อบรมกว. 5 law

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 45

กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับวิชาชีพ

วิศวกรรม
1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
• กฎหมายที่ใช้ในไทย
• ระบบ CIVIL LAW
• กฎหมายลายลักษณ์อักษร
กฎหมายลายลักษณ์อักษร แบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้
1. บญญัติขนึ้ โดยฝ่ ายนิติบัญญัติ (รัฐสภา)
- กฎหมายรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ
2. บัญญัติขนึ้ โดยฝ่ ายบริหาร
- พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง
3. บัญญัติขนึ้ โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
- ข้อบัญญัติจังหวัด, เทศบัญญัติ, ข้อบังคับตําบล, ข้อบัญญัติ กทม.
2 กฎหมายวิศวกร

พ.ร.บ.วิศวกร พ.ศ.2542 มีเจตนารมณ์


• คุ้มครองความปลอดภัยในชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของ
ประชาชน
• ควบคุมเพื่อกลัน่ กรองความรู้ความสามารถของผู ้ประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรม
• ให้สภาวิศวกรเข้ามามีส่วนช่ วยรัฐในการควบคุมดูแลเพื่อให้
เกิดผลดียงิ่ ขึน้
• ส่งสริมคุณภาพการประกอบวิชาชีพเพื่อให้พร้อมแข่งขันกับ
ต่างประเทศ
สมาชิกสภาวิศวกร
มาตรา 11
พ.ร.บ. วิศวกร พ.ศ. 2542
1. สมาชิกสามัญ
2. สมาชิกวิสามัญ
3. สมาชิกกิตติมศักดิ์

เป็นเงื่อนไขของการได้รับใบอนุญาต

หากขาดจากสมาชิกภาพเมื่อใดให้ใบอนุญาตของผู ้นัน้ สิน้ สุดลง


คุณสมบัติของสมาชิกสามัญสภาวิศวกร
ผู ้สมัครเป็นสมาชิกสามัญจะต้องมีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้

• อายุ ไม่ตาํ่ กว่า 18 ปี บริบูรณ์


• สัญชาติไทย
คุณสมบัติ • ได้รับปริญญาในสาขาวิศวกรรมศาสตร์ตามที่สภา
วิศวกรให้การรับรอง

• ไม่เป็นผู ้ประพฤติผิดจรรยาบรรณอันจะนํามาซึ่ งความ


เสื่อมเสียเกียรติศกั ดิ์แห่งวิชาชีพ
• ไม่เคยต้องโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก โรคเรือ้ น
ลักษณะต้องห้าม • ไม่เป็นผู ้มีจิตฟั่นเฟื อน ไม่สมประกอบ วัณโรค
• ไม่ เ ป็ นโรคต้ อ งห้ า มตามที่ กํ า หนดในข้ อ บั ง คั บ สภา โรคเท้าช้าง
วิศวกร ติดยาเสพติด
โรคพิษสุราเรือ้ รัง
สภาวิศวกร
จัดตัง้ ขึน้ ตามมาตรา 6 ของ พรบ. วิศวกร พ.ศ.2542
โดยกําหนดวัตถุประสงค์ของสภาวิศวกร ( มาตรา 7 )

• ส่งเสริมการศึ กษา การวิจัย และการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม


• ส่งเสริมความสามัคคีและไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของสมาชิก
• ส่งเสริมสวัสดิการและผดุงเกียรติของสมาชิก
• ควบคุมความประพฤติและการดําเนินงานให้ถูกต้องตามมาตรฐาน
และจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรรม
• ช่ วยเหลือ แนะนํา เผยแพร่ และให้บริการทางด้านวิชาการต่าง ๆ
แก่ประชาชน ในเรื่องที่เกี่ยวกับวิทยาการและเทคโนโลยีวิศวกรรม
• ให้คําปรึกษาหรือข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลเกี่ยวกับด้านวิศวกรรม
• เป็นตัวแทนของผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมของประเทศไทย
อํานาจหน้าที่ของสภาวิศวกร ( มาตรา 8 )
• ออกใบอนุญาต
• สัง่ พักใบอนุญาต หรือ เพิกถอนใบอนุญาต
• รับรองปริญญา / ประกาศนียบัตร
• รับรองความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
• เสนอแนะรัฐมนตรี การตัง้ /การเลิก สาขาวิศวกรรมควบคุม
• ออกข้อบังคับต่าง ๆ ของสภาวิศวกร

