Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

Neoliberalism: Hayek and the Mont Pelerin Society

หากกลาวยอนความไปถึงเสรีนิยมดั้งเดิม (classical liberalism) เสรีนิยมจะหมายถึงการประกันเสรีภาพ


ของปจเจกแตละคน ซึ่งมีสิทธิในการใชสินทรัพยตามเจตนารมณของตน ตั้งแตการครอบครอง แลกเปลี่ยน หรือ
คาขายในตลาด โดยปราศจากการแทรกแซงจากอำนาจภายนอกอยางรัฐ ตลาดเสรีจึงถูกเรียกในอีกชื่อหนึ่งวา
‘ปลอยใหเปนไป’ (laissez faire) การที่รัฐบาลของประเทศยุโรปตะวันตกในชวงศตวรรษที่ 19 มีการคาเสรี ทำให
ทุนนิยมพัฒนาอยางกาวกระโดด นักคิดเสรีนิยมก็พากันเชื่อวาผลประโยชนที่เกิดจากการคาเสรีจะชวยยึดโยง
ประเทศตางๆ เขาดวยกัน จนทำใหสงครามกลายเปนสิ่งลาสมัย อยางไรก็ดี ความคาดหวังตอโลกเชนนี้ของพวก
เสรีนิยมไดพังทลายลงเมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งเปนผลมาจากการแกงแยงแขงขันหาตลาดและทรัพยากร
ของประเทศมหาอำนาจ รวมถึงเมื่อเกิดวิกฤตเศรษฐกิจโลกในป 1929 ยิ่งทำใหลัทธิเสรีนิยมถูกตั้งคำถามมากขึ้น
โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา ซึ่งนับไดวาไดรับผลกระทบรุนแรงและยาวนานที่สุด ดัชนีตลาดหุนดิ่งลงเหว ผลผลิต
มวลรวมลดลง และการวางงานเพิ่มขึ้น เมื่อประกอบกับความเสื่อมคลายของลัทธิเสรีนิยม แนวคิดการวางแผน
เศรษฐกิจจากสวนกลางจึงกลับมา โดยมีแนวคิดของ John Maynard Keynes เปนหัวหลักสำคัญ ความคิดของ
เคนสมีอิทธิพลอยางมากตอเศรษฐกิจและสังคมของสหรัฐ ในยุคประธานาธิบดี Franklin D. Roosevelt ผาน
นโยบาย ‘New Deal’ โดยมีเปาหมายเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจที่ซบเซา ตามแนวทางสำนักเคนสรัฐตองเขาแทรกแซง
เศรษฐกิจผานการใชจายอยางแข็งขัน เพื่อเพิ่มระดับอุปสงคในระบบเศรษฐกิจโดยรวม
อยางไรก็ดี Walter Lippmann ไดวิจารณวา การที่รัฐแทรกแซงดานเศรษฐกิจเปนเรื่องไรประสิทธิภาพ
และยังเปนการใหอำนาจรัฐมากเกินอยางไมจำเปน ซึ่งเปนสังคมนิยมและเปนเผด็จการ โดยลิพมันเสนอวาการ
สรางสังคมที่ดีตองจำกัดอำนาจรัฐลงตามแนวทางของเสรีนิยม ซึ่งในขณะนั้นอยูในสภาพออนแรง ตอมาลิพมันได
เขารวมเขารวมงานสัมมนา ณ กรุงปารีส พรอมกับนักวิชาการสายเสรีนิยมจากประเทศตางๆ ในยุโรป เพื่อหา
หนทางรื้อฟนความคิดแบบเสรีนิยมขึ้นมาใหม จนกอกำเนิดคำวา ‘เสรีนิยมใหม’อยางไรก็ตาม ประเด็นหลักที่
บรรดานักเสรีนิยมโตเถียงกันคือ บทบาทของรัฐในดานเศรษฐกิจ กลุมหนึ่งเชื่อในความจำเปนของการแทรกแซง
จากรัฐบาง เพื่อใหตลาดเสรีสามารถดำเนินการไดอยางสอดคลองกับทฤษฎีมากที่สุด แมจะไมถึงกับสรางรัฐ
สวัสดิการอยางสำนักเคนส แตรัฐควรตองเขมแข็งในระดับหนึ่ง แตอีกกลุมกลับเชื่อวาควรปลอยใหตลาดทำงานไป
ตามธรรมชาติของมันเอง ซึ่งเปนหลักการดั้งเดิมของลัทธิเสรีนิยม บทบาทเดียวที่รัฐควรมีคือ การขจัดอุปสรรคใน
การเขาถึงตลาด
แมไมอาจตกลงกันไดวาเสรีนิยมใหมควรเปนอยางไร แตงานสัมมนาของลิพมันไดจุดประกายและเปน
โอกาสใหนักคิดเสรีนิยมรุนใหมเหลานี้ไดมาพบเจอกัน ซึ่งจะนำไปสูการกอตั้งสมาคม Mont Pelegrin Society
ภายหลังในป 1947 โดยมีสมาชิกชื่อดังอยาง ฟรีดิช ฮาเย็ก (Friedrich Hayek) และความเห็นที่ไมตรงกันเรื่อง
บทบาทของรัฐในทางเศรษฐกิจไดแยกนักคิดเสรีนิยมที่เขารวมงานสัมมนาของลิพมันเปน 2 สาย ไดแก เสรีนิยม
ใหมตามระเบียบ (Ordoliberalsim) หรือโมเดลเยอรมัน และเสรีนิยมใหมสายอเมริกัน ซึ่งไดอิทธิพลจากนักคิด
เชื้อสายออสเตรียอยางฮาเย็กและฟอน มิเซส ซึ่งเปนสายของลัทธิเสรีนิยมใหม (Neoliberalism) ที่ขยายไปทั่วโลก
จนถึงตอนนี้ เสรีนิยมตามแนวทางของฮาเย็กยึดหลักคิดวาความพยายามของรัฐบาลในการควบคุมเศรษฐกิจยิ่งจะ
ทำใหทุกอยางแยลง อยางไรก็ตาม เนื่องจากความเชื่อในเรื่องเสรีภาพของปจเจกชนของฮาเย็ก จึงทำใหหลีกเลี่ยง
ไมไดที่จะขัดแยงกับแนวคิดของเคนสที่ใหรัฐสวนกลางเขามาจัดการเศรษฐกิจ กลาวคือ ในขณะที่ฮาเย็กมองวาการ
ที่เศรษฐกิจเกิดวัฏจักรที่รุงเรือง และตกต่ำสลับไปมานั้นเปนผลมาจากการที่รัฐเขามาจัดการเศรษฐกิจ แตเคนส

