ'ม สีส,ม กลุ'ม สีแดง สมุนไพร
ขั้นตอน 6 การติดตามตอเนื่อง ในและนอกหนวย
ภาวะแทรกซGอนเทGา บริการ ทุก 1-2 สัปดาห จนครบกําหนด
อาจเริ่มใชGยาแผนปจจุบัน รEวมกับใชG ประเมินและคัดกรอง 4. โปรแกรมการปองกันและฟuvนฟูสุขภาพเทGา
ยาสมุนไพรรักษาเบาหวาน ระดับ เสี่ยงต่ํา/ปานกลาง
ภาวะแทรกซGอน ดGวยแพทยแผนไทย นวด กดจุดฝhาเทIา หรือแชเทIา
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแล กลุEมป\วยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ดGวยการแพทยแผนไทย
โปรแกรมปรับพฤติกรรมและดูแลสุขภาพ
เมื่อวินิจฉัยเบาหวาน รายใหม5 ดGวยแพทยแผนไทย กลุEมป\วย
ขั้นตอน 1 ซักประวัติและตรวจประเมิน
FPG ≥ 126 • คํานวณธาตุเจIาเรือนและแนะนําอาหารธาตุเจIาเรือน
มก./ดล • ตรวจสมุฏฐานการเกิดโรค พฤติกรรมกอโรคและความ
ผิดปกติธาตุ
เบาหวาน ชนิดที่ 2 และเขGาเกณฑการรักษา ขั้นตอน 2 แนะนํากลไกการเกิดโรค การรักษาและการปรับ
ดGวยแพทยแผนไทย (1,2) พฤติกรรมกอโรค
ขั้นตอน 3 สอนออกกําลังกาย และสมาธิบําบัด
ขั้นตอน 4 การลIางพิษ(Detoxification)
สอบถามความสมัครใจ
เลือกใชIยาสมุนไพรเพียง 1 รายการ อยางใดอยางหนึ่ง ไดIแก
สEงตEอ เขGา โปรแกรมการปรับพฤติกรรมและ
ธรณีสันฑฆาต/ มะขามแขก /ชุมเห็ดเทศ จายยาไมเกิน 3
ดูแลสุขภาพดGวยแพทยแผนไทย กลุEมป\วย
วัน
ขั้นตอน 5 การปรับสมดุลธาตุ ดIวยอาหารหรือยาสมุนไพร
F/U 1-3 เดือน ประเมินผล และตรวจ FPG ซ้ํา • เลือกใชIยาสมุนไพร 1 รายการตามเหมาะสมธาตุ
โปรแกรมการ ไดIแก ตรีผลา/เบญจกูล ใชI 5-7 วัน
สEงพบแพทยแผนปจจุบันทุกราย ปองกันและฟuvนฟู • ครบ 5-7 วัน ใหIยาตรีผลา กิน จนครบ 30 วัน/
เพื่อพิจารณาวางแผนการรักษาตEอเนื่อง สุขภาพเทIา ดIวย ติดตอกัน 20 วัน
แพทยแผนไทย • อาการปtตตะเดน เชน ปากแหIง คอแหIง ใหIสมุนไพรรส
ขมเย็น เชน มะระขี้นก
กลุEม สีเขียว กลุ'ม สีเหลือง กลุ'ม สีส,ม กลุ'ม สีแดง • อาการวาตะเดน เชน ชา ปวดเมื่อย ใหIสมุนไพรรสรIอน
เชน พริกไทยลอน
เริ่มใชGยาแผนปจจุบัน รEวมกับใชGยา ประเมินและคัดกรอง ภาวะแทรกซGอนเทGา • อาการทางเสมหะเดน บวมที่เทIา ปMสสาวะมาก ใหI
สมุนไพรรักษาเบาหวาน ระดับ เสี่ยงต่ํา/ปานกลาง สมุนไพรรสขมหรือขมรIอน เชน ชIาพลู
ภาวะแทรกซGอน
ขั้นตอน 6 การติดตามตอเนื่อง ในและนอกหนวยบริการ
ภาคผนวก
การตรวจประเมินทางการแพทยแผนไทย
การซักประวัติ และตรวจร5างกาย อิง ตามระบบ แพทยแผนปEจจุบัน แต'ควรเน,น ประเด็น ค,นหา สมุฏฐานของโรคทาง
การแพทยแผนไทย โดยเฉพาะ ธาตุสมุฏฐาน ซึ่งเป"นสมุฏฐานหลักในการวินิจฉัยและ การวิเคราะห)ความผิดปกติของธาตุ 4 /ตรีธาตุ

