Ku Jour 02300148 C 1

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

วิชาการ

ผลิตภัณฑนมทางเลือกจากพืช
Plant-based alternative milk
 ณฐิฒา รอดขวัญ (Natita Rodkwan)
ฝายกระบวนการผลิตและแปรรูป (Department of Food Processing and Preservation)
สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร (Institute of Food Research and Product Development)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (Kasetsart University)

จุดเดน
 พืชที่นิยมนํามาใชผลิตนมทางเลือก
 กระบวนการผลิตนมทางเลือกจากพืช
 ปจจัยที่สงผลตอคุณภาพและการยอมรับผลิตภัณฑนมทางเลือกจากพืช
Highlights
 Types of plant for alternative milk production
 plant-based milk producing process
 Effecting factors on quality and acceptability of plant-based alternative milk
บทคัดยอ
ในปจ จุบั นนมพื ชทางเลื อกมีว างจํา หน ายในทองตลาดอยางแพรหลาย เนื่องจากเปน ผลิตภัณฑในกลุม
อาหารเพื่อสุขภาพที่มีคุณคาทางโภชนาการสูง เปนผลิตภัณฑทางเลือกเหมาะสําหรับผูบริโภคที่แพนมวัวและ
ผูบริโภคที่รับประทานมังสวิรัติ ซึ่งพืชที่นิยมนํามาใชเปนวัตถุดิบมีหลากหลายชนิด เชน ถั่วเหลือง ขาวโอต งา
อัลมอนด ควินัว และจากถั่วตาง ๆ เปนตน ผลิตภัณฑนมพืชมีการพัฒนาทั้งทางดานกระบวนการผลิต การนํา
เทคโนโลยีตาง ๆ มาใชในการผลิตเพื่อพัฒนาใหเปนผลิตภัณฑที่มีคุณคาทางโภชนาการที่ดีเพื่อทดแทนนมวั ว
รวมถึงพัฒนากระบวนการผลิตเพื่อใหไดลักษณะปรากฏ ลักษณะเนื้อสัมผัส กลิ่นรส ความคงตัว และเพื่อใหเปนที่
ยอมรับของผูบริโภค แตอยางไรก็ตามการนําพืชมาผลิตเปนผลิตภัณฑนมทางเลือกอาจมีขอจํากัด เชน สี กลิ่น และ
องค ป ระกอบต า ง ๆ ที่ ยั ง ไม ใกล เ คี ย งกั บ นมวั ว รวมถึง อาจมี การแพ ถั่ว เหลือ งในผู บ ริ โ ภคบางกลุม ดั งนั้ น จึ ง
จําเปนตองมีการศึกษาและเลือกใชพืชในการผลิตนมทางเลือกใหเหมาะสม

คําสําคัญ : นมทางเลือกจากพืช การแพโปรตีนจากนมวัว กระบวนการผลิตนมทางเลือกจากพืช


Keywords : plant-based alternative milk, cow’s milk protein allergy, plant- based milk
producing process

ปที่ 52 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2565 JFRPD 5


บทนํา
ในป จ จุ บั น ผู บ ริ โ ภคให ค วามสํ า คั ญ กั บ การ กลุ ม ผู บ ริ โ ภคที่ มี ป ญ หาการแพ โ ปรตี น จากนมวั ว
รับประทานอาหารที่ดีตอสุขภาพมากขึ้น กระแสการ (cow’s milk protein allergy) และผูบริโภคบางกลุม
บริ โ ภคอาหารและเครื่องดื่ มจากพื ช (plant-based) ไมสามารถยอยน้ําตาลแล็กโทสในนมวัวได (lactose
ไดรับความนิยมมากขึ้น เนื่องจากผูบริโภคมีพฤติกรรม intolerant) จากปญหาดังกลาวจึงเปนขอจํากัดในการ
สนใจอาหารที่ทํา จากพืช ผัก ผลไม ธัญ พืช และถั ่ว ดื่มนมวัว ทําใหผลิตภัณฑเครื่องดื่มและผลิตภัณฑนม
ตาง ๆ สําหรั บผลิ ตภั ณฑนมจากพืชไดรั บความนิย ม จากพืชจึงเปนผลิตภัณฑทางเลือกสําหรับทั้งผูบริโภคที่
เปน อยางมาก โดยพบวา จํานวนงานวิจัย ที่เกี่ ยวกั บ แพนมวัวและผูบริโภคที่รับประทานมังสวิรัติ ปจจุบันมี
plant-based milk ในฐานขอมูล Scopus ในป ค.ศ. ผลิตภัณฑนมจากพืชหลากหลายชนิด ไดแก น้ํานมถั่ว
2011-2021 มีแนวโนมเพิ่มขึ้น ดังรูปที่ 1 เนื่องจากมี เหลือง น้ํานมขาว น้ํานมขาวโอต น้ํานมมะพราว เปนตน