7
วิศวกรรมควบคุม ( มาตรา 4 )

“วิชาชีพวิศวกรรม” หมายความว่า
วิชาชีพวิศวกรรมในสาขา 1. วิศวกรรมโยธา
2. วิศวกรรมเหมืองแร่ 3. วิศวกรรมเครื่องกล
4. วิศวกรรมไฟฟ้ า 5. วิศวกรรมอุ ตสาหการ
6. วิศวกรรมสิง่ แวดล้อม 7. วิศวกรรมเคมี
และ สาขาวิศวกรรมอื่น ๆ ที่กําหนดในกฎกระทรวง

“วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมมีเพียง 7 สาขาข้างต้น”

http://www.coe.or.th/http_public/download/law/20080215172108-1.PDF
8
คณะกรรมการสภาวิศวกร

คณะกรรมการสภาฯ ทัง้ หมด 20 คน แบ่งออกเป็น


1. กรรมการที่ได้รับเลือกตัง้ จากสมาชิกสามัญและไม่ได้ดํารงตําแหน่งคณาจารย์ใน
สถาบันอุ ดมศึ กษาระดับปริญญาตามมาตรา 24 (1) จํานวน 10 คน สาขาละ 1
คน ที่ได้คะแนนสูงสุดของแต่ละสาขา และที่ได้คะแนนสูงสุด อีก 3 คน
2. กรรมการที่ได้รับเลือกตัง้ จากสมาชิกสามัญและดํารงตําแหน่งคณาจารย์ ใน
สถาบัน อุ ดมศึ กษาระดับปริญญาตามมาตรา 24 (2) จํานวน 5 คน ที่ได้
คะแนนสูงสุดแต่ละสาขาเรียงตามลําดับ
3. กรรมการซึ่ งคณะรัฐมนตรีแต่งตัง้ จากสมาชิกสามัญโดยการเสนอชื่อของ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จํานวน 5 คน ตามมาตรา 24 (3)
การประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ผู ้ประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมจากสภาวิศวกร
วิศวกรรมควบคุม
• บุ คคลธรรมดา
• นิติบุคคล

10
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
บุ คคลธรรมดามี 4 ระดับ ได้แก่
ขอบเขตงาน
ภาคีวิศวกร
(Associate Engineer) งาน ประเภท และขนาดทีท่ ําได้
เป็นไปตามข้อบังคับสภาวิศวกร
สามัญวิศวกร
(Professional Engineer)

วุ ฒิวิศวกร ทําได้ทุกงาน ทุกประเภท


(Senior Professional Engineer) และทุกขนาด

ภาคีวิศวกรพิเศษ ทํางานได้เฉพาะตามที่ระบุ ไว้


(Adjunct Engineer) ในใบอนุญาตฯ เท่านัน้
งานในวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแต่ละสาขามี 6 งานดังนี้
ขอบเขตงาน
go rare and
I
snarasovinoon
ftp.qq
กําหนดอยู ่ใน ข้อบังคับว่าด้วยหลักเกณฑ์และคุณสมบัติ
ของผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแต่ละระดับ
NFFeoVO8o8orononons
พ.ศ. 2551

Moonoassaten
Inside
W N2551 13
คณะกรรมการจรรยาบรรณ
- พ.ร.บ. วิศวกรให้ความสําคัญแก่ จรรยาบรรณวิศวกร
- ผู ้ประพฤติผิดจรรยาบรรณอย่างร้ายแรงอาจถูกพักใช้
ใบอนุญาตได้ไม่เกิน 5 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาตได้

บทกําหนดโทษ
- การฝ่ าฝื น พ.ร.บ. วิศวกร มีโทษจําคุก หรือปรับ หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ
แล้วแต่กรณี
- เช่ น การประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมโดยไม่ได้รับอนุญาต
โทษจําคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ
(มาตรา 71)
3 กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง
แรงงานและปลอดภัย

พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มีเจตนารมณ์


• เพื่อให้การใช้ แรงงานเป็นไปอย่างเป็นธรรม
• ให้ความคุ้มครองแก่การใช้ แรงงานหญิง และเด็กเป็นพิเศษกว่า
การใช้ แรงงานทัว่ ไป
• ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าชดเชย สวัสดิการ
การใช้แรงงานทัว่ ไป
• วันหนึ่งไม่เกิน 8 ชัว่ โมง / ไม่เกิน 48 ชัว่ โมง ต่อสัปดาห์
• หยุ ดไม่น้อยกว่า 1 วัน / สัปดาห์
• จัดให้มีเวลาพักระหว่างการทํางานวันหนึ่งไม่น้อยกว่า 1 ชัว่ โมง
การใช้ แรงงานหญิง
• ห้ามทํางานใต้ดิน ใต้นาํ ้ ในถํา้ ในอุ โมงค์ งานที่ทําในเรือฯ
• ห้ามทํางานบนนัง่ ร้านที่สูงกว่าพืน้ ดินตัง้ แต่ 10 เมตรขึน้ ไป
• มีครรภ์ห้ามทํางานระหว่างเวลา 22.00 น. - 06.00 น.
• มีครรภ์ลาได้ไม่เกิน 98 วัน
• ห้ามเลิกจ้างเพราะมีครรภ์
การใช้ แรงงานเด็ก
• ห้ามจ้างเด็กอายุ ตํา่ กว่า 15 ปี (มาตรา44)
• ห้ามเด็กอายุ ตาํ่ กว่า 18 ปี ทํางานระหว่างเวลา 22:00-06:00 น.
• ห้ามจ้างเด็กอายุ ตํา่ กว่า 18 ปี ทํางานใต้ดิน ใต้นาํ ้ ในถํา้ อุ โมงค์ฯ
• ห้ามเด็กอายุ ตํ่ากว่า 18 ปี ทํางานในโรงฆ่าสัตว์ สถานที่เล่นการพนัน
สถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ
พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทํางาน พ.ศ. 2554 มีเจตนารมณ์

กําหนดกลไกและมาตรการบริหารงานความปลอดภัยให้มี
ประสิทธิภาพ

วางมาตรการควบคุม กํากับ ดูแล และบริหารจัดการด้านความ


ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานให้มี
ความเหมาะสม เพื่อป้ องกัน สงวนรักษาทรัพยากรบุ คคล
4 กฎหมายว่าด้วยโรงงาน

พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 มีเจตนารมณ์


• ควบคุมการจัดตัง้ โรงงานบางประเภทที่อาจเกิดอันตรายจากการประกอบ
กิจการอย่างเคร่งครัด ประเภทอื่นเพียงแต่ดูแลการดําเนินงานเท่านัน้
• ปรับปรุ งระบบการควบคุมดูแลให้สอดคล้องกับสภาพการประกอบกิจการ
• กําหนดให้มีการร่วมรับผิดสําหรับผู ้ท่ีทํางานในโรงงาน (เช่ น วิศวกร)
นอกเหนือจากเจ้าของโรงงานเพื่อให้การควบคุมโรงงานเป็นไปอย่างได้ผลยิง่ ขึน้
นิยามของโรงงาน
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2562 ประกอบด้วยดังนี้

“โรงงาน” หมายความว่า อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะ ที่ใช้


เครื่องจักรที่มีกําลังรวมตัง้ แต่ 50 แรงม้าหรือกําลังเทียบเท่าตัง้ แต่
50 แรงม้าขึน้ ไป หรือใช้ คนงานตัง้ แต่ 50 คนขึน้ ไป โดยใช้ เครื่องจักร
หรือไม่ก็ตาม ทัง้ นีต้ ามประเภท หรือ ชนิดของโรงงานที่กําหนดไว้ใน
กฎกระทรวง

https://www.diw.go.th/hawk/content.php?mode=laws&tabid=1&secid=1
ความรับผิดของวิศวกร
วิศวกรต้องร่วมรับผิดกับเจ้าของโรงงาน กรณีดังนี้
1. โรงงานถูกคําสัง่ ให้หยุ ดประกอบกิจการหรือปิ ดโรงงาน วิศวกรยังฝ่ า
ฝื นทํางานเพื่อให้โรงงานประกอบกิจการต่อไป มีโทษเช่ นเดียวกับผู ้ประกอบ
กิจการโรงงาน (จําคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทัง้ จํา
ทัง้ ปรับ)
2. ผู ้ประกอบกิจการโรงงานกระทําผิดตามพ.ร.บ.นี้ ให้ถือว่าวิศวกรที่
ทํางานในโรงงานและมีหน้าที่รับผิดชอบในการงานส่วนที่มีการกระทําความผิด
ที่เกิดขึน้ นัน้ มีส่วนร่วมหรือรู้เห็นในการกระทําความผิดกับผู ้ประกอบกิจการ
โรงงานและต้องรับโทษเช่ นเดียวกับผู ้ประกอบกิจการโรงงาน (เว้นแต่จะพิสูจน์
ได้ว่าตนมิได้รู้เห็นหรือยินยอมกับการกระทําความผิดนัน้ ) และแจ้งให้สภา
วิศวกรลงโทษด้วย
5 กฎหมายควบคุมอาคาร

ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 มีเจตนารมณ์

• เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในด้านการควบคุมเกี่ยวกับความมัน่ คงแข็งแรง


ความปลอดภัย การป้ องกันอัคคีภัย การสาธารณสุข การรักษา
คุณภาพสิง่ แวดล้อม การผังเมือง การสถาปั ตยกรรม และการอํานวย
ความสะดวกแก่การจราจร
• กฎหมายควบคุมอาคาร บังคับใช้ ในทุกท้องที่ ซึ่ งเป็นผลมาจาก
พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2562 ที่บังคับใช้ ผังเมืองรวมทัง้ ประเทศ
แล้ว
• พืน้ ที่ประกาศพระราชกฎษฎีกาให้ใช้ พ.ร.บ. ควบคุมอาคารฯ มัก
เรียกท้องที่นัน้ ว่าเป็น “เขตควบคุมอาคาร”
• เขตท้องที่ท่ไี ด้มีการประกาศให้ใช้ บังคับผังเมืองรวมตามกฎหมายว่า
ด้วยการผังเมืองหรือเขตท้องที่ท่ีได้เคยมีการประกาศดังกล่าว กรณี
นี้ พ.ร.บ. ควบคุมอาคารบังคับตามเขตผังเมืองรวมนัน้ โดยไม่ต้อง
ตรา
เป็นพระราชกฤษฎีกา
• สําหรับอาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคารชุ มนุมคน
และโรงมหรสพ พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร มีผลใช้ บังคับไม่ว่าท้องที่
ที่อาคารนัน้ ตัง้ อยู ่จะมีการตราเป็น พ.ร.ฎ. หรือไม่ก็ตาม
• ข้อบัญญัติท้องถิน่ สามารถกําหนดรายละเอียด
เพิม่ เติมจากที่กําหนดในกฎกระทรวง หรือกรณีจําเป็นหรือมีเหตุผล
พิเศษเฉพาะท้องถิน่ สามารถกําหนดขัดหรือแย้งกับกฎกระทรวงได้
แต่ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการควบคุมอาคาร
และ รมว.กระทรวงมหาดไทย (มาตรา 10)
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เป็นเรื่องเฉพาะ สําหรับกําหนดบริเวณ
ห้ามก่อสร้างอาคารบางชนิด มีอายุ ใช้ บังคับ 1 ปี (มาตรา 13)
(หากไม่มีการออกกฎกระทรวงหรือข้อบัญญัติท้องถิน่ ภายใน 1 ปี
นับจากวันที่ประกาศนัน้ บังคับใช้ ประกาศฯดังกล่าวจะต้องยกเลิก)
การขออนุญาตก่อสร้างอาคาร

• ก่อสร้าง ดัดแปลง ซ่ อมแซม รือ้ ถอนอาคารต้องขออนุญาต

1. ต่อ เจ้าพนักงานท้องถิน่ (ตามมาตรา 21)


• ต้องได้รับใบอนุญาตก่อนจึงดําเนินการได้

2. แจ้งแบบและเอกสารต่อเจ้าพนักงานท้องถิน่ เพื่อจะก่อสร้าง
โดยไม่ยื่นคําขอรับ ใบอนุญาต (ตามมาตรา 39 ทวิ)
• วิศวกรผู ้ลงนามตามมาตรา 39 ทวิ ต้องมีคุณสมบัติตาม
พ.ร.บ.วิศวกร
• เมื่อแจ้งฯ และได้รับใบรับแจ้งฯ แล้วสามารถก่อสร้างได้เลย
การดําเนินการหลังได้รับใบอนุญาตก่อสร้างอาคารแล้ว
• การก่อสร้างอาคารทุกชนิด ต้องมีผู้ควบคุมงาน ตลอดเวลา
• ผู ้ควบคุมงานจะเป็นใครก็ได้