การซักประวัติ การตรวจร5างกาย
• ประวัติโดยทั่วไป ที่ใช,ประกอบการวิเคราะห ตามหลัก • สัญญาณชีพ ชีพจร ความดันโลหิต อุณหภูมิร'างกาย การ
สมุฏฐานวินิจฉัย อายุ ธาตุ ประเทศ สมุฏฐาน หายใจ ดัชนีมวลกาย
• อาการสําคัญ อาการนําที่ทําให,มาพบแพทย ตําแหน'งหรือ • การตรวจร5างกายทั่วไป ใช,ประสาทสัมผัส ประเมินสิ่ง
บริเวณที่มีอาการ และระยะเวลาช'วงสั้นที่สุดที่มีอาการ แสดงออกตามสภาวะธาตุทั้ง 4และตรีธาตุในร'างกาย
• ประวัติป7จจุบัน ค,นหา ความเชื่อมโยงหรือความสัมพันธของ - ระบบป;ตตะ : ดูความร,อนและอาการแดง
แต'ละอาการ ตั้งแต'เริ่มต,นมีอาการ จนอาการดําเนินตลอด - ระบบวาตะ : พบความแห,ง สาก ชา และพบภาวะบวม
ระยะเวลาจนถึงปEจจุบัน และ ข,อมูลสาเหตุของอาการ แสดงถึงการคั่งของน้ํา
• ประวัติการรักษา วิธีการดูแลรักษา การใช,ยา การดูแลตนเอง - ระบบเสมหะ : พบการแสดงออกของสีเลือดที่ผิดปกติ เช'น
ของผู,ป-วย ริมฝgปาก ฝ-ามือ ฝ-าเท,า เล็บ มีสีคล้ํา ดูความผิดปกติของโลหิตและ
• ประวัติอดีต โรคประจําตัว ผ'าตัด ของแสลงที่เร,าให,อาการ การไหลเวียน
กําเริบ • การตรวจร5างกายเฉพาะที่/เฉพาะโรค
• ประวัติครอบครัว - ดูสี กลิ่น ลักษณะของปEสสาวะ เป"นฟองหรือไม' ดู ตรีธาตุ
- ทดสอบน้ําตาลในปEสสาวะ เช'น กับมด หรือ ตั้งไฟอ'อนๆ
• ประวัติส5วนตัว การรับประทานอาหาร การดื่มน้ํา อิริยาบถ ความ
ร,อนและเย็น การนอนหลับ การขับถ'าย การออกกําลังกาย การดื่ม - ตรวจบริเวณที่มีตับเป"นที่ตั้ง ด,วยการคลําความร,อน หรือกา
เครื่องดื่มแอลกอฮอล การสูบบุหรี่ และปEญหาทางอารมณ ตรวจชีพจรแต'ละจุดในร'างกาย ประเมินการไหลของเลือดและลม
• ประวัติประจําเดือน ลักษณะประจําเดือนและการไหล ผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ
การตรวจประเมินภาวะแทรกซGอนในผูปG \วยเบาหวาน
เนื่องจากทางการแพทยแผนไทยยังไม'มีวิธีการตรวจและประเมินภาวะแทรกซ,อนในผู,ป-วยเบาหวานที่อ,างอิงได,
ชัดเจน จึงยึดถือแนวทางปฏิบัติตามหลักแพทยแผนปEจจุบันไปก'อน
ภาวะแทรกซอน • ภาวะแทรกซอนจากเบาหวานที่ไต
• ภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา(Hypoglycemia) - ตรวจพบ Urine protein ในปEสสาวะ มีค'า Albumin/Cr
ระดับน้ําตาลในเลือด < 70 มก/ดล. .≥ 300 mg/g และ หรือ eGFR <60 ml/min/1.73 m2
Autonomic symptom/อาการเตือน ใจสั่น หัวใจเต,นรัว หิว รู,สึก • ภาวะแทรกซอนของหลอดเลือดหัวใจและหลอด
หิว รู,สึกร,อน เหงื่อออก กังวล ความดันโลหิตค'าบนสูง กระสับกระส'าย เลือดสมอง
คลื่นไส,และชา
• ภาวะแทรกซอนจากป7ญหาเทาของผูปวยเบาหวาน
Neuroglycopenic symptom/อาการสมองขาดกลูโคส อ'อนเพลีย
รู,สึกร,อนทั้งที่ผิวหนังเย็นและชื้น อุณหภูมิในร'างกายต่ํา มึนงง ปวด
- ความเสี่ยงต่ํา : ยังไม'พบแผลที่เท,า ไม'ถูกตัดขา/
ศรีษะ ตอบสนองช,าลง สับสน ไม'มีสมาธิ ตาพร'ามัว พูดช,า ง'วงซึม เท,า/นิ้วเท,า ผิวหนังและรูปเท,าปกติ การรับความรู,สึกที่เท,า
หลงลืม พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง คล,าย Stroke หมดสติและชัก และชีพจรเท,าปกติ
• ภาวะแทรกซอนจากเบาหวานที่ตา(Diabetic retinopathy) – - ความเสี่ยงปานกลาง : ยังไม'พบแผลที่เท,าหรือถูก
Non-proliferative diabetic retinopathy(NPDR) มี 3 ระยะ ตัดขา/เท,า/นิ้วเท,าและไม'มีเท,าผิดรูป แต'ตรวจพบการรับ
คือ เริ่มต,น ปานกลางและรุนแรง ความรู,สึกที่เท,าผิดปกติและชีพจรเท,าเบาลง หรือตรวจ ABI
- Proliferative diabetic retinopathy(PDR) จอประสาทตา < 0.9
ผิดปกติจากเบาหวานที่มีความรุนแรง - ความเสี่ยงสูง : มีประวัติแผลที่เท,าหรือถูกตัดขา/
- Diabetic macula edema การบวมและมีจอประสาทตาผิดปกติ เท,า/นิ้วเท,า หรือมีความเสี่ยงปานกลางร'วมกับพบเท,าผิดรูป
จากเบาหวานที่ บริเวณแมคูลลา
severe NPDR PDR และ Macular edema ตองติดตามโดยจักษุแพทย)
ยาสมุนไพร/ตํารับยา
รสยา สรรพคุณ วัตถุประสงคในการจEาย
รสขมเย็น บํารุงตับ บํารุงดี ปรับธาตุไฟ ใหIมีความพอดี รสเย็นที่มากับรสขม จะคุมไมใหIธาตุไฟกําเริบจนเกินไป เหมาะกับผูIปhวยที่มีภาวะไฟ
(ระบบยอย) ออนกําลังแตไฟธาตุตามเนื้อเยื่อหรือหัวใจกําเริบ เชน มีอาการผื่นแดง ตัวรIอนรุมๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว รIอนงาย เหงื่อ
บํารุงไฟธาตุ ออกงาย