รูปที่ 1 จํานวนงานวิจัยในฐานขอมูล Scopus สําหรับการคนหาคําวา plant-based milk


ที่มา : Bocker and Silva (2022)

พืชที่นิยมนํามาใชผลิตนมทางเลือก
ผลิ ตภั ณฑ นมทางเลือกมี การผลิตจากวั ตถุดิบ สารอาหารตาง ๆ ใกลเคียงกับนมวัว พืชที่นิยมนํามาใช
หลากหลายชนิด เชน ถั่วเหลือง ขาว ขาวโอต งา อัลมอนด เปนวัตถุดิบสามารถแบงออกเปน 5 กลุม ดังนี้
มะพราว ควินัว และจากถั่วตาง ๆ ผลิตภัณฑนมจาก 1. ธัญพืช (cereal based)
พื ช แต ล ะชนิ ด มี คุ ณค า ทางโภชนาการที่ แ ตกต า งกั น ธัญพืชที่นิยมนํามาใช เชน ขาวโอต ขาว และ
แสดงดั ง ตารางที่ 1 การผลิ ต นมจากพื ช มี ก ารใช ข า วโพด โดยข า วเป น แหล ง สารอาหารที่ ดี แ ละมี
เทคโนโลยี ต า ง ๆ เพื่ อ ให ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ไ ด มี ลั ก ษณะ ประโยชน มี ทั้ง คาร โ บไฮเดรต โปรตี น กรดอะมิ โ น
ปรากฏ ลักษณะเนื้อสัมผัส กลิ่นรส ความคงตัวและมี จําเปน วิตามินและแรธาตุ เชน วิตามินอี ฟอสฟอรัส
..................................................................

