การต่อลงดินของจุดนิวทรัลระบบ

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

การตอลงดินของจุดนิวทรัลของระบบ
รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
เอกสารอางอิง : ANSI/IEEE C 67.92-1987 IEEE Guide for the Application of Neutral Grounding
in Electrical Utility Systems Part I - Introduction

การตอลงดินของระบบมีไดหลายอยาง ขึ้นกับระบบและแรงดันเกินที่สามารถจัดการได
เนื่องจากการตอลงดินมีผลตอเนตเวิรคศูนย ซึ่งมักเกิดขึน้ เมื่อระบบมีการตอลงดิน เชนการลัดวงจรเฟส
ลงดิน หรือเฟส-เฟสลงดิน เปนตน ระบบที่เกิดกระแสลัดวงจรสามเฟสก็ไมตองมีเนตเวิรคศูนยเขามา
เกี่ยวของ
การตอลงดินแตละระบบมีผลตอแรงดันเกินที่เกิดขึน้ ในระบบเมื่อเกิดลัดวงจรลงดิน เชนเกิด
ลัดวงจรลงดินที่เฟส A อาจทําใหแรงดันเกินที่เกิดที่เฟสอื่นมีคามากจนฉนวนเสียหาย หรือเกิดความ
เสียหายกับอุปกรณตางๆได ดังนั้นการศึกษาการตอลงดินเพื่อใหทราบขอดีขอเสียจึงมีความจําเปน

Coefficient of Grounding (COG)


หมายถึง อัตราสวน ELG/ ELL บอกเปนเปอรเซนต คือ แรงดัน rms สูงสุดของความถี่กําลังที่เฟส และ
ตําแหนงที่พิจารณาเมื่อเกิดลัดวงจรลงดิน ตอแรงดันไฟฟาระหวางสายที่ตําแหนงเดียวกันเมื่อจุด
ลัดวงจรถูกตัดออกจากระบบ
Earth Fault Factor (EFF)
ปจจุบันไดมีการใช EFF มากขึ้น และมาแทนคา COG
หมายถึง อัตราสวน ELG/ ELG บอกเปนเปอรเซนต คือ แรงดัน rms สูงสุดของความถี่กําลังที่เฟส และ
ตําแหนงที่พิจารณาเมื่อเกิดลัดวงจรลงดิน ตอแรงดันไฟฟาระหวางสายกับดินที่ตําแหนงเดียวกันเมื่อจุด
ลัดวงจรถูกตัดออกจากระบบ
Effectively Grounded
หมายถึง การทําระบบลงดินและใหคา COG ไมเกิน 80% ซึ่งประมาณไดวาเกิดเมือ่ Xo / X1 < 3 และ Ro /
X1 < 1
Non-Effectively Grounded
หมายถึง การทําระบบลงดินและใหคา COG เกิน 80% ซึ่งประมาณไดวาเกิดเมื่อ Xo / X1 มีคาเปนลบ
หรือ > 3 และ Ro / X1 >1

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 04/07/47


โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

รูปที่ 1 วงจรอุดมคติ

รูปที่ 2 วงจรการตอเนตเวิรคของบวก ลบ ศูนย สําหรับระบบที่มีการลัดวงจรลงดิน

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 04/07/47


โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

การตอแบบ Non-Effectively Grounded


มีการตอลงดินหลายแบบดังนี้
ก. Resistance Grounding
ข. Inductance Grounding
ค. Resonance Grounding
ง. Ungrounded

Resistance Grounding
การตอลงดินผานความตานทานต่ําทําใหแรงดันไฟฟาระหวางสายกับนิวทรัลมีคาไมเกิน
แรงดันระหวางสาย และแรงดันเกินระหวางนิวทรัลกับดินไมเกินแรงดันระหวางสายกับนิวทรัล

