บทที่2 การแยกตัวประกอบ

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 15

Mathematics มัธยมศึกษาปีที่ 3 ธรรมดา เทอม 1 # อ.

ก๊อบแก๊บ สแด๊บแห๊บคณิตศาสตร์
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนาม A.SURE TUTOR 21

บทที่

การแยกตัวประกอบ (อังกฤษ: factorization) ในทางคณิตศาสตร์ หมายถึงการแบ่งย่อยวัตถุทาง


คณิตศาสตร์ (เช่น จานวน พหุนาม หรือเมทริกซ์) ให้อยู่ในรูปผลคูณของวัตถุอื่น ซึ่งเมื่อคูณตัว
ประกอบเหล่านั้นเข้าด้วยกันจะได้ผลลัพธ์ดังเดิม ตัวอย่างเช่น จานวน 15 สามารถแยกตัวประกอบให้
เป็นจานวนเฉพาะได้เป็น 3 × 5 และพหุนาม สามารถแยกได้เป็น เป็นต้น

ผลบวกและผลต่างกาลังสาม
สูตรสาหรับการแยกตัวประกอบของผลบวกและผลต่างกาลังสามเป็นดังนี้ ผลบวกสามารถแยกตัว
ประกอบเป็น

และผลต่างสามารถแยกตัวประกอบเป็น

เช่น x3 − 103 (or x3 − 1000) สามารถแยกตัวประกอบเป็น (x − 10)(x2 + 10x + 100)

การแยกตัวประกอบพหุนามกาลังสอง
พหุนามกาลังสองใดๆ บนจานวนเชิงซ้อน (คือพหุนามที่อยู่ในรูป เมือ่
) สามารถแยกตัวประกอบให้เป็นนิพจน์ที่อยู่ในรูป เมื่อ และ
คือรากของพหุนาม ซึ่งคานวณได้จากสูตรกาลังสองดังนี้
Mathematics มัธยมศึกษาปีที่ 3 ธรรมดา เทอม 1 # อ.ก๊อบแก๊บ สแด๊บแห๊บคณิตศาสตร์
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนาม A.SURE TUTOR 22

พื้นฐานการแยกตัวประกอบพหุนาม

จงแยกตัวประกอของพหุนามที่กาหนดให้

𝐀𝟑 + 𝐁 𝟑 = (𝐀 + 𝐁)(𝐀𝟐 − 𝐀𝐁 + 𝐁 𝟐 ) 𝐀𝟑 − 𝐁 𝟑 = (𝐀 − 𝐁)(𝐀𝟐 + 𝐀𝐁 + 𝐁 𝟐 )

1. X 3 + 27 5. X 3 − 216

2. X 3 + 125 6. X 6 − 125

3. X 3 + 343Y 3 7. X6Y3 − 1

4. 16a6 b3 + 54c 3 8. 8X 6 − 27Y 3


Mathematics มัธยมศึกษาปีที่ 3 ธรรมดา เทอม 1 # อ.ก๊อบแก๊บ สแด๊บแห๊บคณิตศาสตร์
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนาม A.SURE TUTOR 23

9. X6 − Y6 13. X2 – 4x – 6

10. X9 + Y9 14. X2 – 10x – 4

11. X2 - 6X + 3 15. X2 + 3X + 1

12. X2 - 8X + 5 16. X2 - 9X + 3
Mathematics มัธยมศึกษาปีที่ 3 ธรรมดา เทอม 1 # อ.ก๊อบแก๊บ สแด๊บแห๊บคณิตศาสตร์
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนาม A.SURE TUTOR 24

17. X 3 + 4X 2 − 9X − 36 20. X 3 + 4X 2 + X − 6

18. X 3 − 7X 2 − 25X + 75 21. X 3 + 4X 2 − 11X − 30

19. X 3 + 5X 2 − 4X − 20 22. X 3 + 3X 2 − 6X − 8
Mathematics มัธยมศึกษาปีที่ 3 ธรรมดา เทอม 1 # อ.ก๊อบแก๊บ สแด๊บแห๊บคณิตศาสตร์
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนาม A.SURE TUTOR 25

23. จงหาเศษของ 2X3 - 3X2 - 6X + 10 หารด้วย X + 3

24. จงหาค่าของ k เมื่อ 5X3 - 8X2 - kX + 7 หารด้วย X - 2 เหลือเศษ 33

25. x2 + 7x – 60 29. x2 - 81

26. x2 - 16x – 80 30. (4x + 7)2 – (2x – 5)2

27. 15x2 + 2x – 8 31. 𝑎𝑥 − 𝑏𝑦 − 𝑏𝑧 + 𝑏𝑥 − 𝑎𝑦 − 𝑎𝑧

28. 30x2 - 17x – 21 32. 𝑎𝑥 2 − 6𝑥 − 𝑎𝑥𝑦 − 𝑐𝑦 2 + 𝑐𝑥𝑦 + 6𝑦


Mathematics มัธยมศึกษาปีที่ 3 ธรรมดา เทอม 1 # อ.ก๊อบแก๊บ สแด๊บแห๊บคณิตศาสตร์
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนาม A.SURE TUTOR 26