รสจืดเย็น ชวยขับปMสสาวะ ขับธาตุน้ําที่เปuนสวนเกินออกเพื่อใหIรางกายปรับสมดุล

รสฝาด ทําใหIเนื้อแหIง รัดตัว เพื่อใหIรางกายผูIปhวยเบาหวานที่ชุมจากธาตุน้ํา แหIงลง มักใหIยารสนี้กับผูIปhวยเบาหวานที่มีแผลเรื้อรังและมีการช้ํา


เกิดการสมาน ของเนื้องาย ขIอควรระวัง การใหIยารสฝาดมากเกินไป ทําใหIเกิดความแหIง นําไปสูความเสื่อมและการกําเริบของไฟ
ที่ผิดปกติ
รสเมาเบื่อ แกIน้ําเหลืองหรือปรับ น้ําเหลืองมีลักษณะเปuนธาตุน้ํา แตมีคุณสมบัติเปuนธาตุไฟ หากผูIปhวยเบาหวานที่มีทั้งน้ําและไฟกําเริบ จะตIองใชIยา
เค็มกรอย น้ําเหลือง รสนีป้ รับ สวนมากกลุมยานี้จะใชIกับผูIปhวยที่มีอาการคอนขIางรุนแรง

รสรIอน กระจายลม กระจายลมลงสูคูถทวาร โดยเฉพาะชองทางอุจจาระ จะใชIไดIในกรรีผูIปhวยที่ไมไดIมีอาการแสดงของโรคเบาหวานที่


รุนแรงมาก ยารสนี้จะไมใชIยารสรIอนมากเพราะจะกระทบตอธาตุไฟ สวนใหญยารสรIอนที่ใชIกับโรคเบาหวาน คือ
พลิกไทยลอน
รสหวานมัน บํารุงเนื้อเยื่อ บางครั้งผูIปhวยเบาหวานที่มีอาการแสดงใหIเห็นถึงความเสื่อมหรือความแหIงของเนื้อเยื่อ อาจเกิดจากการเปuนโรค
เรื้อรังมาเปuนเวลานาน ไฟยอยในรางกายไมสามารถยอยสารอาหารที่มีความชุมมันมาเติมเนื้อเยื่อไดI จึงจําเปuนตIอง
มียารสหวานมันมาเติมเต็มในจุดนี้บIาง โดยพิจารณาตามแตละบุคคล ตัวอยางยาที่ใชI เชน ชะเอม มะตูม
เถาวัลยเปรียง แตไมใชIยาเหลานี้ในผูIปhวยที่มีอาการแสดงถึงธาตุไฟที่กําเริบรวมดIวย เชนผูIปhวยที่มีแผลเรื้อรัง
ยาสมุนไพรตํารับ
รายการยา สEวนประกอบ วิธีการใชG ขGอควรระวัง/หลีกเลี่ยง
ยาธรณีสัณ ในผงยา 160 กรัม ประกอบดIวย ชนิดผง • หIามใชIในหญิงตั้งครรภ ผูIที่มีไขI และเด็ก
1. พริกไทยลอน หนัก 96 กรัม รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม • ควรระวังการรับประทานรวมกับยาในกลุมสารกัน
ฑฆาต 2. ยาดําสะตุ หนัก 20 กรัม ละลายน้ําสุกหรือผสมน้ําผึง้ ปM…นเปuนลูกกลอน วัน เลือดเปuนลิ่ม (anticoagulant) และยาตIานการจับ
3. เนื้อลูกสมอไทย มหาหิงคุ การบูร หนักสิ่งละ 6 ละ 1 ครั้ง กอนอาหารเชIาหรือกอนนอน ตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
กรัม 4. รงทอง (ประสะ) หนัก 4 กรัม 5. ผักแพวแดง ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน - ควรระวังการใชIยาอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะอยาง
(ทั้งตIน) เนื้อลูกมะขามป}อม หนักสิ่งละ 2 กรัม รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ ยิ่งในผูIปhวยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจาก
6. ลูกจันทน ดอกจันทน ลูกกระวาน ดอกกานพลู 1 ครั้ง กอนอาหารเชIาหรือกอนนอน อาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษไดI
เทียนดํา เทียนขาว หัวดองดึง หัวบุก หัวกลอย หัว - ควรระวังการใชI รวมกับยา phenytoin,
กระดาดขาว หัวกระดาดแดง ลูกเรว เหงIาขิง ราก propranolol, theophylline และ rifampicin
ชะเอมเทศ รากเจตมูลเพลิงแดง โกฐกระดูก โกฐ เนื่องจากตํารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง
เขมา โกฐน้ําเตIา หนักสิ่งละ 1 กรัม - ควรระวังการใชIในผูIสูงอายุ

เบญจกูล ในผงยา 100 กรัม ประกอบดIวย ชนิดผง • หIามใชIในหญิงตั้งครรภ ผูIที่มีไขI และเด็กเล็ก