ปที่ 52 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2565 JFRPD 6


โพแทสเซียม และแมกนีเซียม โดยขอดีของการใชขาว แคลเซียม แมกนีเซียม ซีลิเนียม โพแทสเซียม ไฟเบอร
คือไดผลิตภัณฑนมที่ปราศจากกลูเตน เมื่อนําขาวมา วิ ต ามิ น อี แ ละสารต า นอนุ มู ล อิ ส ระ (Maria and
ผลิตเปนน้ํานมมักจะพบปญหาการแยกชั้นเนื่องจากมี Victoria, 2018) ในน้ํานมจากเมล็ดมะมวงหิมพานต
สตารชในปริมาณสูง จึงตองมีการใชเอนไซมเพื่อยอย ป ร ะ ก อ บ ด ว ย ก ร ด ไ ข มั น ไ ม อิ่ ม ตั ว เ ชิ ง เ ดี่ ย ว
สตารช โดยนิยมใชเอนไซมแอลฟา-อะไมเลส (alpha- (monounsaturated fatty acid) และกรดไขมั น ไม
amylase) บี ต า - อ ะ ไ ม เ ล ส ( beta-amylase) อิ่ ม ตั ว เ ชิ ง ซ อ น ( polyunsaturated fatty acid)
(Amagliani et al., 2017) ประมาณ 70% โดยมีทั้งกรดไขมันไมอิ่มตัวเชิงเดี่ย ว
(monounsaturated fatty acid) และ กรดไขมันไม
2. พืชตระกลูถั่ว (legume based) อิ่ ม ตั ว เชิ ง ซ อ น (polyunsaturated fatty acid) มี
พื ช ตระกลู ถั่ ว ที่ นิ ย มใช คื อ ถั่ ว เหลื อ ง ซึ่ ง ประโยชนตอรางกายคือสามารถชวยลดคอเลสเตอรอล
ประกอบดวยสารอาหาร คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน ช นิ ด แ อ ล ดี แ อ ล ( LDL cholesterol) แ ล ะ เ พิ่ ม
และพบกรดไขมันไมอิ่มตัว เชน linoleic acid (18:2) คอเลสเตอรอลชนิ ด เอชดี แ อล (HDL cholesterol)
และ linolenic acid (18:3) นมถั่วเหลืองมีสารพฤกษ (Amorim et al., 2018)
เ ค มี ( phytochemicals) เ ช น ไ อ โ ซ ฟ ล า โ ว น
(isoflavones) ซาโปนิ น (saponins) และกรดไฟติ ก 4. กลุมเมล็ดพืช (seed based)
(phytic acid) ปจจุบันนมถั่วเหลืองหรือน้ําเตาหูเปนที่ ในกลุมเมล็ดพืชนิยมใชงาและเมล็ดทานตะวัน
นิ ย มดื่ มกั น ทั่ ว ไป เนื่ องจากมี คุ ณค าทางโภชนาการ สําหรับงาเปนแหลงโปรตีน น้ํามัน วิตามินและเกลือแร
ใกลเคียงนมวัว และยังคงมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการ ที่ดี รวมถึงมีสารตานอนุมูลอิสระสูง (Hassan et al.,
เติมแคลเซียมเพื่อใหคุณคาทางโภชนาการเทียบเทากับ 2012) งามี ไขมั นประมาณ 37% โดยมีกรดไขมันที่ มี
นมวั ว นอกจากนี้ น มถั่ ว เหลื องสามารถนํ า มาใช เป น ประโยชน เช น palmitic acid (16:0), stearic acid
สวนผสมในการทําอาหารจากพืช (plant-based diet) (18:0), oleic acid (18:1) และ linoleic acid (18:2)
