Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 1

การดาเนินการทางวินัย  เมื่อพบการกระทาผิด ผู้บังคับบัญชารายงานผู้มีอานาจบรรจุแต่งตั้งดาเนินการ (หรือมอบหมาย)

ถ้าผู้มีอานาจบรรจุแต่งตั้ง ไม่ดาเนินการหรือว่าปฏิบัติหน้าที่โดยไม่สุจริต ถือว่าผิดวินัย


หากไม่เห็นว่ามีมูล > ยุติเรื่องได้
 ถ้ามีมูลและไม่ใช่ความผิดวินัยร้ายแรง ผู้บังคับบัญชาสั่งลงโทษได้ โดยไม่ต้องตั้งคณะกรรมการสอบสวน
 ถ้ามีมูลและเป็นความผิดร้ายแรง ให้ตั้งคณะกรรมการสอบสวน ถ้ามีมูล
ความผิดไม่ร้ายแรง > ภาคทัณฑ์/ ตัดเงินเดือน / ลดเงินเดือน ความผิดร้ายแรง > ปลดออก / ไล่ออก
 ปลดออก ได้สิทธิบาเหน็จ บานาญ เสมือนผู้นั้นลาออก
 ข้าราชการลาออกไปแล้ว แต่ถูกกล่าวหาว่ากระทาความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ในขณะที่รับราชการนั้น ผู้
มีอานาจดาเนินการทางวินัยมีอานาจดาเนินการสืบสวน พิจารณา ดาเนินการทางวินัยและสั่งลงโทษได้
เสมือนผู้นั้นยังมิได้ออกจากราชการ
o ถูกยื่นฟ้องคดีอาญา ตั้งแต่ก่อนออกจากราชการ ให้ดาเนินการสอบสวนและต้องสั่งลงโทษ
ภายใน 3 ปี นับแต่ผู้นั้นออกจากราชการ
o ถูกยื่นฟ้องคดีอาญา หลังจากออกจากราชการ ให้ดาเนินการสอบสวน ภายใน 1 ปี และต้อง
สั่งลงโทษภายใน 3 ปี นับแต่ผู้นั้นออกจากราชการ
o กรณีศาลปกครอง มีคาพิพากษาถึงที่สุดให้เพิกถอนคาสั่งลงโทษ เพราะกระบวนการ
ดาเนินการทางวินัยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ให้ผู้มีอานาจดาเนินการทางวินัยให้แล้วเสร็จ ภายใน
2 ปี นับแต่วันที่มีคาพิพากษาถึงที่สุด
 ถ้าผลการสอบสวนพิจารณาปรากฎว่าผู้นั้นกระทาผิดวินัยไม่ร้ายแรง ให้งดโทษ
 กรณีปปช. ชี้มูลความผิดข้าราชการที่ออกจากราชการแล้ว ให้ดาเนินการทางวินัยและสั่งลงโทษ ตาม
หลักเกณฑ์ เงื่อนไขที่กาหนดไว้ในกฎหมายประกอปรธน. ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
 ถ้าผลการสอบสวนพิจารณาปรากฎว่าผู้นั้นกระทาผิดวินัยไม่ร้ายแรง ให้งดโทษ
การสั่งพัก / สั่งให้ออก  ผู้มีอานาจบรรจุสามารถสั่งพักราชการ / สั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน เพื่อรอฟังผลการสอบสวนหรือ
จากราชการไว้ก่อน พิจารณาคดีได้ หากต่อมาพบว่าไม่ได้ทาผิด /ทาผิดแต่ไม่ถึงกับต้องให้ออก ก็ให้ สั่งกลับมาปฏิบัติราชการ
 กรณีไม่ได้ผิดวินัยร้ายแรง แต่ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน ผู้นั้นยังคงมีสถานภาพเป็นข้าราชการพล
เรือนสามัญ เสมือนว่าถูกสั่งพักราชการ
ทั่วไป  การลงโทษข้าราชการพลเรือนสามัญ มีกฎหมายว่าด้วยวินัยราชการโดยเฉพาะ ผู้บังคับบัญชาสามารถ
พิจารณาดาเนินการตามกฎหมายดังกล่าวได้เลย แล้วให้รายงานต่อ อ.ก.พ. กระทรวงที่สังกัดให้พิจารณา
 ถ้า อ.ก.พ.กระทรวง / ก.พ. มีมติไม่เห็นด้วย สามารถสั่งสอบสวนใหม่หรือสอบสวนเพิ่มเติมได้
 ถ้าผู้แทนก.พ. (ที่อยู่ในอ.ก.พ.กระทรวง) เห็นว่าอ.ก.พ.กระทรวง / ผู้บังคับบัญชา ไม่ปฏิบัติตามพรบ.นี้
หรือปฏิบัติไม่เหมาะสม ให้รายงานต่อก.พ. พิจารณาดาเนินการต่อไป แล้วให้ใช้มติของก.พ. ในการ
ดาเนินการ | ถ้าผู้ถูกลงโทษ อุธรณ์คาสั่งลงโทษของผู้บังคับบัญชา ต่อ ก.พ.ค. ให้ก.พ.แจ้งกรณีดังกล่าว
ต่อ ก.พ.ค. เพื่อประกอบการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์
เพิ่มโทษ / ลดโทษ /  ให้ผู้สั่งมีคาสั่งใหม่ ในคาสั่งดังกล่าวให้สั่งยกเลิกคาสั่งลงโทษเดิม พร้อมระบุวิธีการดาเนินการเกี่ยวกับ
งดโทษ / ยกโทษ โทษที่ได้รับไปแล้ว
ข้าราชการพลเรือนสามัญ  ผู้บังคับบัญชาดาเนินการทางวินัยตามพรบ.นี้ได้เลย
ที่โอนมา  แต่ถ้าเป็นเป็นเรื่องที่อยู่ในระหว่างสืบสวนพิจารณา ให้ผู้บัญชาการเดิมสอบสวนให้เสร็จแล้วค่อยส่งผลมา
ให้พิจารณาต่อ การสั่งลงโทษทางวินัย พิจารณาความผิดและลงโทษใช้กฎเกณฑ์ของต้นสังกัดเดิม
การออกจากราชการ 1. ตาย
2. พ้นจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญข้าราชการ
3. ลาออกจากราชการและได้รับอนุญาตให้ลาออก
ยื่นหนังสือขอลาออกต่อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปหนึ่งชั้น ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน
4. ถูกสั่งให้ออก
5. ถูกสั่งลงโทษปลดออก / ไล่ออก

You might also like