ดอกดีปลี รากชIาพลู เถาสะคIาน รากเจตมูลเพลิงแดง รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1 กรัม วัน • ไมควรใชIยานี้ในฤดูรIอน จะสงผลใหIไฟธาตุกําเริบ
เหงIาขิงแหIง หนักสิ่งละ 20 กรัม ละ 3 เวลา หลังอาหาร • ไมควรรับประทานติดตอกันนานเกิน 7 วัน
ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน
รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1 กรัม วัน
ละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
ตรีผลา ในผงยา 90 กรัม ประกอบดIวย ชนิดชง • ควรระวังการใชIในผูIปhวยที่ทIองเสียงาย
เนื้อลูกสมอไทย เนื้อลูกสมอพิเภก เนื้อลูก รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ชงน้ํารIอน
มะขามป}อม หนักสิ่งละ 30 กรัม ประมาณ 120 – 200 มิลลิลิตร ทิ้งไวI 3 - 5 นาที
ดื่มในขณะยังอุน เมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง
ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน
รับประทานครั้งละ 300 - 600 มิลลิกรัม เมื่อมี
อาการไอ วันละ 3 - 4 ครั้ง
ยาสมุนไพรตํารับ
รายการยา สEวนประกอบ วิธีการใชG ขGอควรระวัง/หลีกเลี่ยง
ตํารับยารักษาเบาหวาน หัวขIาวเย็นเหนือ 3 สวน กาฝากงิ้ว 3 สวน วิธีทํา
โรงพยาบาลเทิง ตะลอมดิน 3 สวน ไมยราบทั้ง 5 1 สวน บดเปuนผงบรรจุแคปซูลเบอร
ตับหมาก 1 สวน หัวขIาวเย็นใตI 3 สวน 500
วิธีใชI
ลูกมะขามป}อม 1 สวน สมอไทย 2 สวน
ขนาดรับประทานยาสมุนไพร 2
เถาชะเลือด 3 สวน สมอพิเภก 3 สวน แคปซูล รับประทาน 3 เวลา
เปลือกงิ้วแดง 3 สวน มะขามป}อม 3 สวน กอนอาหาร
หญIาหนวดแมว 1 สวน มะแวIง เครือ 1 สวน *** ถIาระดับน้ําตาลลดลงปกติ
ฟ}าทะลายโจร 3 สวนรากลําเจียก 3 สวน รับประทาน 2 เวลา กอนอาหาร
กําแพงเจ็ดชั้น 3 สวน หญIาตีนนกทั้งเถา 3 สวน เชIา เย็น
เถายานาง 5 สวน ใบมะยม 3 สวน
ตํารับยามธุรเมหะ เถากําแพงเจ็ดชั้น หัวขIาวเย็นเหนือ หัวขIาวเย็นใตI สําหรับผู,ป-วยเบาหวานที่แรกเริ่ม • ผลข,างเคียงที่พบได,แก'
(สูตรอาจารยนิรันดร พงศ รากคนทาสวนเหนือดินตIนโคกกระสุน ตIนชะเอม วินิจฉัยหรือเป"นเบาหวานใน เวียนศีรษะ ใจสั่น เบื่อ
สร,อยเพ็ชร และมูลนิธิฟyzนฟู ไทย หัวเตาเกียด หัวเตารั้ง สวนเหนือดิน ระดับกลางที่ไม'สามารถคุม อาหาร นอนไม'หลับ
ระดับน้ําตาลในเลือดได, คลื่นไส,อาเจียน ท,องอืด
การแพทยไทยเดิม ในพระ ทองพันชั่ง เถาบอระเพ็ด ฟ}าทะลายโจร เถามวก
บดเป"นผงบรรจุแคปซูล หิวบ'อย
ราชูปถัมภฯ) แดง เถามวกขาว ผลมะแวIงเครือ รากลําเจียก รับประทาน 350-3,500
ผลสมอไทย สมอพิเภก สมอเทศ เถาแสIมIาทะลาย มิลลิกรัมต'อวัน ก'อนอาหารหรือ
หัวรIอยรู รากหญIาคา สวนเหนือดิน เหงือกปลา หลังอาหาร และปรับลดขนาด
หมอ สวนเหนือดิน หญIาหนวดแมว หัวแหIวหมู ใบ ยาตามระดับน้ําตาลในเลือด
อินทนิลน้ํา อยางละ 1 สวน และสวนเหนือดินตIน ผู,ป-วย
ครอบจักรวาร 3 สวน
ยาสมุนไพรเดี่ยว
รายการยา รสยา/สรรพคุณ วิธีการใชG ขGอควรระวัง/หลีกเลี่ยง
มะขามแขก ผงใบ หรือผงใบและฝMกมะขามแขก ชนิดชง • ขGอหGามใชG:ผูIปhวยที่มีภาวะทางเดินอาหารอุดตัน
(Senna alexandrina Mill.) ผงใบ รับประทานครั้งละ 2 กรัม ชงน้ํารIอน (gastrointestinal obstruction) หรือปวดทIองโดยไม
หรือผงใบและฝMกมะขามแขก ประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร กอนนอน ทราบสาเหตุ
(Senna alexandrina Mill.) ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด • ขGอหGามใชG:ผูIปhวยที่มีภาวะทางเดินอาหารอุดตัน
รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1.2 (gastrointestinal obstruction) หรือปวดทIองโดยไม
กรัม กอนนอน ทราบสาเหตุ
ผงใบชุมเห็ดเทศ [Senna ชนิดชง • ขGอควรระวัง:- ควรระวังการใชIในเด็กอายุต่ํากวา 12 ปq
ชุมเห็ดเทศ
alata (L.) Roxb., Cassia alata รับประทานครั้งละ 3 – 6 กรัม ชงน้ํา หรือในผูIปhวย inflammatory bowel disease
L. (ชื่อพIอง)] ที่มีสารสําคัญ รIอนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร นาน - การรับประทานยาในขนาดสูง อาจทําใหIเกิดไต
hydroxyanthracene 10 นาที วันละ 1 ครั้ง กอนนอน อักเสบ (nephritis)
derivatives โดยคํานวณเปuน ชนิดแคปซูล - ไมควรใชIติดตอกันเปuนเวลานาน เพราะจะทําใหI
rhein-8-glucoside ไมนIอยกวา รับประทานครั้งละ 3 – 6 กรัม วันละ 1 ทIองเสีย ซึ่งสงผลใหIมีการสูญเสียน้ําและเกลือแรมาก
รIอยละ 1.0 โดยน้ําหนัก (w/w) ครั้ง กอนนอน เกินไปโดยเฉพาะโพแทสเซียม และการใชIติดตอกัน
เปuนระยะเวลานานจะทําใหIลําไสIใหญชินตอยา ถIาไมใชI
ยาจะไมถาย
- ควรระวังการใชIยานี้กับหญิงตั้งครรภและหญิงใหIนม
บุตร
• ขGอควรระวัง:- ควรระวังการใชIในเด็กอายุต่ํากวา 12 ปq
หรือในผูIปhวย inflammatory
ยาสมุนไพรเดี่ยว
รายการยา รสยา/สรรพคุณ วิธีการใชG ขGอควรระวัง/หลีกเลี่ยง
ชIาพลู/ชะพลู รสรIอน ใชIชะพลูสดทั้ง 5 จํานวน 7 ตIน ลIางน้ําใหIสะอาด ใสน้ํา • จะตIองตรวจน้ําตาลในปMสสาวะกอนดื่ม
พอทวม ตIมใหIเดือดสักพักนํามาดื่ม เหมือนดื่มน้ําชา และหลังดื่มทุกครั้งเพราะวาน้ํายานี้ทํา
ใหIน้ําตาลลดลงเร็วมากตIองเปลี่ยนตIน
ชะพลูใหมทุกวันที่ตIม ตIมดื่มตอไปทุก
วัน จนกวาจะหาย
เตยหอม รสหอมเย็น ลดอาการกระหาย ใบสดตIมกับน้ําดื่ม • ระวังในผูIปhวยที่เสี่ยงน้ําตาลในเลือดต่ํา
น้ํา บํารุงหัวใจ ทําใหIชุมชื่น ตIน
และรากเปuนยาขับปMสสาวะ
รักษาโรคเบาหวาน และแกIกษัย
น้ํา เบาพิการ
ตําลึง รสเย็น คั้นน้ําสดจากทั้งตIน รับประทานกอนอาหาร 3 มื้อ • ระวังในผูIปhวยที่เสี่ยงน้ําตาลในเลือดต่ํา