เชน การใชทดแทนไขในการทํามายองเนส เปนตน มีโปรตีนประมาณ 47% ซึ่งเปนกรดอะมิโนที่จําปนตอ
ร า งกาย เช น lysine นอกจากนี้ ยั ง เป น แหล ง ของ
3. ถั่วเปลือกแข็ง (nut based) แคลเซียม ธาตุเหล็ก และสังกะสี สวนของเปลือกหุม
พืชกลุ มถั่ วเปลือกแข็ งที่ นิ ยมใช เช น เฮเซลนัท เปนแหลงของวิตามินบีรวม เมื่อเปรียบเทียบระหวาง
(hazelnut) ถั่ ว บ ร า ซิ ล ( brazil nut) อั ล ม อ น ด นมถั่วเหลืองและนมงา (sesame milk) พบวา นมงามี
(almond) เม็ ด มะม ว งหิ ม พานต (cashew nut) ขอจํากัดในการบริโภคนอยกวา เนื่องจากการดื่มนมงา
สํ า หรั บ ในป จ จุ บั น นมอั ล มอลด ซึ่ ง มี คุ ณ ค า ทาง ไมสงผลตอสภาวะทองอืดทองเฟอและมีการแพที่นอย
โภชนาการสูงมีการผลิตเปนนมทางเลือกจากพืชเพื่อ กวาถั่วเหลือง รวมถึงไมมีกลิ่นเหม็นเขีย วและเปน ที่
ทดแทนนมวั ว วางขายอย า งแพร ห ลายในยุ โ รป ใน ยอมรับของผูบริโภคมากกวา (Fitrotin et al., 2015;
เมล็ดอัลมอนดมีไขมันประมาณ 35-52% โปรตีน 22- Sethi et al., 2016)
25% มีกรดไขมันไมอิ่มตัว (unsaturated fatty acid)
และมี ก รดอะมิ โ นจํ า เป น นอกจากนี้ ป ระกอบด ว ย

ปที่ 52 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2565 JFRPD 7


5. กลุมหญาที่ไมใชธัญพืช (pseudocereal based) เป น กรดไขมั น ไม อิ่ ม ตั ว (unsaturated fatty acid)
กลุ มหญาที่ไมใชธั ญพื ชเปน พืช ที่ผ ลและเมล็ ด เชน linoleic acid (18:2), oleic acid (18:1) เปนตน
สามารถนํามาผลิตแปงได เชน บักวีท (buckwheat) เจีย (Vilcacundo and Hernández-Ledesma, 2017 )
(chia) และควิ นั ว (quinoa) โดยควิ นั ว เป น แหล ง เนื่องจากควินัวมีองคประกอบสวนใหญเปนแปงจึงมี
โปรตี น มี ก รดอะมิ โ นจํ า เป น เช น methionine, การใชเอนไซมยอยแปงกอนนํามาผลิตเปนเครื่องดื่ม
cysteine และ lysine ควิ นั ว เป น แหล ง โปรตี น ที่ ข อ จํ า กั ด ของควิ นั ว คื อ มี ค วามขมจากสารซาโปนิ น
ปราศจากกลูเตนจึงสามารถนําไปใชกับอาหารสําหรับ (saponins) ซึ่ ง อาจส ง ผลต อ ความพึ ง พอใจของ
คนที่แพกลูเตนได ควินัวประกอบดวยคารโบไฮเดรต ผูบริโภคตอผลิตภัณฑ
ประมาณ 32-69% มี ไ ขมั น ประมาณ 5% ส ว นใหญ
ตารางที่ 1 คุณคาทางโภชนาการของผลิตภัณฑนมจากพืชแตละชนิดเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑนมวัว

ที่มา : ดัดแปลงจาก Sethi et al. (2016)

ผลิตภัณฑนมจากพืชแตละชนิดมีสารออกฤทธิ์ ประโยชนตอรางกาย ไดแก ชว ยลดคอเลสเตอรอล


ทางชีวภาพ (bioactive compounds) และประโยชน ชวยเกี่ยวกับโรคหัวใจและหลอดเลือด ปองกันการเกิด
ตอสุขภาพที่ แตกต างกัน สารออกฤทธิ์ ทางชี วภาพที่ โรคเบาหวาน รวมถึ ง มี คุ ณ สมบั ติ เ ป น พรี ไ บโอติ ก
พบ เชน ไอโซฟลาโวน สารประกอบฟน อล เบตา - (prebiotic) เพื่อเปนอาหารใหกับจุลินทรียดีในลําไส
กลูแคน เปนตน ทําใหผลิตภัณฑนมทางเลือกจากพืชมี (probiotic) แสดงดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2 สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและประโยชนตอสุขภาพของนมทางเลือกจากพืชแตละชนิด
ผลิตภัณฑนมพืช สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ประโยชนตอสุขภาพ
Soy milk Isoflavones Protective effect against cancer, cardiovascular disease, and osteoporosis
Phytosterols Cholesterol lowering properties
Peanut milk Phenolic compounds Protective role against oxidative damage and diseases like coronary heart
disease, stroke, and various cancers
Oat milk β-glucan Increases solution viscosity and can delay gastric emptying time,
increases gastrointestinal transit time which are associated with their

ปที่ 52 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2565 JFRPD 8


ตารางที่ 2 สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและประโยชนตอสุขภาพของนมทางเลือกจากพืชแตละชนิด (ตอ)
ผลิตภัณฑนมพืช สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ประโยชนตอสุขภาพ
reduced blood glucose level, hypocholesterolemic effect by reducing
total and LDL cholesterol
Sesame milk lignans such as Neutraceutical properties such as antioxidative, hypocholesterolemic,
sesamin, anticarcinogenic, antitumor, and antiviral activities
sesamolin, sesamino
Almond milk Alpha-tocopherol Powerful antioxidant which plays a critical role in protecting against free-
Arabinose radical reactions
Prebiotic properties
Coconut milk Lauric acid Promotes brain development, boosts immune system and maintains the
elasticity of the blood vessels
ที่มา : ดัดแปลงจาก Sethi et al. (2016)