• ถ้าเป็นอาคารที่ กฎหมายวิชาชีพวิศวกรรม กําหนดว่า เป็น งาน


วิศวกรรมควบคุม ก็ต้องเป็น วิศวกร
• ต้องมีหนังสือแจ้งชื่อผู ้ควบคุมงาน
กฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับวิศวกร

• กฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ.2526) กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข


การก่อสร้าง (มาตรการความปลอดภัยต่อประชาชน)

• กฎกระทรวงฉบับที่ 6 (พ.ศ.2527) กําหนดการรับนํา้ หนัก ค่าหน่วย


แรงต่างๆในการคํานวณออกแบบโครงสร้างของอาคาร ความต้านทาน
ความคงทน ลักษณะ และคุณสมบัติของวัสดุท่ใี ช้ ในการก่อสร้าง

• กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) กําหนดโครงสร้างและอุ ปกรณ์


ซึ่ งเป็นส่วนประกอบ ของ อาคารสูง และ อาคารขนาดใหญ่พิเศษ
กฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับวิศวกร
• กฎกระทรวงฉบับที่ 39 (พ.ศ.2537) กําหนดแบบและวิธีการเกี่ยวกับการติดตัง้ ระบบการป้ องกัน
อัคคีภัย ระบบการจัดแสงสว่าง การระบายอากาศ ระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้ าสํารอง

• กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) กําหนดลักษณะ แบบ รูปทรง สัดส่วน เนือ้ ที่ ที่ตงั ้ ของ
อาคาร เนือ้ ที่ของที่ว่างของอาคารพักอาศัยต้องไม่น้อยกว่า 30 %
- ทางเดินหลังตึกแถวต้องเป็นที่ว่างกว้าง
ไม่น้อยกว่า 3 ม.
- ตัวอาคาร
ยาวไม่เกิน 40 ม.
กฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับวิศวกร

• กฎกระทรวงกําหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของผู ้ออกแบบ ผู ้ควบคุมงาน


ผู ้ดําเนินการ ผู ้ครอบครองอาคาร และเจ้าของอาคาร พ.ศ. 2561

กฎกระทรวงฉบับนี้ มีความสําคัญต่อผู ้ท่ีเกี่ยวข้องในงานก่อสร้างอาคาร ตัง้ แต่


ผู ้ออกแบบ ผู ้ควบคุมงาน ผู ้ดําเนินการ ผู ้ครอบครองอาคาร และเจ้าของอาคาร
เพราะเป็นการกําหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของฝ่ ายต่างๆ ให้มีความชัดเจน
เกี่ยวกับหน้าที่และความรับผิดชอบ
• กฎหมายควบคุมอาคาร เกี่ยวข้องกับกฎหมายอื่นหลายฉบับ เช่ น กฎหมายว่า
ด้วย
การผังเมือง กฎหมายว่าด้วยวิศวกร กฎหมายว่าด้วยสิง่ แวดล้อม กฎหมายว่า
ด้วยทางหลวง เป็นต้น

• การใช้ กฎหมายควบคุมอาคาร ต้องศึ กษากฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องควบคู่ไปด้วย

บทกําหนดโทษ
กฎหมายกําหนดโทษไว้หลายระดับ
• ก่อสร้างโดยไม่ได้รับอนุญาต
• ก่อสร้างอาคารผิดจากแบบแปลน แผนผัง ที่ได้รับอนุญาต
จําคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือปรับไม่เกิน 6 หมื่น หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ และ ปรับอีกวันละ
1 หมื่นบาท ตลอดเวลาที่ยังฝ่ าฝื นหรือจนกว่าจะได้ปฏิบัติให้ถูกต้อง
กฎหมายว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับ
6
การเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ
เจตนารมณ์
• ป้ องกันการสมยอมในการเสนอราคาเพื่อจัดหาสินค้า หรือ บริการ ให้แก่
หน่วยงานของรัฐอันจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประเทศชาติ
• กําหนดลักษณะความผิดและกลไกในการดําเนินการเอาผิดกับ
ผู ้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
• พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542
• พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ ายบริหารในการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต
พ.ศ.2551
บทกําหนดโทษ (พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับ การเสนอราคา
ต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542)

• เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐผู ้ใดซึ่งมีอํานาจหรือหน้าที่ในการอนุมัติ
การพิจารณาหรือการดําเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเสนอราคา
ครัง้ ใด รู้หรือมีพฤติการณ์แจ้งชัดว่าควรรู้ว่าการเสนอราคาในครัง้ นัน้
มีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ละเว้นไม่ดําเนินการเพื่อให้
มีการยกเลิกการดําเนินการเกี่ยวกับการเสนอราคาในครัง้ นัน้ ต้อง
ระวางโทษจําคุกตัง้ แต่ 1–10ปี และปรับตัง้ แต่ 20,000– 200,000 บาท
(มาตรา 10) เช่ น เจ้าหน้าที่ท่ีเป็นวิศวกร
• เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐผู ้ใด หรือผู ้ได้รับมอบหมายจากหน่วยงาน
ของรัฐผู ้ใด (เช่ น วิศวกร) โดยทุจริตทําการออกแบบ กําหนดราคา
กําหนดเงื่อนไข หรือกําหนด ผลประโยชน์ตอบแทน อันเป็นมาตรฐานใน
การเสนอราคา โดยมุ ่งหมายมิให้มีการแข่งขันใน การเสนอราคาอย่าง
เป็นธรรม หรือเพื่อช่ วยเหลือให้ผู้เสนอราคารายใดได้มีสิทธิเข้าทํา
สัญญา กับหน่วยงานของรัฐโดยไม่เป็นธรรม หรือเพื่อกีดกันผู ้เสนอ
ราคารายใดมิให้มีโอกาสเข้าแข่งขัน ในการเสนอราคาอย่างเป็นธรรม
ต้องระวางโทษจําคุกตัง้ แต่ 5-20 ปี หรือจําคุกตลอดชีวิต และปรับตัง้
แต่ 100,000 – 400,000 บาท (มาตรา 11)
7 กฎหมายแพ่ง-พาณิชย์และกฎหมาย
อาญาที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพวิศวกรรม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
• กฎหมายที่กําหนดว่าด้วยเรื่องสิทธิ หน้าที่ และความสัมพันธ์ ระหว่าง
เอกชนต่อเอกชน เช่ น เรื่องสภาพบุ คคล ทรัพย์ หนี้ นิติกรรม
ครอบครัว และมรดก
ประมวลกฎหมายอาญา
• กฎหมายที่กําหนดลักษณะของการกระทําหรือไม่กระทําอย่างใด
ถือว่าเป็นความผิด และกําหนดบทลงโทษทางอาญาสําหรับผู ้กระทํา
ความผิด ทัง้ นี้ เพื่อเป็นรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
และสังคม
โทษทางกฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพวิศวกรรม
มาตรา 227 ผู ้ใดเป็นผู ้มีวิชาชี พในการออกแบบ ควบคุม หรือ
ทําการก่อสร้าง ซ่ อมแซมหรือรือ้ ถอน อาคารหรือสิ่งปลูกสร้างใด ๆ
ไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ์ ห รื อ วิ ธี ก ารอั น พึ ง กระทํ า การนั ้น ๆ โดย
ประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่บุคคลอื่น ต้องระวางโทษจําคุก
ไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาทหรือทัง้ จําทัง้ ปรับ
มาตรา 269 ผู ้ใดในการประกอบการงานในวิชาแพทย์ กฎหมาย
บั ญ ชี ห รื อ วิ ช าชี พ อื่ น ใด ทํ า คํ า รั บ รองเป็ นเอกสารอั น เป็ นเท็ จ
โดยประการที่ น่ า จะเกิ ด ความเสี ย หายแก่ ผู้ อื่ น หรื อ ประชาชน ต้ อ ง
ระวางโทษจําคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทัง้ จํา
ทัง้ ปรับ
ผู ้ ใ ดโดยทุ จ ริ ต ใช้ ห รื อ อ้ า งคํ า รั บ รองอั น เกิ ด จากการกระทํ า
ความผิดตามวรรคแรก ต้องระวางโทษเช่ นเดียวกัน
8 กฎหมายผังเมือง
พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 มีเจตนารมณ์
• กําหนดรูปแบบการวางและจัดทําผังเมืองทุกระดับ
• บริหารจัดการผังเมืองให้มีรูปแบบการดําเนินการและการบริหารจัดการที่
เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดล้อม โดยการวางกรอบนโยบายการพัฒนาพืน้ ที่และการใช้
ประโยชน์ท่ีดินระดับประเทศ ระดับภาค ระดับจังหวัด ระดับเมือง และระดับ
ชนบท
• กระจายอํานาจในการวางและจัดทําผังเมืองให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
• การมีส่วนร่วมของประชาชนผ่านกระบวนการรับฟังความคิดเห็นจาก
ทุกภาคส่วน
• กําหนดหลักเกณฑ์การใช้ ประโยชน์พนื้ ที่และการใช้ ประโยชน์ท่ีดินต้องสอดคล้อง
กับนโยบายและยุ ทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาประเทศ
การวาง จัดทํา และบังคับใช้ ผังเมืองรวม
• ผังเมืองรวมให้ออกเป็นประกาศกระทรวงมหาดไทยหรือข้อบัญญัติท้องถิน่
(มาตรา 32)
• จัดทํารายงานการประเมินผลการเปลี่ยนแปลงสภาพการณ์และ
สิง่ แวดล้อมการใช้ บังคับผังเมืองรวมตามระยะเวลาที่คณะกรรมการผัง
เมืองหรือคณะกรรมการผังเมืองจังหวัดกําหนด แล้วแต่กรณี แต่ไม่เกิน 5
ปี นับแต่วันที่ประกาศกระทรวงมหาดไทยหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นให้ใช้ บังคับ
ผังเมืองรวมใช้ บังคับ หรือนับแต่วันที่คณะกรรมการผังเมืองหรือ
คณะกรรมการผังเมืองจังหวัดพิจารณารายงานการประเมินผลครัง้ ที่
ผ่านมาเสร็จสิน้ ทัง้ นี้ กรณีหากเห็นว่าจําเป็นต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไขจึงจะ
ดําเนินการปรับปรุ งโดยการวางและจัดทําผังเมืองรวมขึน้ ใหม่ (มาตรา 34)
การวาง จัดทํา และบังคับใช้ ผังเมืองเฉพาะ
• การวางและจัดทําผังเมืองเฉพาะให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ
หรือพระราชกฤษฎีกาแล้วแต่กรณี ในกรณีท่ีมีความจําเป็นต้องเวนคืน
อสังหาริมทรัพย์เพื่อให้เป็นไปตามผังเมืองเฉพาะ ให้การเวนคืน
อสังหาริมทรัพย์เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
(มาตรา 39)
• ในระหว่างที่ใช้ บังคับพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา ถ้าองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิน่ หรือกรมโยธาธิการและผังเมืองเห็นว่า
สภาพการณ์และสิง่ แวดล้อมในเขตของผังเมืองเฉพาะได้เปลี่ยนแปลงไป
สมควรแก้ไขปรับปรุ ง ข้อกําหนดหรือรายละเอียดของผังเมือง ให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิน่ หรือกรมโยธาธิการและผังเมืองเสนอขอแก้ไข
ปรับปรุ งผังเมืองเฉพาะต่อคณะกรรมการผังเมือง (มาตรา 49)
แผนผังกําหนดการใช้ ประโยชน์ที่ดนิ ตามกฎกระทรวงให้ใช้ บงั คับผังเมืองรวม กรุ งเทพมหานคร
พ.ศ. 2556