อินทนิลน้ํา รสขม ใบ รักษาโรคเบาหวาน ใชIใบตากแหIง 10 % ของ ระดับน้ําตาลในเลือด • ระวังในผูIปhวยที่เสี่ยงน้ําตาลในเลือดต่ํา


ลดน้ําตาลในเลือด ขับปMสสาวะ บีบใหIแตก เติมน้ําเทาปริมาณที่คนไขIดื่มในแตละ
วัน ในหมIอเคลือบหรือหมIอดิน เคี่ยวใหIเดือด
ประมาณ 15 นาที ดื่มแทนน้ําติดตอกัน 20-30 วัน
ตรวจระดับน้ําตาลในเลือดอีกครั้ง
มะระขี้นก รสขม ผลรักษาโรคเบาหวาน บดผลละเอียด บรรจุแคปซูล 400 mg รับประทาน • ระวังในผูIปhวยที่เสี่ยงน้ําตาลในเลือดต่ํา
ลดน้ําตาลในเลือด แกIไขI แกI ครั้งละ 2-4 แคปซูล กอนอาหารเชIา-เย็น ปรับ
รIอนใน ขนาดตามระดับน้ําตาลในเลือด
ยาสมุนไพรปรุงเฉพาะราย ตํารับแกGโรคเบาหวาน
รายการยา สEวนประกอบ วิธีการใชG ขGอควรระวัง/
หลีกเลี่ยง
ยาเบาหวานสูตร 1 แกนพรม แกนปรู ขี้เหล็กทั้ง 5 แกนลั่นทม เกลือสินเธาว แสมทั้ง ตIมกิน ครั้งละ
(บํารุงตับออน ชวย 2 เถาวัลยเปรียง เปลือกตIนไขเนา หัวรIอยรู พยับเมฆ สิ่งละ 1 ครึ่งแกIว หรือกิน
กระตุIนการเผาผลาญ บาท ขาวเย็นทั้ง 2 สิ่งละ 2 บาท เหมือดคน ขมิ้นเครือ ลูกมะแวIง ครั้งละ 1-2 ถIวยชา
รักษาเบาหวานแรก สิ่งละ 3 บาท (ตIมเคี่ยว) กอน
เปuน) อาหารเชIา-เย็น
ยาเบาหวานสูตร 2 รากมะแวIง ชะเอมไทย แซมIาทะลาย ลูกกระดอม บอระเพ็ด หญIา ตIมกิน ครั้งละ
(สําหรับผูIที่กินยา แพรก สารภี สิ่งละ 1 บาท เบญจกูล มะตูมออน แฝกหอม ครึ่งแกIว กอน
เบาหวานแผนปMจจุบัน ลูกผักชีลา แหIวหมู ขมิ้นอIอย จันทรเทศ ครอบฟMนสี โคกกระสุน อาหารเชIา-เย็น
อยูประจํา ใหIใชI คนละ แกแล พยับเมฆ เหงือกปลาหมอ กําแพงเจ็ดชั้น จันทรแดง ตรี
เวลากับการกินยาแผน ผลา สิ่งละ 2 บาท ขIาวเย็นทั้ง 2 สิ่งละ 4 บาท
ปMจจุบัน)
ยาเบาหวานสูตร 3 โคกกระสุน ขมิ้นเครือ เถามวกทั้ง 2 รากลําเจียก เหงIาสับปะรด ตIมกิน ครั้งละ
(สูตร อ.วันทนี เจตน แซมIาทะลาย รากมะแวIงทั้ง 2 ชะเอมไทย กําแพงเจ็ดชั้น แสมสาร ครึ่งแกIว กอน
ธรรมจักร) จันทรแดง สิ่งละ 3 บาท อาหารเชIา-เย็น