พิชชากร อินทรพงษ 6145570629


กลับมองตรงกันขาม โดยเห็นวารัฐตางหากที่เปนตัวชวยไมใหเศรษฐกิจตกต่ำ ไมใชเพียงแตขัดแยงกับหลักการของ
เคนสเทานั้น แนวคิดของฮาเย็กยังขัดแยงกับแนวคิดแบบสังคมนิยมอีกดวย โดยเขามองวา รัฐสวนกลางไมสามารถ
ทราบความตองการที่แทจริงของปจเจกบุคคลแตละคนได โดยหนึ่งในผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของเขาอยาง The
Road to Serfdom ก็เปนผลงานที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อวิจารณลัทธิสังคมนิยม นอกจากนี้ ไมใชเพียงแคเรื่องทาง
เศรษฐศาสตรหรือระบบเศรษฐกิจเทานั้น แตแนวคิดของฮาเย็กที่เชื่อในเสรีภาพของปจเจกชนอยางสูงยังสงผลตอ
แนวคิดในเรื่องอื่นๆ ของเขาดวย ทั้งแนวคิดทางกฎหมาย และความยุติธรรมในสังคม
ความสำเร็จสวนหนึ่งของนักคิดเสรีนิยมใหมกลุมนี้ มาจากการชวยเหลือทางดานการเงินและทางการเมือง
จากกลุมทุนธุรกิจในสหรัฐฯ ที่ไมตองการการแทรกแซงและการเพิ่มกฎระเบียบในดานเศรษฐกิจจากรัฐ ทั้งนี้ ลัทธิ
เสรีนิยมใหมเริ่มปรากฏบทบาทในทางการเมืองชัดเจนในสหรัฐฯ และอังกฤษ และแพรกระจายไปมากในวง
วิชาการ โดยผานทางสถาบันวิจัยทางดานเศรษฐกิจหรือสถาบันผลิตนักคิด อยางเชน Institute of Economic
Affairs ในลอนดอน และ the Heritage Foundation ในวอชิงตันยิ่งเมื่อภายหลังฮาเย็คและฟริดแมนไดรับรางวัล
โนเบลสาขาเศรษฐศาสตร ปจจัยที่เอื้อใหอุดมการณแบบเสรีนิยมใหมไดรับการยอมรับในสังคมขณะนั้น คือ
บรรยากาศทางการเมืองเพื่อเรียกรองเสรีภาพและความเปนธรรมทางสังคมซึ่งกำลังเบงบานสุดขีด ความตองการ
และถวิลหาเสรีภาพของปจเจกชนนี้เอง ที่ชวยใหขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมเหลานี้เต็มใจอาแขนรับแนวคิด
เพื่อเรียกรองเสรีภาพของนักคิดกลุมเสรีนิยมใหม
อย า งไรก็ ด ี จุ ด เปลี ่ ย นสำคั ญ เกิ ด ขึ ้ น เมื ่ อ มาร ก าเร็ ต แธตเชอร (Magaret Thatcher) ก า วขึ ้ น เป น
นายกรัฐมนตรีของสหราชอาณาจักร แธตเชอรดำเนินนโยบายตามลัทธิเสรีนิยมใหม เชน ลดคาใชจายภาครัฐ ทั้ง
