Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 8

โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 1

การตอลงดินระบบตางๆ
รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
การตอลงดินมีหลายระบบและมีความแตกตางๆกัน และแตละระบบมีวัตถุประสงคตางกัน
บางคนอาจเข า ใจผิ ด คิ ด ว า การต อ ลงดิ น มี ไ ว เ พื่ อ ให เ กิ ด ความปลอดภั ย แต เ พี ย งอย า งเดี ย ว ซึ่ ง
วัตถุประสงคของการตอลงดินแตละระบบอาจไมไดมีเปาหมายเพื่อใหเกิดความปลอดภัยแตเพียง
อยางเดียว ในที่นี้จะกลาวถึงการตอลงดินในระบบตางๆเพื่อใหเขาใจวัตถุประสงคของการตอลงดิน
แตละระบบ
การตอลงดินในระบบตางๆมีดังนี้
ก. การตอลงดินที่ระบบกําเนิดไฟฟา
ข. การตอลงดินที่สถานีไฟฟายอย
ค. การตอลงดินที่เสาสง
ง. การตอลงดินที่หมอแปลง
จ. การตอลงดินของระบบปองกันฟาผา
ฉ. การตอลงดินของระบบคอมพิวเตอร
ช. การตอลงดินระบบไฟฟาแรงต่ําในอาคาร
ก. การตอลงดินที่ระบบกําเนิดไฟฟา เปนการตอลงดินเพื่อใหระบบทํางานตามวัตถุประสงคที่ตั้งใจ
ไว ไม ไ ด มี ไ ว เ พื่ อ ให เ กิ ด ความปลอดภั ย แต อ ย า งใด เช น การต อ ลงดิ น โดยตรง หรื อ ทั้ ง แบบ
อิมพีแดนซสูง (ZH) หรือแบบอิมพีแดนซต่ํา (ZL) ดังแสดงในรูปที่ 1 ซึ่งโดยสวนใหญเนนทางดาน
การควบคุมขนาดกระแสลัดวงจรลงดินใหมีขนาดตามที่ตองการเพื่อใหอุปกรณปองกันทํางาน และ
ไมเปนอันตรายตอระบบ

ZL ZH

รูปที่ 1 การตอลงดินที่ระบบกําเนิดไฟฟาแบบตางๆ

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 27/05/47


โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2

ข. การตอลงดินที่สถานีไฟฟายอย
การตอลงดินที่สถานีไฟฟายอยเพื่อใหเกิดความปลอดภัยกับคนที่ทํางานภายในสถานีไฟฟา
ยอยเมื่อมีกระแสลัดวงจรลงดินเกิดขึ้นและไหลลงดินที่สถานีไฟฟายอยโดยพิจารณาการออกแบบ
กริดในสถานีไฟฟายอยใหแรงดันไฟฟายางกาว (Step Voltage) และแรงดันไฟฟาสัมผัส (Touch
Voltage) ต่ํากวาคาที่ปลอดภัยสําหรับมนุษย กริดดังกลาวติดตั้งฝงดินและโรยดวยหินกรวดปดทับ
ดานบน และอุปกรณไฟฟาในสถานีไฟฟายอยก็ตอลงดินจากตัวถังอุปกรณลงดินไปที่กริดดังกลาว
ดังแสดงในรูปที่ 2 ในรูปแสดงเสาลอฟาผาที่มุมของสถานีไฟฟายอย และอุปกรณทั้งหมดอยู
ภายในรั้วของสถานีไฟฟายอย

รูปที่ 2 การตอลงดินที่สถานีไฟฟายอยเพื่อใหแรงดันไฟฟายางกาว
และแรงดันไฟฟาสัมผัสอยูในเกณฑปลอดภัย

A B C D E

รูปที่ 3 แรงดันสัมผัสและแรงดันยางกาวทีเ่ กิดขึ้นในสถานีแบบตางๆ

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 27/05/47


โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 3

ในรูปที่ 3 แสดงแรงดันทีเ่ กิดขึ้น (Surface Potential Profile) เมื่อมีกระแสไฟฟาลัดวงจรลง