ที่มา : โรคเบาหวาน อ.วันทนี เจตนธรรมจักร


สมาธิบําบัด
ตัวอยEาง กรณีศึกษา การรักษาผูGป\วยโรคเบาหวาน ตามหลักการแพทยแผนไทย
ขGอมูลประวัติ
• ผูIปhวยหญิง อายุ 54 ปy มาพบแพทยดGวยอาการปสสาวะบEอยในชEวงกลางคืน อาการดังกลาวเปuนมา 2 เดือนกวา บางคืน ปMสสาวะ 2-3
ครั้ง ทําใหIตื่นนอนตอนเชIา รูIสึกเพลีย บางวันรูIสึกคอแหIง หิวน้ําบอย ทั้งๆที่อากาศไมรIอน
• ปสสาวะมาก ไมEมีกลิ่นฉุน ไมมีอาการตกขาวหรือคันในชองคลอด เคยไปพบแพทยเพื่อตรวจภายใน ไมพบการติดเชื้อใดๆ แตพบวามี
น้ําตาลในปMสสาวะเล็กนIอย แพทยแนะนําใหIควบคุมอาหารและนัดตรวจในอีก 1 เดือน
• บางวันมีอาการวิงเวียนศีรษะ ตIองชงยาหอมรับประทานเปuนบางครั้ง บางวันรับประทานอาหารไมEตรงเวลา จะมีอาการมึนศีรษะ คอแหGง
บางครั้งมีอาการใจสั่น อEอนเพลีย ตIองดมยาดมหรือดื่มน้ําผลไมIกลองที่แชเย็น ก็จะรูIสึกดีขึ้น จากนั้นรับประทานอาหาร อาการตEางๆก็
เป[นปกติ อาการดังกลาวเปuนมามากกวา 6 เดือน แตเปuนมากในชวง 2 เดือนที่ผานมา ผูIปhวยจึงไปพบแพทย
• การตรวจรางกายหลังแพทยนัดตรวจในครั้งที่ 2 พบ ผลเลือด มีระดับน้ําตาลในเลือดสูงประมาณ 140 มก/ดล. สวนคาของไต ตับ ไขมัน
ในเลือดและอื่นๆ ปกติ
• ประวัติครอบครัว ผูIปhวยมีมารดาอายุ 82 ปq เปuนเบาหวานมานาน 20 ปq บิดาอายุ 84 ปq เปuนความดันโลหิตสูง พี่สาวคนโตอายุ 55 ปq เปuน
เบาหวานและไขมันในเลือด ผูIปhวยมีพี่นIอง 2 คน ผูIปhวยไมมีครอบครัว ประกอบธุรกิจสวนตัว(บริษัทรับตรวจสอบและทําบัญชี)
• รับประทานอาหารในบIานเฉพาะมื้อเย็น ชอบรับประทานเครื่องดื่ม เชน กาแฟ ชา ขนมเบเกอรี่ บางครั้ง ถIางานมากก็ไมไดIรับประทาน
มื้อกลางวัน จะมีเพียงเครื่องดื่มและขนมหวานหรือผลไมIที่แมบIานเตรียมใหI จะรับประทานไดIดีในชวงเย็นหลังเลิกงาน
• ไมเคยเจ็บปhวยหรือรับการผาตัดใดๆ เดิมสุขภาพแข็งแรง ออกกําลังกายโดยการเดินเร็วบIาง
• ขับถายแตเดิมปกติแตมาชวง 2 เดือนกวานี้มีปMญหาเรื่องการขับถายปละปMสสาวะบอยในตอนกลางคืน
• เปuนคนฐานะดี อารมณดี
• รอบเดือนหมดเมื่อตอนอายุ 50 ปq
• ไมมีอาการผิดปกติใด ความดันโลหิต 130/80 มม.ปรอท อัตราการหายใจ 18 ครั้ง/นาที ชีพจร 78 ครั้ง/นาที อุณหภูมิรางกาย ปกติ
น้ําหนักเปuนปกติ
ตัวอยEาง กรณีศึกษา การรักษาผูGป\วยโรคเบาหวาน ตามหลักการแพทยแผนไทย