ดานการศึกษา ที่อยูอาศัย และการคมนาคม ปราบสหภาพแรงงานอยางหนัก แปรรูปรัฐวิสาหกิจใหเปนกิจการ
เอกชน รวมถึงการเพิ่มอัตราดอกเบี้ยโดยมุงหวังลดเงินเฟอ ซึ่งทำใหเศรษฐกิจยิ่งชะงักอยางรุนแรง นอกจากนี้ เสรี
นิยมใหมยังขามฟากไปยังสหรัฐอเมริกาเมื่อ โรนัลด เรแกน (Ronald Reagan) เปนประธานาธิบดี เรแกนใช
นโยบายที่สุดโตงมากขึ้น โดยลดภาษีใหผูมีรายไดสูง เพราะหวังจูงใจใหเหลาคนรวยอยากลงทุนมากขึ้น เพื่อเพิ่ม
การจางงานและสรางรายไดใหกับเหลาแรงงาน ในขณะเดียวกันรัฐบาลกลับตัดสวัสดิการที่อุดหนุนผูยากไรออก
และไมเพิ่มคาแรงงานขั้นต่ำให เพื่อกระตุนใหคนทำงานหนักขึ้น นโยบายเสรีนิยมใหมที่ใชงานในสหรัฐ สงผล
กระทบตอประเทศอื่นๆ ในโลกดวย จนตองหันมาใชนโยบายแบบเสรีนิยมตามกันอยางหลีกเลี่ยงไมได นอกจากนี้
ในชวงเวลานัน้ รัฐบาลประเทศกำลังพัฒนาสวนใหญมีการกูยืมเงินปริมาณมากเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมภายใน เมื่อ
สหรัฐขึ้นดอกเบี้ย จึงทำใหอัตราดอกเบี้ยตางประเทศเพิ่มขึ้นตามไปดวย จนประเทศเหลานี้ไมอาจชำระหนี้ไดตาม
กำหนด กระทั่งเกิดเปนวิกฤตหนี้ประเทศโลกที่สาม (Third World Debt Crisis)
จะเห็นไดวาการขยายตรรกะแบบตลาดจนครอบคลุมทุกมิติในชีวิตคนไมไดสงผลดีเสมอไป ยิ่งเมื่อเสรี
นิยมใหมใหคุ ณค ากับแขง ขั นในตลาดอยางมาก การแปรรูปรัฐวิสาหกิ จ เชน ที่อยูอาศัย การคมนาคม การ
รักษาพยาบาล ใหเปนของเอกชน ก็ทำใหประชาชนที่ตองการใชบริการเหลานี้ตองแบกรับตนทุนเอง เมื่อเกิดวิกฤต
เศรษฐกิจจนเกิดอัตราเงินเฟอและอัตราการวางงานสูง ผูคนนับลานๆ พบวาแทบไมมีตาขายความปลอดภัยใดๆ
รองรับ และถูกทิ้งใหตองรับผิดชอบชีวิตตนเองและครอบครัว
ดังนั้น สามารถสรุปไดวาแทจริงแลวสิ่งที่เรียกวาเสรีนิยมใหมนั้นไมไดมีลักษณะเปนกลุมกอนตั้งแตแรก
กำเนิด อีกทั้งยังไมไดมีหนาตาเหมือนเดิมเสมอในยามที่มันปรากฏตัวในแตละพื้นที่และเวลา มุมมองตอเสรีนิยม
ใหม รวมถึงคุณคาของมันยอมเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย และตามบริบทของแตละประเทศ
พิชชากร อินทรพงษ 6145570629

You might also like