ดิน รูปคนที่ A เกิดอันตรายเนื่องจากมือไปสัมผัสโลหะที่มีแรงดันตางกัน รูป B แสดงคนมีแรงดัน
ยางกาว (step voltage) คือมีแรงดันระหวางขา ES ถากาวขายาวก็ยิ่งเปนอันตรายมากขึน้ แตอยาลืมวา
แรงดันดังกลาวเกิดเฉพาะในชวงที่เกิดกระแสลัดวงจรลงดินเทานัน้ รูป C มือไปสัมผัสโครงโลหะที่
ตอลงดิน มือมีศักยสูงสุด สวนขาก็ยนื อยูที่พื้นซึ่งมีแรงดันที่ตางกันไป ทําใหเกิดแรงดันระหวางมือ
และขาหรือที่เรียกวา แรงดันสัมผัส Et (touch voltage) สวนรูป D แสดงแรงดันสัมผัสสูงสุดที่
เกิดขึ้น (mesh voltage) Em ซึ่งเกิดกรณีที่คนไปยืนพิงโครงโลหะที่ตอลงดิน และจุดที่ยืนอยูตรงกลาง
กริดพอดี สวนรูปสุดทาย E เปนรูปที่คนไปสัมผัสโครงโลหะที่มีการตอลงดินและจุดที่ขายืนอยูน ั้น
อยูขางนอกสถานีไฟฟา หรืออยูหางจากกริดของสถานีไฟฟา ทําใหเกิดแรงดันถายโอน (transferred
voltage) ซึ่งมีคาสูงมาก
จากแรงดันที่เกิดขึ้นตามจุดตางๆในสถานีไฟฟาในชวงที่เกิดกระแสลัดวงจรลงดินมี
อันตรายตอคนที่ไปทํางาน หรือสัมผัสโครงโลหะที่ตอลงดิน ดังนัน้ จึงตองมีการออกแบบเพื่อให
แรงดันทุกแบบที่กลาวขางตนไมมีอันตรายกับคนที่ทํางานในสถานีไฟฟา เมื่อเขาใจอันตรายที่
เกิดขึ้นดังกลาวขางตนแลวก็ตองระวังไมไปสัมผัสโครงโลหะที่ตอลงดินในสถานีไฟฟา ฟงดูแลวก็
แปลกเพราะสวนใหญคิดวาการมีโครงโลหะตอลงดินนาจะปลอดภัย ก็จริงโครงโลหะที่ตอลงดินมี
ความปลอดภัยในกรณีที่มกี ระแสรั่วเทานัน้ แตถาเปนกรณีเกิดลัดวงจรแบบนี้ก็มีอันตรายเกิดขึน้ กับ
คนที่ไปสัมผัสโครงโลหะตอลงดินได แตถาออกแบบการตอลงดินของสถานีไฟฟาใหดีก็ไมมี
อันตรายดังกลาว แตอยางไรก็ตามแนะนําไววา ไมควรไปสัมผัสโครงโลหะที่ตอลงดินเมื่อเขาไปใน
สถานีไฟฟา
ค. การตอลงดินที่เสาสง
เมื่อเกิดฟาผาลงที่เสาสงจะเกิดคลื่นเคลื่อนที่ไปทั้งตามสายและตามเสาสงเพื่อลงดินดัง
แสดงในรูปที่ 4 และเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปถึงรอยตอที่มีคาเสิรจอิมพีแดนซไมเทากันก็จะเกิดคลื่น
สะทอนกลับดวยสัมประสิทธิ์การสะทอน (Coefficient of Reflection) เปนไปตามสมการที่ (1)

สายดิน

สายสง

เสาสง

รูปที่ 4 แรงดันฟาผาที่เกิดบนสายสงและเสาสง

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 27/05/47


โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 4

สัมประสิทธิ์การสะทอน
( Z 2 − Z1 )
Γ= (1)
( Z1 + Z 2 )