รายละเอียดเนือ้ หา
ใช้ Font Angsana UPC ขนาด 32
9 กฎหมายส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน

เจตนารมณ์
• เพื่อให้มีการผลิตและการใช้ พลังงานอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ การผลิต
เครื่องจักรและอุ ปกรณ์ท่มี ีประสิทธิภาพและวัสดุท่ีใช้ ในการอนุรักษ์ พลังงานขึน้
ในประเทศ โดยกําหนดมาตรการในการกํากับดูแล ส่งเสริมและช่ วยเหลือ
เกี่ยวกับการใช้ พลังงาน และการจัดตัง้ กองทุนส่งเสริมเพื่ออนุรักษ์ พลังงาน
• กําหนด อาคารควบคุม คือ อาคารที่ใช้ ไฟฟ้ าตัง้ แต่ 1,000 kW หรือ 1,175
kVA ขึน้ ไป หรือพลังงานตัง้ แต่ 20 ล้านเมกะจู ลขึน้ ไป
(พ.ร.ฎ.กําหนดอาคารควบคุม พ.ศ. 2538)
• กําหนด โรงงานควบคุม คือ โรงงานที่ใช้ ไฟฟ้ าตัง้ แต่1,000 kW หรือ 1,175
kVA ขึน้ ไป หรือพลังงานตัง้ แต่ 20 ล้านเมกะจู ลขึน้ ไป
(พ.ร.ฎ.กําหนดโรงงานควบคุม พ.ศ. 2540)
ประเภทและขนาดของอาคาร ที่ต้องมีการออกแบบเพื่อการอนุรักษ์ พลังงาน
ได้แก่ การก่อสร้าง หรือดัดแปลงอาคาร ที่มีพืน้ ที่รวมกันทุกชัน้
ในหลังเดียวกัน ตัง้ แต่ 2,000 ตารางเมตรขึน้ ไป ในอาคารดังต่อไปนี้
1.สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล
2.สถานศึ กษา
3.สํานักงาน
4.อาคารชุ ดตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุ ด
5.อาคารชุ มนุมคนตามกฎหมายว่าด้วยการการควบคุมอาคาร
6.อาคารโรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
7.อาคารโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม
8.อาคารสถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ
9.อาคารห้างสรรพสินค้าหรือศูนย์การค้า
(กฎกระทรวงกําหนดประเภท หรือขนาดของอาคาร และมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และ
วิธีการ
ในการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2552)
10 กฎหมายคอมพิวเตอร์