กระบวนการผลิตนมทางเลือกจากพืช สวนผสมตาง ๆ เชน สารใหความคงตัว วิตามินและ


กระบวนการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ น มจากพื ช มี เกลือแร หรือสารตาง ๆ เพื่อเปนการเพิ่มคุณคาทาง
ขั้ น ตอนแสดงดั ง รู ป ที่ 2 โดยเริ่ ม ตั้ ง แต ก ารคั ด เลื อ ก โภชนาการของผลิ ต ภั ณ ฑ ต อ มาเป น ขั้ น ตอนการ
วัตถุดิบที่ใช ซึ่งในปจจุบันมีการใชพืชหลากหลายชนิด โฮโมจิไนซ (homogenization) ซึ่งเปนขั้นตอนในการ
เชน ถั่วและธัญพืชตาง ๆ โดยเริ่มจากการปอกเปลือก ทําใหผลิตภัณฑมีความคงตัว ไมแยกชั้นและเปนเนื้อ
วัต ถุ ดิ บ และบดเพื่ อลดขนาดให เ ล็ กลง เป น การเพิ่ ม เดี ย วกั น (Maghsoudlou et al., 2016) ขั้ น ตอน
พื้ น ที่ สั ม ผั ส ทํ า ให ส กั ด ได ดี ขึ้ น แล ะมี ก ารล ว ก สุดทายเปน การฆาเชื้อดว ยความรอน โดยวิธีที่นิย ม
(bleaching) เพื่ อ ลดเชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย แ ละยั บ ยั้ ง การ สวนใหญเปนการฆาเชื้อแบบพาสเจอรไรซเพื่อทําลาย
ทํางานของเอนไซมที่ทําใหเกิดกลิ่นไมพึงประสงค เชน เชื้อจุลินทรีย แตอยางไรก็ตามในปจจุบันมีวิธีในการ
กลิ่ น เหม็ น เขี ย วในถั่ ว เหลื อ ง (Aydar et al., 2020) ฆาเชื้อผลิตภัณฑไดหลากหลายวิธี เชน การใชความ
สําหรับพืชบางชนิด เชน งาและควินัวจะมีการนําไปคั่ว ดั น สู ง (high-pressure processing) ก า ร ใ ช พั ล ส
ก อ นเพื่ อ เพิ่ ม กลิ่ น รส ของผ ลิ ต ภั ณ ฑ (Giri and สนามแมเหล็กไฟฟา (pulsed electric fields) เปนตน
Mangaraj, 2012) หลั งจากนั้น ทํ าการกรองและเติ ม (Munekata et al., 2020)

รูปที่ 2 ขั้นตอนในการผลิตผลิตภัณฑนมจากพืช
ที่มา : Bocker and Silva (2022)

ปที่ 52 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2565 JFRPD 9


สํ า หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ น มจากพื ช บางชนิ ด อาจมี หลากหลายมากขึ ้น เพื่อ เปน การเพิ ่ม ปริม าณกรด
ขอจํากัดเกี่ยวกับปริมาณโปรตีน ปริมาณกรดอะมิโน อะมิโนและสารอาหารตาง ๆ เชน สารตานอนุมูลอิสระ
แตอยางไรก็ตามในขั้นตอนการผลิตสามารถเพิ่มคุณคา ไฟเบอร ไอโซฟลาโวน เปนตน (Silva et al., 2020)
ทางโภชนาการของผลิตภัณฑได เชน การเพิ่มวิตามิน แสดงดังรูปที่ 3
และเกลือแรตาง ๆ หรือสามารถใชวัตถุดิบจากพืชที่

รูปที่ 3 ชนิดของพืชและวัตถุดิบที่นยิ มนํามาผลิตนมจากพืช


ที่มา : Bocker and Silva (2022)

ปจจัยที่สงผลตอคุณภาพและการยอมรับผลิตภัณฑ แยกชั ้น เมื ่อ เก็บ รัก ษาเปน ระยะเวลานาน การลด


นมทางเลือกจากพืช ขนาดของอนุภาคสามารถชวยเพิ่มความคงตัวได โดย
เนื่ อ งจากผลิ ต ภั ณ ฑ น มทางเลื อ กผลิ ต จาก มีก ารใชเ ทคนิค ตา ง ๆ เชน การใชเ ครื ่อ งบดเปย ก
วัตถุ ดิ บ ที่ ห ลากหลายชนิ ด จึ งอาจมี ขอจํ า กั ดในการ (colloid mill) ในการเตรียมนมถั่วเหลืองและนมถั่ว
เลือกใชวัตถุดิบที่แตกตางกัน รวมถึงการเลือกวิธีการ ชนิด ตา ง ๆ การใช เทคโนโลยี Ultrahigh pressure
ผลิตและเทคโนโลยีตาง ๆ เพื่อใหเหมาะสมกับวัตถุดิบ homogenization (UHPH) เพื่ อ ลดขนาดและทํ า ให
ชนิ ด นั้ น ๆ โดยข อ จํ า กั ดของพื ช แต ล ะชนิ ดแสดงดั ง ผลิตภัณฑมีลักษณะเปนเนื้อเดียวกัน ซึ่งเปนเทคโนโลยี
ตารางที่ 3 กรรมวิธีการผลิตและเทคโนโลยีตาง ๆ เปน ที่ เ หมาะสมสํ า หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ ข องเหลว โดยจาก
สวนสําคัญที่สงผลตอลักษณะของผลิตภัณฑซึ่งมีผลตอ งานวิจัยของ Cruz et al. (2007) ทดลองใช UHPH ที่
การยอมรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ ด ว ย โดยป จ จั ย ที่ ส ง ผลต อ แรงดัน 200 และ 300 MPa ในการผลิตผลิตภัณฑนม
คุณภาพและการยอมรับผลิตภัณฑมีดังนี้ ถั่ว เหลื องพบว า นอกจากช ว ยลดขนาดอนุภ าคของ
ความคงตัวของผลิตภัณฑ (product stability) ผลิตภัณฑแลวยังเปนการลดปริมาณเชื้อจุลินทรียกอ
ความคงตัวของผลิตภัณฑนมจากพืชขึ้นอยูกับ โรคอีกดวย
ขนาดอนุ ภ าค หากมี อนุ ภ าคขนาดใหญ อาจเกิ ดการ