สมมุติเสาสงมีเสิรจอิมพีแดนซ 150 โอหม และที่ดินมีความตานทานเมื่อปกแทงหลักดิน 10


โอหม จะมีสัมประสิทธิ์การสะทอนเทากับ (10 – 150) / (150 + 10) = -0.875 นั่นคือ สมมุติ
แรงดันไฟฟาที่ลงมาตามเสาสงมีคา 1,000 KV คลื่นสะทอนกลับขึ้นไปมีคา -875 KV ดังแสดงในรูป
ที่ 5 ทําใหแรงดันไฟฟารวมมีคาต่ําลงดังแสดงในรูป ถาความตานทานดินยิ่งลดลงมากเทาไร แรงดัน
สะทอนกลับขึ้นมาจากดินก็มีคาเปนลบมากขึ้น ทําใหแรงดันรวมที่ยอดเสามีคานอยลง โอกาสเกิด
วาบไฟที่ฉนวนลูกถวยก็นอยลงดวย
แรงดันไฟฟา
1000 KV แรงดันฟาผาที่เกิด

แรงดันฟาผารวมเมื่อคิดแรงดันไฟฟาสะทอนกลับมาแลว

เวลา

แรงดันไฟฟาสะทอน
-875 KV
กลับขึ้นมาเปนลบ

รูปที่ 5 แรงดันฟาผาที่เกิดและแรงดันไฟฟาสะทอนกลับขึน้ มาจากดิน


การตอลงดินที่เสาสงเพื่อใหแรงดันสะทอนกลับเปนลบเพื่อไปหักลางกับแรงดันเกินที่
เกิดขึ้นเนื่องจากคลื่นเคลื่อนที่ไดในสายสง ทําใหแรงดันรวมที่ดานบนมีคาลดลง ถาความตานทาน
ดินที่เสาสงสูงมากกวาเสิรจอิมพีแดนซของเสาสง ทําใหแรงดันสะทอนกลับมีคาเปนบวก แรงดัน
เกินรวมมีคาสูงขึ้นและมีโอกาสเกิดวาบไฟที่ฉนวนที่เสาสงนั้น วิธีแกไขทําไดโดยเพิ่มฉนวนสายสง
ใหมากขึ้นเฉพาะเสาตนนั้นๆ
รูปที่ 6 เปนการตอลงดินที่เสาสงซึ่งอาจเปนรากสายดินแบบแทง หรืออาจเปนรากสายดิน
แบบวงแหวนก็ไดเมื่อเกิดแรงดันเกินที่เสาสงดานบนและมีแรงดันเคลื่อนที่ลงมาตามเสาสงลงดิน
และเมื่ อ ถึ ง ดิ น ก็ เ กิ ด คลื่ น เคลื่ อ นที่ ย อ นกลั บ ขึ้ น ไปด า นบน กรณี ที่ ค วามต า นทานดิ น สู ง คลื่ น ที่
สะทอนกลับขึ้นมาจากดินมีคาเปนบวก เมื่อรวมกับคลื่นที่ลงมาทําใหคลื่นรวมมีคามากขึ้น แตถา
ความตานทานดินต่ํา คลื่นที่สะทอนกลับขึ้นมาจากดินมีคาเปนลบ ทําใหคลื่นรวมมีคานอยลง

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 27/05/47


โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 5

Rสูง R ต่ํา

รูปที่ 6 แรงดันคลื่นเคลื่อนที่ที่เสาสงที่ความตานทานตางกัน
สรุปวาความตานทานดินทีเ่ สาสงมีคานอยลงมากเทาใด คลื่นสะทอนกลับก็มีคาเปนลบมาก
ขึ้นเมื่อเทียบกับแรงดันฟาผาที่เกิด ทําใหใชฉนวนนอยลง และโอกาสเกิดวาบไฟที่ฉนวนลูกถวยก็
นอยลง หรือกลาวสั้นๆวา การตอลงดินที่เสาสงมีวัตถุประสงคเพื่อใหแรงดันสะทอนกลับเปนลบให
มากที่สุดเพื่อใหแรงดันรวมที่หัวเสามีคาต่าํ ที่สุดทําใหการเกิดวาบไฟทีล่ ูกถวยก็นอยลง