สรุปขGอมูลประวัติ
ผูIปhวยเพศหญิง อายุ 54 ปq อาชีพ นักบัญชี
อาการสําคัญ : ปMสสาวะบอยในตอนกลางคืน เปuนมาประมาณ 2 เดือนกวา
ประวัติปจจุบัน : ปMสสาวะบอยในตอนกลางคืน 2-3 ครั้ง มีอาการออนเพลียในตอนเชIา คอแหIง หิวน้ําบอย
ปMสสาวะบอย ไมมกลิ่นฉุน ไมมีตกขาวหรือคันในชองคลอด
ประวัติอดีต : ไมเคยมีอาการเจ็บปhวยหนักหรือรุนแรงที่ตIองนอนโรงพยาบาล ไมเคยมีโรคประจําตัว
ประวัติประจําเดือน: ประจําเดือนหมดเมื่ออายุ 50 ปq ไมมีความผิดปกติใดๆ
ประวัติสEวนตัว: ชอบรับประทานเครื่องดื่มและ เบเกอรี รับประทานอาหารมื้อกลางวันไมเปuนเวลา มื้อเย็น
รับประทานมาก ไมรับประทานอาหรจุบจิบในตอนกลางคืน ดื่มน้ํามาก ขับถายปกติ เพิ่งมีอาการปMสสาวะ
บอยในตอนกลางคืน ประมาณ 2 เดือนมานี้ ทําใหIหลับไมสนิท
ผลตรวจรEางกาย: ความดันโลหิต 130/80 มม./ปรอท อัตราชีพจร 78 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 18 ครั้ง/
นาที อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส น้ําหนัก 80 กิโลกรัม สวนสูง 165 เซนติเมตร ระดับน้ําตาลในเลือด 140
มก./ดล. ตรวจรางกายในระบบอื่นๆ ปกติ มีน้ําตาลในปMสสาวะ ไมพบอาการบวมหรืออาการผิดปกติอื่นๆ
สรุปปญหาที่พบ: ปMสสาวะบอยในตอนกลางคืน ออนเพลีย ระดับน้ําตาลในเลือดสูง 140 มก./ดล.
ตัวอยEาง กรณีศึกษา การรักษาผูGป\วยโรคเบาหวาน ตามหลักการแพทยแผนไทย

การวิเคราะหโรค

• ผูIปhวยอยูในปMจฉิมวัย เปuนวัยของวาตะ
• สมุฏฐานการเกิดโรค คือ เสมหะสมุฏฐานและปtตตะสมุฏฐาน
• เสมหะสมุฏฐานหรืออาโปธาตุสมุฏฐาน อยูในพิกัด พัทธปtตตะและ อพัทธะปtตตะ(น้ําดีหรือ
น้ํายอยที่มีไฟธาตุ)
• ซึ่งทั้งพัทธปtตตะและอพัทธปtตตะนั้น เกิดแตยกนัง(ตับและตับออนซึ่งเปuนที่อยูและที่เกิดของไฟ
ธาตุ)
• เมื่อเกิดภาวะเสื่อมก็จะสงผลตอปtตตะ ไฟธาตุที่อยูในพัทธปtตตะและอพัทธปtตตะ ใหIทําหนIาที่ม
สมบูรณ
• จึงกอใหIเกิดโรคหรืออาการ คือมีน้ําตาลในเลือดและปMสสาวะ เมื่อปMสสาวะออกมาก็มีน้ําตาล
ออกมาดIวย จึงเรียกวาเบาหวาน
ตัวอยEาง กรณีศึกษา การรักษาผูGป\วยโรคเบาหวาน ตามหลักการแพทยแผนไทย

การรักษา
• ใชIยาชวยเสริมการทํางานของไฟธาตุ เสริมการทํางานของตับและตับออน หรือบํารุงตับและตับ
ออน เพิ่มพัทธปtตตะและอพัทธปtตตะ
• แกIอาการทางเสมหะ ชวยในการระบายหรือขับถายของเสียที่ปนมากับเสมหะหรือปนมากับ
อาโปธาตุ และกอใหIเกิดเปuนของเสีย(มละ)ในรางกาย
• ผูIปhวยเปuนเบาหวานในระยะเริ่มตIน จึงยังไมมีอาการรุนแรง หรืออาการแทรกซIอนอื่นๆ จึงเหมาะที่
จะใชIยาเบาหวาน สําหรับคนที่เปuนในระยะเริ่มตIน
• ตIองใหIผูIปhวยควบคุมอาหารและพฤติกรรมกอโรค เชน ลดปริมาณการรับประทานอาหารในกลุม
แป}ง ขIาว น้ําตาล ของหวานตางๆ รวมทั้งเครื่องดื่มที่มีความหวานจากน้ําตาลมากๆ
• ตIองตรวจวัดระดับน้ําตาลในเลือด อยางนIอยเดือนละ 1 ครั้ง โดยพบแพทยเพื่อรับคําแนะนําและ
หมั่นออกกําลังกาย เพื่อใหIมีสุขภาพแข็งแรง
• แพทยตIองติดตามผลการรักษาอยางตอเนื่อง เมื่อใชIยาแลIวอาการดีขึ้นหรือไมดีขึ้น อาจตIองมีการ
ปรับเปลี่ยนยาหรือวิธีรักษา
ตัวอยEาง กรณีศึกษา การรักษาผูGป\วยโรคเบาหวาน ตามหลักการแพทยแผนไทย