ปที่ 52 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2565 JFRPD 10


การลดกลิ่นไมพึงประสงคของผลิตภัณฑ (removal อายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ (shelf life)
of off-flavor) ผลิตภัณฑนมจากพืชเปนแหลงของสารอาหารที่
ถั่ ว เหลื องเป น แหล งของโปรตี น และเป น พืช ที่ มี คุ ณ ประโยชน และยั ง เป น แหล ง อาหารที่ ทํ า ให
นิยมนํามาผลิตเปนผลิตภัณฑนมจากพืช แตเนื่องจาก เชื้อจุลินทรียสามารถใชในการเจริญเติบโตได จึงตอง
ถั่วเหลืองมีกลิ่นเฉพาะซึ่งมีผลตอการยอมรับผลิตภัณฑ ผ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร ฆ า เ ชื้ อ ด ว ย ค ว า ม ร อ น เ ป น
จากผู บ ริ โ ภค ซึ่ง ถั่ ว เหลื อ งมั กมี กลิ่ น เหม็ น เขี ย วหรื อ กระบวนการที่ใชเพื่อชวยทําลายจุลินทรียกอโรคและ
กลิ่ น ที่ เ รี ย กว า beany flavor โดยทั่ ว ไปมั ก มี ก าร จุลินทรียที่ทําใหอาหารเนาเสียรวมถึงเปนการยืดอายุ
แก ป ญ หาด ว ยการยั บ ยั้ ง การทํ า งานของเอนไซม การเก็บรักษาผลิตภัณฑอีกดวย แตการใหความรอนที่
lipoxygenases ซึ่งเปนเอนไซมที่มีผลตอการเกิดกลิ่น มากเกิ น ไปอาจทํ า ลายโครงสร า งของวิ ต ามิ น และ
เขียว หรือมีการเติมสารแตงกลิ่นจากธรรมชาติ สาร กรดอะมิโนในผลิ ตภัณฑได ดังนั้นจึ งตองเลือกระดับ
แตงกลิ่นสังเคราะหในผลิตภัณฑ นอกจากนี้ยังพบวา อุณหภูมิและเวลาใหเหมาะสม เชน การใหความรอน
ค า ความเป น กรดด า ง (pH) มี ผ ลต อ กลิ่ น ถั่ ว ที่ ไ ม พึ ง ระดั บ พาสเจอร ไ รส อุ ณ หภู มิ ต่ํ า กว า 100 องศา
ประสงค (off-flavor) นอกจากนี้ยังมีวิธีการตาง ๆ ดัง เซลเซียส การฆาเชื้อแบบสเตอริไลส ที่อุณหภูมิ 121
ตารางที่ 3 ที่ชวยในการลดปญหาเกี่ยวกับกลิ่นถั่ว องศาเซลเซียส เปนเวลา 15-20 นาที และการฆาเชื้อ
การลดสารยั บยั้ ง เอนไซม (decreasing enzyme แบบยูเอชที อุณหภูมิ 135-150 องศาเซลเซียส เปน
inhibitors) เวลา 2-3 วินาที ซึ่งผลิตภัณฑที่ผานการใหความรอน
พืชในตระกูลถั่วจะมีสารยับยั้งเอนไซมทริปซิน ระดับพาสเจอรไรสจําเปนตองเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ํา
(trypsin) ในปริมาณสูงกวาพืชชนิดอื่น โดยสวนที่พบ เช น ต อ งแช ตู เ ย็ น (4-8 oC) ในขณะการฆ า เชื้ อ
สารยับยั้งเอนไซมทริปซินมากที่สุดคือเมล็ด ซึ่งสารนี้ แบบสเตอริไลสและการฆาเชื้อแบบยูเอชทีส ามารถ
จะยั บ ยั้ งการทํ า งานของเอนไซม ทริ ป ซิ น ในทางเดิ น เก็บผลิตภัณฑที่อุณหภูมิหองได กระบวนการฆาเชื้อ
อาหารทําใหมีการยอยและการดูดซึมโปรตีนไดนอยลง ดวยความรอน (thermal) นิยมนํามาใชกับผลิตภัณฑ
ดั ง นั้ น จึ ง ต อ งมี ขั้ น ตอนในการลดปริ ม าณสารยั บ ยั้ ง นมถั่วเหลืองและนมถั่วตาง ๆ แตเปนขอจํากัดสําหรับ
เอนไซมทริป ซิน ซึ่งปจจัย ที่มีผลตอการลดสารยับยั้ ง พืชบางชนิดที่มีแปงในปริมาณสูง เชน ขาวโอต ขาว
เอนไซมทริปซิน เชน การใหความรอน ความชื้น และ ดั ง นั้น ในปจ จุบัน จึง มีก ารเลือ กใชทั้ ง กระบวนการ
ระยะเวลาในการเตรี ย มตั วอย าง โดยมี งานวิจั ยของ ฆา เชื ้อ ที ่ใ ชค วามรอ นและไมใ ชค วามรอ น (non-
Yuan et al. (2 0 0 8 ) ศ ึ ก ษ า ผ ล ก า ร ย ั บ ยั ้ ง thermal) เพื ่อ พัฒ นาผลิต ภัณ ฑใ หม ีค ุณ ภาพทั ้ง
เอนไซม ทริปซินในถั่วเหลืองโดยการใชไอน้ํา การลวก ทางดานลักษณะปรากฏ สี กลิ่นรสที่ดีขึ้น รวมถึงเพื่อ
และการใหความรอนแบบยูเอชที (UHT) พบวาการใช ช ว ย ใ น ก า ร ย ืด อ า ยุก า ร เ ก ็บ รัก ษ า ผ ล ิต ภ ัณ ฑ 
ไอน้ําอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส เปนเวลา 20 นาที ก ร ะ บ ว น ก า ร ฆ า เ ชื ้อ ที ่ไ ม ใ ช ค ว า ม ร อ น เ ช น
ทํ า ให มี ส ารยั บ ยั้ ง เอนไซม ท ริ ป ซิ น คงเหลื อ อยู 13% ก ร ะ บ ว น ก า ร high-pressure (HPP) , ultra high
สวนการลวกสามารถลดสารยับยั้งเอนไซมทริปซินได pressure homogenization (UHPH) และ pulsed
25-50% และการใหความรอนแบบยูเอชทีทําใหมีสาร electric field (Cruz et al. 2007)
ยับยั้งเอนไซมทริปซินคงเหลืออยู 10%