33. X8 − Y8 36. X 6 − 7X 3 − 8

34. X4 − Y4 37. X + 8√X + 15

35. X 4 − 13X 2 + 36
Mathematics มัธยมศึกษาปีที่ 3 ธรรมดา เทอม 1 # อ.ก๊อบแก๊บ สแด๊บแห๊บคณิตศาสตร์
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนาม A.SURE TUTOR 27

ตะลุยโจทย์การแยกตัวประกอบพหุนาม

จงเลือกตัวเลือก ก. - ง. เพียงข้อเดียวให้ถูกต้อง
1. 8a3 – 343b3 แยกตัวประกอบได้ตรงกับข้อใด
ก. (2a – 7b)(4a2 + 49b2) ข. (2a – 7b)(4a2 +14ab + 49b2)
ค. (2a – 7)(4a2 – 14ab + 49b2) ง. (2a + 7b)(4a2 - 49b2)

2. จงแยกตัวประกอบของพหุนามดังต่อไปนี้ x3 – 6x2y + 12xy2 – 8y3


ก. (2x – y)3 ข. (2x + y)3 ค. (x – 2y)3 ง. (x + 2y)3

3. x3y + y4 แยกตัวประกอบได้ตรงกับข้อใด
ก. y(x - y)(x2 – xy + y2) ข. y(x + y)(x2 – xy + y2)
ค. y(x + y)(x2 + xy + y2) ง. y(x + y)(x2 – xy - y2)

4. จงแยกตัวประกอบของ a3 + b3 + a + b ได้ตรงกับข้อใด
ก. (a2 + b2)(a + b) ข. (a + b)(a2 + b2 + 1)
ค. (a + b)(a2 + ab + b2+ 1) ง. (a + b)(a2 - ab + b2+ 1)
Mathematics มัธยมศึกษาปีที่ 3 ธรรมดา เทอม 1 # อ.ก๊อบแก๊บ สแด๊บแห๊บคณิตศาสตร์
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนาม A.SURE TUTOR 28

5. ข้อใดเป็นผลคูณของ (x – 2y)(x + 2y)(x2 – 2xy + 4y2)(x2 + 2xy + 4y2)


ก. x6 – 8y6 ข. x6 + 8y6 ค. x6 – 64y6 ง. x6 + 64y6

6. ตัวประกอบของ x3 – 2x2 – 5x + 6 คือข้อใด


ก. (x + 1) (x + 2) (x + 3) ข. (x – 1) (x – 3) (x – 2)
ค. (x + 1) (x – 3) (x + 2) ง. (x – 1) (x – 3) (x + 2)

7. ตัวประกอบของ a3 + 5a2 – a – 5 คือข้อใด


ก. a – 1 ข. 2a – 1 ค. a2 + 2a – 5 ง. a2 – 4a – 5
Mathematics มัธยมศึกษาปีที่ 3 ธรรมดา เทอม 1 # อ.ก๊อบแก๊บ สแด๊บแห๊บคณิตศาสตร์
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนาม A.SURE TUTOR 29

8. จงหาค่าของ (a – b)3 + 3(a – b)2 b + 3(a – b)b2 + b3


ก. b3 ข. a3 ค. (a – b)3 ง. (a + b)3

9. กาหนดให้ x + y = 8 และ xy = 13 แล้วจงหา x3 + y3


ก. 100 ข. 150 ค. 175 ง. 200

10. จงแยกตัวประกอบของ x3 – 2x2y + 43xy2 - 279 y3


3 3 3 3
ก. (𝑥 − 12 𝑦) ข. (𝑥 − 13 𝑦) ค. (𝑥 − 23 𝑦) ง. (𝑥 − 43 𝑦)
Mathematics มัธยมศึกษาปีที่ 3 ธรรมดา เทอม 1 # อ.ก๊อบแก๊บ สแด๊บแห๊บคณิตศาสตร์
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนาม A.SURE TUTOR 30

𝑥 6 −𝑦6 𝑥 2 −𝑦 2
11. ∙
(𝑥+𝑦)(𝑥 2 −𝑥𝑦+𝑦 2 ) 𝑥 2 −2𝑥𝑦+𝑦 2
ได้ผลลัพธ์เป็นเท่าไร
ก.𝑥 + 𝑦 ข. 𝑥 3 + 𝑦 3
ค. (𝑥 − 𝑦)(𝑥 2 − 𝑥𝑦 + 𝑦 2) ง. (𝑥 + 𝑦)(𝑥 2 + 𝑥𝑦 + 𝑦 2)