ง. การตอลงดินที่หมอแปลง
การตอลงดินที่หมอแปลงโดยเฉพาะทางดานทุติยภูมิกอนเขาแผงไฟฟาประธานแรงต่ํา
รูปที่ 7 ก. มีการตอลงดินทําใหจุด N ถูกตรึงใหอยูกับจุดดิน G ดังนั้นแรงดันไฟฟาแตละเฟส A B
และ C มีคาเทาๆกัน แตถาระบบไมมีการตอลงดินที่หมอแปลงดังแสดงในรูปที่ 7 ข. ทําใหที่จุด N
อาจเปลี่ยนตําแหนงไดจากเดิมที่เปนจุดดําในรูปไปเปนจุดอื่น เมื่อมีกระแสจากโหลดไมเทากันใน
แตละเฟส

N N,G
G
ก. ระบบตอลงดินที่หมอแปลง

N
N G

ข. ระบบที่ไมมีการตอลงดินที่หมอแปลง
รูปที่ 7 เปรียบเทียบระบบที่มกี ารตอลงดินและไมมีการตอลงดินที่หมอแปลง

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 27/05/47


โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 6

ในทางปฏิบัติเมื่อจุดตอลงดินของหมอแปลงหลุดจะทําใหแรงดันแตละเฟสมีคาไมเทากัน
และบางเฟสอาจมีคาถึง 300 โวลตกวาก็มีแทนทีจ่ ะเปน 220 โวลต และบอยครั้งที่พบวา
แรงดันไฟฟาที่เฟสใดเฟสหนึ่งของระบบไฟฟามีคาสูงมาก และเมื่อไปตรวจสอบที่จดุ ตอลงดินของ
หมอแปลงก็มกั พบวาสายนิวทรัลหลุดจากรากสายดิน คือ N กับ G ตอไมถึงกันนั่นเอง
จ. การตอลงดินของระบบปองกันฟาผา
การตอลงดินในระบบปองกันฟาผามีไวเพื่อใหกระแสฟาผาไหลลงดินไดเร็วที่สุด เพื่อ
ไมใหเกิดเพลิงไหมภายในอาคาร และไมเปนอันตรายกับคนที่อยูภายในอาคารหรือสิ่งกอสรางนั้นๆ
การตอลงดินในระบบปองกันฟาผาอาจใชรากสายดินแบบแทง หรือตัวนํารัศมีในแนวราบ หรือ
ตัวนําฝงในคอนกรีตก็ได
การตอลงดินของระบบปองกันฟาผาจะเชื่อมตอกับการตอลงดินของระบบไฟฟาและ
อื่นๆ หรือกลาวไดวาระบบการตอลงดินทุกระบบจะตอรวมกันเปนระบบการตอลงดินระบบเดียว

รูปที่ 8 ระบบปองกันฟาผาสําหรับอาคารกอสราง ในรูปเปน


การตอลงดินโดยใชรากสายดินแบบแทง และมีการตอดวยวง
แหวนรอบอาคารเชื่อมรากสายดินทั้งหมดเขาดวยกัน

ฉ. การตอลงดินของระบบคอมพิวเตอร
การตอลงดินของระบบคอมพิวเตอรมีอยางนอยสองระบบ คือการตอลงดินระบบไฟฟา
และการต อ ลงดิ น ระบบสั ญ ญาณ นอกจากนั้ น อาจมี ร ะบบสื่ อ สารเช น สายโทรศั พ ท ที่ ม าต อ ที่
คอมพิวเตอรดวย ไฟฟาหลายระบบดังกลาวขางตนควบคุมใหมีระดับแรงดันเดียวกันทําไดลําบาก
โดยเฉพาะถามีการตอลงดินหลายที่ และเขามาที่ตัวอาคารจากหลายดาน เมื่อเวลาเกิดแรงดันเกินที่
ระบบใดก็ทําใหเกิดผลกับระบบอื่นที่ตอกับอุปกรณนั้น
พิจารณารูปที่ 9 อาคารมีคอมพิวเตอรซึ่งมีการจายไฟฟาจากตู MDB และมีสายโทรศัพท
เขามาที่เครื่องคอมพิวเตอรดวย การตอลงดินของระบบไฟฟาและสายโทรศัพทแยกออกจากกัน เมื่อ
เกิดฟาผาที่ระบบโทรศัพทเกิดแรงดันเกินอิมพัลสเขามาทําใหสายดินระบบโทรศัพทมีแรงดันสูงเมือ่