ปที่ 52 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2565 JFRPD 11


ตารางที่ 3 ขอจํากัดและเทคโนโลยีที่ใชในการผลิตภัณฑนมจากพืช
ผลิตภัณฑนมพืช ขอจํากัด เทคโนโลยีที่ใชแกปญหา
soy milk beany flavor due to action of vacuum treatment at high temperature, hot grinding,
lipoxygenase on unsaturated blanching in boiling water, alkaline soaking, use of
fatty acids soy protein isolates, addition of flavouring compounds
presence of inhibitors denaturation and inactivation by heat

peanut milk beany flavor defatting, roasting, alkali soaking, steaming

rice milk poor emulsion stability due to enzymatic hydrolysis of starch by alpha and beta
high starch amylase or glucosidase
content

oat milk poor emulsion stability due to enzymatic hydrolysis of starch by alpha and beta
high starch content amylase
ที่มา : ดัดแปลงจาก Sethi et al. (2016)

บทสรุป
ผลิตภัณฑนมทางเลือกจากพืชเปนผลิตภัณฑใน เพื่ อพัฒ นาทั้งทางดานกระบวนการผลิตหรื อการนํา
กลุมตลาดอาหารเพื่อสุขภาพ เนื่องจากเปนผลิตภัณฑ เทคโนโลยีการฆาเชื้อต า ง ๆ ทั้งแบบที่ใชความรอ น
ที่มีคุณคาทางโภชนาการสูง เปนผลิตภัณฑทางเลือก และไมใชความรอน มาใชในการผลิตเพื่อพัฒนาใหเปน
สําหรับผูบริโภคที่แพนมวัวและผูบริโภคที่รับประทาน ผลิตภัณฑจากพืชที่มีคุณคาทางโภชนาการที่ดีสามารถ
มังสวิรัติ ซึ่งนมพืชที่มีวางขายในปจจุบัน เชน นมถั่ว ทดแทนผลิตภัณฑจากนมวัวได รวมถึงพัฒนาลักษณะ
เหลือง นมขาว นมข า วโอ ต นมงา นมอั ล มอนด นม ปรากฏ ลักษณะเนื้อสัมผัส กลิ่นรส ความคงตั วและ
มะพราว นมควินัว และนมจากถั่วตาง ๆ เปนตน ใน เป น ที่ ย อมรั บ ของผู บ ริ โ ภค เพื่ อ ตอบสนองความ
อนาคตคาดว า ความต อ งการผลิ ต ภั ณ ฑ ก ลุ ม นี้ มี ตองการของตลาดในอนาคตได
แนวโนมที่สูงขึ้น และอาจมีงานวิจัยที่เกี่ยวของมากขึ้น

เอกสารอางอิง
Amagliani L, O’Regan J, Kelly AL and O’Mahony JA. 2017. The composition, extraction, functionality and applications of rice
proteins: A review. Trends in Food Science & Technology. 64 : 1-12.
Amorim M, Pereira JO, Silva LB, Ormenese RCSC, Pacheco MTB and Pintado M. 2018. Use of whey peptide fraction in coated
cashew nut as functional ingredient and salt replacer. Food Science and Technology. 92 : 204-211.
Aydar EF, Tutuncu S and Ozcelik B. 2 0 2 0 . Plant-based milk substitutes: Bioactive compounds, conventional and novel
processes, bioavailability studies, and health effects. Journal of Functional Foods. 70 : 103975.
Bocker R and Silva EK. 2022. Innovative technologies for manufacturing plant-based non-dairy alternative milk and their
impact on nutritional, sensory and safety aspects. Future Foods. 5 : 100098.
Cruz N, Capellas M, Hernández M, Trujillo AJ, Guamis B and Ferragut V. 2007. Ultra high pressure homogenization of soymilk:
microbiological, physicochemical and microstructural characteristics. Food Research International. 40 : 725-732.
Fitrotin U, Utami T, Hastuti P and Santoso U. 2015. Antioxidant properties of fermented sesame milk using lactobacillus
plantarum Dad 13. International Research Journal of Biological Sciences. 4(6) : 56-61.
Giri SK and Mangaraj S. 2012. Processing influences on composition and quality attributes of soymilk and its powder. Food
Engineering Reviews. 4(3) : 149-164.
Hassan AA, Aly MMA and El-Hadidie ST. 2012. Production of cereal-based probiotic beverages. World Applied Sciences
Journal. 19(10) : 1367-1380.
ปที่ 52 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2565 JFRPD 12
Maghsoudlou Y, Alami M, Mashkour M and Shahraki MH 2016. Optimization of ultra-sound-assisted stabilization and
formulation of almond milk. Journal of Food Processing and. Preservation. 40(5) : 828-839.
Maria MF and Victoria AT. 2018. Influence of processing treatments on quality of vegetable milk from almond (Terminalia
catappa) kernels. Acta Scientific Nutritional Health. 2(6) : 37-42.
Munekata PES, Domínguez R, Budaraju S, Roselló-Soto E, Barba FJ, Mallikarjunan K, Roohinejad S and Lorenzo JM. 2020. Effect
of innovative food processing technologies on the physicochemical and nutritional properties and quality of non–dairy
plant-based beverages. Foods. 9(3) : 288.
Sethi S, Tyagi SK and Anurag RK. 2016. Plant-based milk alternatives an emerging segment of functional beverages: A review.
Journal of Food Science and Technology. 53(9) : 3408–3423.
Silva ARA, Silva MMN and Ribeiro BD. 2020. Health issues and technological aspects of plant-based alternative milk. Food
Research. International. 131 : 108972.
Vilcacundo R and Hernández-Ledesma B. 2 0 1 7 . Nutritional and biological value of quinoa (Chenopodium quinoa Willd.).
Current Opinion in Food Science. 14 : 1-6.
Yuan S, Chang SKC, Liu Z and Xu B. 2008. Elimination of trypsin inhibitor activity and beany flavor in soy milk by consecutive
blanching and ultrahigh-temperature (UHT) processing. Journal of Agricultural and Food Chemistry. 56(17) : 7957-7963.

ปที่ 52 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2565 JFRPD 13

You might also like