12. จงหาค่า m ที่ทาให้พหุนาม x2 – 14x + m เป็นกาลังสองสมบูรณ์


ก. 16 ข. 25 ค. 36 ง. 49

13. จงหาค่า n ที่ทาให้พหุนาม x2 + 5nx + 36 เป็นกาลังสองสมบูรณ์


ก. 65 ข. 125 ค. 2 ง. 6

14. ถ้า a - 𝑎1 = 4 ค่าของ a3 - 𝑎13 เป็นเท่าใด


ก. 4 ข. 18 ค. 54 ง. 76
Mathematics มัธยมศึกษาปีที่ 3 ธรรมดา เทอม 1 # อ.ก๊อบแก๊บ สแด๊บแห๊บคณิตศาสตร์
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนาม A.SURE TUTOR 31

15. จงใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษเหลือที่ได้จากการหาร 2x2 – 5x + 6 ด้วย x – 3


ก. 5 ข. 7 ค. 8 ง. 9

16. จงหาค่า k เมื่อ kx3 + 3x2 + 5x + 7 หารด้วย x + 2 เหลือเศษ 2


ก. 78 ข. 35 ค. 79 ง. 118

17. จงแยกตัวประกอบ (4x + 1)2 – 25(3x – 2)2


ก. (4x + 1) (3x – 2) ข. (-4x + 1) (9x – 9)
ค. (-11x + 11) (19x – 9) ง. (-11x – 11) (9x – 19)

18. จงแยกตัวประกอบของพหุนามดังต่อไปนี้ 3(x + 3)2 + (x + 3) – 11


ก. (3x – 2) (x + 7) ข. (3x + 2) (x – 7)
ค. (x – 3) (x + 7) ง. (x + 3) (x + 7)
Mathematics มัธยมศึกษาปีที่ 3 ธรรมดา เทอม 1 # อ.ก๊อบแก๊บ สแด๊บแห๊บคณิตศาสตร์
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนาม A.SURE TUTOR 32

19. ตัวประกอบ 9(x + 2)2 – 6(x + 2) + 1 = (ax + b)2 จงหาค่าของ b2 – a2


ก. 9 ข. 16 ค. 25 ง. 81

20. จงแยกตัวประกอบของ (x2 + x – 8) (x2 + x + 1) – 10


ก. (x2 – x – 9) (x2 + x + 7) ข. (x2 + x + 9) (x2 – x – 7)
ค. (x2 + x – 18) (x2 – x – 7) ง. (x2 + x + 2) (x2 + x – 9)

21. จงแยกตัวประกอบของ (x – 1) (x – 3) (x + 2) (x + 4) +24


ก. (x2 + x – 8) (x2 + x – 6) ข. (x2 – x – 8) (x2 – x – 6)
ค. (x2 + x + 4) (x2 – x – 3) ง. (x2 + x – 4) (x2 + x – 3)
Mathematics มัธยมศึกษาปีที่ 3 ธรรมดา เทอม 1 # อ.ก๊อบแก๊บ สแด๊บแห๊บคณิตศาสตร์
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนาม A.SURE TUTOR 33

22. จงแยกตัวประกอบของพหุนามดังต่อไปนี้ (x2 – 4) (2x + 3) – (2x2 + 3x) (x – 2)


ก. (2x – 4) (2x + 6) ข. (-2x – 4) (2x + 3)
ค. (2x + 4) (-2x + 6) ง. (2x -4) (2x + 3)

23. จงแยกตัวประกอบของ 3ab(a – b)2 + (a – b)4 ได้เท่ากับข้อใด


ก. (a – b) (a + b) (a2 + ab + b2) ข. (a – b)2 (a2 + ab + b2)
ค. (a – b)2 (a2 + 5ab + b2) ง. (a + b)2 (a2 + ab + b2)

24. จงหาค่าของ 3(x + 7) (x2 + x – 2) – (x – 1) (2x2 + 11x – 21)


ก. (x – 7) (x – 1) (x – 9) ข. (x – 1) (x + 7) (x + 9)
ค. (x – 1) (x + 2) (x + 9) ง. (x – 1) (x + 3) (x + 9)
Mathematics มัธยมศึกษาปีที่ 3 ธรรมดา เทอม 1 # อ.ก๊อบแก๊บ สแด๊บแห๊บคณิตศาสตร์
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนาม A.SURE TUTOR 34

25. กาหนด ab = 2 และ a + b = 4 แล้วจงหาค่าของ a2 + b2


ก. 16 ข. 14 ค. 12 ง. 4

จงแสดงวิธีทา
26. (A + B)3 – (A – B)3 มีค่าเท่าไร (ตอบในรูปพหุนาม)

27. ถ้า a + 𝑎1 = 5 ค่าของ a3 + 𝑎13 เป็นเท่าใด


Mathematics มัธยมศึกษาปีที่ 3 ธรรมดา เทอม 1 # อ.ก๊อบแก๊บ สแด๊บแห๊บคณิตศาสตร์
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนาม A.SURE TUTOR 35

28. จงหาตัวประกอบของ X3 – 2X2 -11X + 12

29. จงหาค่าของ k เมื่อ X - 4 เป็นตัวประกอบของ 4X3 - kX2 - 19X + 60

30. เมื่อ 2X3 + X2 + 3X + c และ X3 + X2 + 6 หารด้วย X + 1 เหลือเศษเท่ากัน


จงหาค่า c

You might also like