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 04/07/47


โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

Inductance Grounding
การตอลงดินผานความเหนี่ยวนําโดยใหนอยกวา ground fault neutralizer จะทําใหมองเห็น
ระบบจากจุดลัดวงจรเปนความเหนี่ยวนํามากกวาความจุ ทําใหระบบมีความตานทานในเนตเวิรคศูนยต่ํา
ทําใหแรงดันระหวางสายกบนิวทรัลมีคาต่ํากวาแรงดันระหวางสาย และแรงดันระหวางนิวทรัลกับดินมี
คาไมเกินแรงดันระหวางสายกับนิวทรัล
การตอลงดินผานความเหนี่ยวนํามีคาแรงดันเกินสูงสุดในเฟสที่ไมมีการลัดวงจรไมเกินคา 2.73
เทาของแรงดันปกติ แรงดันระหวางนิวทรัลและศูนยไมเกิน 1.67 เทาแรงดันระหวางสายกับนิวทรัล

Resonance Grounding
เปนการตอลงดินผาน ground-fault neutralizer คือการตอลงดินดวยความเหนี่ยวนําทีท่ ําให Xn
= Xcg (ดูรูปที่ 1) ทําใหคา Xo มีคาอนันต แรงดัน แรงดันในเฟสที่ไมไดเกิดลัดวงจรจะมีคาเทากับแรงดัน
ระหวางสาย
แรงดันเกินสูงสุดเมื่อเทียบกับสําหรับเฟสที่ไมไดเกิดลัดวงจรจะมีคาไมเกิน 2.73 เทาของปกติ
และแรงดันระหวางนิวทรัลและดินไมเกิน 1.67 เทากับแรงดันระหวางสายกับนิวทรัล

Ungrounded
ระบบทีไ่ มมีการตอลงดินมักมีแรงดันเกินสูงกวาระบบที่มกี ารตอลงดิน และคา Xo ก็มคี าติดลบ
เนื่องจากความจุไฟฟาที่เกิดในระบบ และแรงดันเกินที่เกิดขึ้นอาจมีความรุนแรง และทําใหตองมีฉนวน
ในระบบเพิ่ม

สรุป
การตอลงดินทีจ่ ุดนิวทรัลไมวาจะเปนที่เครือ่ งกําเนิดไฟฟา หรือหมอแปลง มีความสําคัญกับ
ระบบโดยพิจารณาแรงดันเกินที่เกิดขึน้ เมื่อเกิดลัดวงจรลงดิน ถาไมเกิดลัดวงจรลงดิน คาอิมพีแดนซที่
ตอระหวางนิวทรัลกับดินก็ตอ งนํามาใชในการวิเคราะห อิมพีแดนซที่ตอ ระหวางนิวทรัลกับดินมีผลเมื่อ
มีกระแสลัดวงจรลงดินเกิดขึ้น ซึ่งทําใหแรงดันที่เฟสที่ไมไดเกิดลัดวงจรมีคาสูง ดังนั้นเพื่อจํากัดแรงดัน
เกินดังกลาวจึงตองมีการตออิมพีแดนซระหวางนิวทรัลและดิน
ถาเปนการตอลงดินแบงออกเปน Effective และ Non-Effective Grounded ถาเปนการตอลงดิน
แบบ Effective Grounded ก็คือทําใหแรงดันเกินที่เกิดในเฟสตางๆมีคา ต่ํา แตถาเปนการตอลงดินแบบ
Non-Effective Grounded ก็ทําใหแรงดันเกินที่เฟสตางๆมีคามากแตทั้งนี้ก็มีการจํากัดดวยเชนกันวาควร

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 04/07/47


โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ตอคาเทาใดเพื่อไมใหคาแรงดันเกินมากเกินความจําเปน และการตอลงดินแบบ Non-Effective


Grounded ก็แบงออกเปนการตอลงดินผานความตานทาน ความเหนีย่ วนํา การเรโซแนนซ และการ
ไมไดตอลงดิน

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 04/07/47

You might also like