วัตถุประสงค์ ตามพระราชบัญญัตวิ ่าด้วยการกระทําผิดเกี่ยวกับ


คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
• กําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับฐานความผิดของการกระทําผิดใน
การใช้ งานระบบสารสนเทศและบทลงโทษของผู ้ท่ีกระทําผิด
ทําให้ผู้ท่ีจะกระทําผิดต้องคํานึงถึงผลที่จะตามมา
• กําหนดให้ผู้ดูแลระบบสารสนเทศจะต้องดําเนินการปรับปรุ งระบบ หรือ
เพิม่ เติมการทํางานบางอย่างในระบบเพื่อให้ถูกต้องตามข้อกําหนดของ
พระราชบัญญัติด้วย
วัตถุประสงค์ ตามพระราชบัญญัตวิ ่าด้วยการกระทําผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560
• ปรับปรุ งบทบัญญัติในส่วนที่เกี่ยวกับผู ้รักษาการตามกฎหมาย
• กําหนดฐานความผิดขึน้ ใหม่ และแก้ไขเพิม่ เติมฐานความผิดเดิม พร้อม
ทัง้ กําหนดบทกําหนดโทษของความผิดดังกล่าว
• ปรับปรุ งกระบวนการและหลักเกณฑ์ในการระงับการทําให้แพร่หลายหรือ
ลบข้อมู ลคอมพิวเตอร์
• แก้ไขเพิม่ เติมอํานาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เหมาะสมยิง่ ขึน้
ตัวอย่างบทกําหนดโทษ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ฐานความผิด โทษจําคุก โทษปรับ
ม า ต ร า 7 ผู ้ ใ ด เ ข้ า ถึ ง โ ด ย มิ ช อ บ ซึ่ ง ไม่เกิน 2 ปี ไม่เกิน 40,000 บาท
ข้อมู ลคอมพิวเตอร์ (เจาะข้อมู ล)
มาตรา 8 การดักข้อมู ลคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 3 ปี ไม่เกิน 60,000 บาท
มาตรา 11 ส่งข้อมู ลโดยปกปิ ดแหล่งที่มา ไม่มี ไม่เกิน 100,000 บาท
รบกวนบุ คคลอื่น
มาตรา 14 การนําเข้าข้อมู ลอันเป็นเท็จ ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100,000 บาท
มาตร 16 ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงภาพผู ้อื่น ไม่เกิน 3 ปี ไม่เกิน 200,000 บาท
ให้ได้รับความเสียหาย
หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ ในมาตรา 7, 8, 14, 16
บทสรุ ป
- กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิศวกร ดังกล่าว จะมีการปรับปรุ งแก้ไขตลอดเวลา

- วิศวกรต้องติดตามการเปลี่ยนแปลงของกฎหมาย
ซึ่ งอาจมีผลกระทบต่อการประกอบวิชาชีพได้จาก
สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

- ความรู้ท่เี รียนมา เป็นเพียงส่วนประกอบเพื่อเป็นหลัก


ในการทํางานของตัวเองเท่านัน้

- การทํางานในชีวิตจริงต้องทํางานร่วมกับผู ้อื่น ต่อสู้กับคู่แข่งขัน


ต้องรู้จักปรับตัว ให้เข้ากับสังคม จึงจะอยู ่รอดได้
Thank you.

You might also like