การวิเคราะหตํารับยา
• แกEนพรม สรรพคุณ บํารุงกําลัง บํารุงรางกายใหIแข็งแรง
• แกEนปรู สรรพคุณ บํารุงไฟธาตุ เปuนยาแตงน้ําเหลือง แกIริดสีดวงลําไสI
• ขี้เหล็กทั้งหGา สรรพคุณ ถายพิษกษัย ถายพิษเสมหะ ถายโรคเหน็บชา
• แกEนลั่นทม สรรพคุณ ถายเสมหะโลหิต ถายพิษทั้งปวง ถายกามโรค
• เกลือสินเธาว สรรพถายเสมหะ ถายเมือมันในลําไสI แกIพรรดึก
• แสมทั้งสอง สรรพคุณ ถายเสมหะ ถานกษัย ถายโลหิตเสีย แกIลมในกระดูก ถายโลหิตสตรี
• เถาวัลยเปรียง สรรพคุณ ถายเสIน ถายกษัย ขับปMสสาวะ แกIปMสสาวะพิการ ถายเสมหะในทางเดินปMสสาวะ
• เปลือกตGนไขEเนEา สรรพคุณ ทIองเสีย เจริญอาหาร แกIพิษตานทราง
• หัวรGอยรู แกIพิษในขIอในกระดูก แกIขIอปวดบวมแกIพิษประดง
• พยับเมฆ สรรพคุณ ขับปMสสาวะ แกIนิ่ว แกIกษัยปวดเมื่อย
• เหมือดคน สรรพคุณ แกIไขIพิษ แกIรIอนภายใน แกIไขIปวด บวม แกIพิษรIอนในโรคทั่วไป
• ขมิ้นเครือ สรรพคุณ แกIดีพิการ ขับโลหิตที่เปuนลิ่มกIอน บํารุงน้ําเหลือง ขับลม
• ลูกมะแวGงทั้งสอง สรรพคุณ แกIไอขับเสมหะ ชวยใหIน้ําในตับออนเดินดีขึ้น แกIเบาหวาน ขับปMสสาวะ
• ขIาวเย็นทั้งสอง สรรพคุณ แกIพิษประดง ดับพิษในกระดูก แกIน้ําเหลืองเสีย ผื่นคัน แกIปMสสาวะพิการ
ในตํารับยา จะเห็นวา ยาสวนใหญมีสรรคุณ แกIอาการของเสมหะสมุฏฐาน ทั้งขับปMสสาวะ แกIอาการในระบบเลือดและ
น้ําเหลือง เสริมการทํางานของน้ําดี ซึ่งจะชวยเสริมไฟธาตุ ในการยอย โดยการบํารุงน้ําดี บํารุงรางกาย ตลอดจน มียา
ระบาย ชวยลดการสะสมของของเสีย ในรางกาย ทั้งในทางเดินอุจจาระและทางเดินปM
ตัวอยEาง กรณีศึกษา การรักษาผูGป\วยโรคเบาหวาน ตามหลักการแพทยแผนไทย

การรักษา
• ใชIยาชวยเสริมการทํางานของไฟธาตุ เสริมการทํางานของตับและตับออน หรือบํารุงตับและตับ
ออน เพิ่มพัทธปtตตะและอพัทธปtตตะ
• แกIอาการทางเสมหะ ชวยในการระบายหรือขับถายของเสียที่ปนมากับเสมหะหรือปนมากับ
อาโปธาตุ และกอใหIเกิดเปuนของเสีย(มละ)ในรางกาย
• ผูIปhวยเปuนเบาหวานในระยะเริ่มตIน จึงยังไมมีอาการรุนแรง หรืออาการแทรกซIอนอื่นๆ จึงเหมาะที่
จะใชIยาเบาหวาน สําหรับคนที่เปuนในระยะเริ่มตIน
• ตIองใหIผูIปhวยควบคุมอาหารและพฤติกรรมกอโรค เชน ลดปริมาณการรับประทานอาหารในกลุม
แป}ง ขIาว น้ําตาล ของหวานตางๆ รวมทั้งเครื่องดื่มที่มีความหวานจากน้ําตาลมากๆ
• ตIองตรวจวัดระดับน้ําตาลในเลือด อยางนIอยเดือนละ 1 ครั้ง โดยพบแพทยเพื่อรับคําแนะนําและ
หมั่นออกกําลังกาย เพื่อใหIมีสุขภาพแข็งแรง
• แพทยตIองติดตามผลการรักษาอยางตอเนื่อง เมื่อใชIยาแลIวอาการดีขึ้นหรือไมดีขึ้น อาจตIองมีการ
ปรับเปลี่ยนยาหรือวิธีรักษา
เอกสารอGางอิง
• สถาบันการแพทยแผนไทย .แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผูIปhวยดIานการแพทยแผนไทย สําหรับ
โรงพยาบาลการแพทยแผนไทยนํารอง.พิมพครั้งที่ 1.กรุงเทพมหานคร:บริษัท สามเจริญพาณิชย
(จํากัด);2559
• โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสวางแดนดิน.แนวทางการดูแลโรคไมติดตอดIวยการแพทยแผนไทย.
• ภริดา เพิ่มผล.การศึกษาประสิทธิผลและความปลอดภัยของยามธุรเมหะสูตรอาจารยนิรันดร
พงศสรIอยเพ็ชร และมูลนิธิฟŒ…นฟูการแพทยไทยเดิม ในพระราชูปถัมภฯ ในการรักษาผูIปhวย
เบาหวานชนิดที่ 2 .คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ; 2558
• คูมือ แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน 2560 :สมาคมโรคเบาหวาน และสมาคมโรคตอมไรI
ทอแหงประเทศไทย ; 2560
• บัญชียาสมุนไพรหลักแหงชาติ 2556

You might also like