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 27/05/47


โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 7

เทียบกับระบบดินของไฟฟา ทําใหเกิดความเสียหายที่เครื่องคอมพิวเตอรได เหตุผลดังกลาวทําให


ตองมีการตอลงดินรวมกันทุกระบบไฟฟา

อาคาร
ฟาผา
คอมพิวเตอร
อิมพัลสฟาผา
MDB สายโทรศัพท

ความตางศักยมาก

รูปที่ 9 การตอลงดินของระบบตางๆที่แยกตอลงดิน และทําใหเกิดความเสียหาย


การตอลงดินระบบไฟฟาของระบบคอมพิวเตอรก็เหมือนกับการจายไฟฟาใหกับอุปกรณ
ไฟฟาทั่วไป คือตองมีสายดินเพื่อไปตอเขากับเครื่องหอหุมโลหะของคอมพิวเตอร สวนการตอลง
ดินในระบบสัญญาณก็เพื่อใหระบบอางอิงของวงจรมีศักยไฟฟาเทากันในทุกอุปกรณ ดังนั้นการสง
ขอมูลระหวางเครื่องไมเกิดปญหา การตอลงดินระบบสัญญาณไดแสดงไวในรูปที่ 9

รูปที่ 9 การตอลงดินแบบกริดในหองคอมพิวเตอร
และเครื่องทุกชุดตอลงที่กริด

การตอลงดินระบบสัญญาณที่พบเห็นในหองคอมพิวเตอรคือทําเปนพื้นยกระดับ และมีการ
ตอตัวนําเปนตารางสี่เหลี่ยมขนาด 60 x 60 ซม. และระบบอางอิงของวงจรคอมพิวเตอรก็ตอเขากับ
ระบบกริดดังกลาว และกริดดังกลาวก็ตอลงดินที่ระบบการตอลงดินของระบบไฟฟาทั่วไป
ช. การตอลงดินระบบไฟฟาแรงต่ําในอาคาร
การตอลงดินในระบบไฟฟาแรงต่ําในอาคารเพื่อใหเกิดความปลอดภัยกับผูใชไฟฟาใน
อาคาร และเพื่อใหอุปกรณปองกันเปดวงจรออกไดอยางปลอดภัยเมื่อมีการเกิดลัดวงจรขึ้น การตอ
ลงดินในระบบไฟฟาแรงต่ําจําเปนตองเขาใจใหถองแท มิฉะนั้นเมื่อมีการติดตั้งผิดก็ทําใหเกิดความ
เสียหายได หลักการของการตอลงดินระบบไฟฟาแรงต่ําในอาคาร คือ จุดนิวทรัลและจุดดินตองตอ

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 27/05/47


โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 8

ถึงกันที่แผงเมนไฟฟา และหลังจากนั้นการจายไฟฟาในอาคารสายดินและสายศูนยตองไมตอถึงกัน
ไมที่จุดใดในอาคาร
การตอลงดินที่ถูกตอง สายดินตองไมมีกระแสในกรณีใชงานปกติ ดังนั้นถาตองการ
ตรวจวาการตอลงดินถูกตองหรือไม การตรวจสายดินดวยการวัดกระแสในสายดินก็เปนวิธีหนึ่งใน
หลายวิธีที่ใชตรวจ ถามีกระแสไหลในสายดินเสนใดในอาคารก็ตามแสดงวาไดมีการตอสายดินและ
สายนิวทรัลถึงกันซึ่งเปนการตอที่ผิด ในอาคารหลายแหงที่แผงไฟฟายอยไดมีการนําสายดินและ
สายนิวทรัลตอถึงกันซึ่งไมถูกตองตามเหตุผลที่กลาวไป

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 27/05/47

You might also like