Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

Triaxial Test

วันที่ทำการทดลอง
8 มีนาคม 2566

ผู้เขียนรายงาน
กรกันต์ ช้างศิลา 6310504908
หมู่ 12

สมาชิกกลุ่ม
กมลลักษณ์ โคตะยันต์ 6310504894
กรกันต์ ช้างศิลา 6310504908
ณัฐชยา หนิดภักดี 6310505009
บุริศร์ ศรีบุญเรือง 6310505076
กานตพงศ์ นุ่มนวล 6310506331
วัตถุประสงค์ : เพือ่ หาค่าพารามิเตอร์กาลังต้านทานแรงเฉือน
ทฤษฎีทเ่ี กีย่ วข้อง :
มวลดินในระดับต่าง ๆ ใต้ผวิ ดินย่อมจะมีแรงดันอันเกิดจากน้าหนักของดินเอง
โดยรอบหรือเรียกว่า Geostatic Stress และเมือ่ มีแรงกระทาภายนอกอันจะเป็ นสาเหตุให้เกิด
การเคลื่อนพังของมวลดินนัน้ ขึน้ ภายหลัง หน่วยของแรงนี้เรียกว่า Applied Stress ซึง่ อาจ
เกิดจากน้าหนักของอาคารทีถ่ ่ายลงบนฐานราก เมือ่ มี Applied Stress มากเกินไปจนเกิน
กาลังทีม่ วลดินจะรับไหวก็จะเกิดการเคลื่อนพัง
หลักการของ Triaxial Test แตกต่างไปจาก Direct Shear Test ในการหาค่า Soil
Strength Parameters ดังนี้
1. Triaxial Test จะมีแรงดันตัง้ ฉากกับผิวของตัวอย่างดินเท่านัน้ โดยทีส่ ว่ นมาก
แรงดันด้านข้างจะรักษาไว้คงที่ แล้วเพิม่ แรงดันด้านบนจนกระทังตั่ วอย่างดินเกิดการเคลื่อน
พังขึน้
2. ระนาบหรือแนวการเคลื่อนพังของตัวอย่างเป็ นไปโดยธรรมชาติ ไม่ได้กาหนดไว้
ล่วงหน้า ดังเช่นทีเ่ กิดขึน้ ใน Direct Shear Test
3. การควบคุมการไหลถ่ายเทน้าภายในตัวอย่างดินทาได้สมบูรณ์ โดยอาศัย
Drainage Value และ Volume Change Indicator วิธกี ารทดสอบ แบ่งออกได้เป็ น 2
ขัน้ ตอน คือ
1.Consolidation State หลังจากเตรียมตัวอย่างดินแล้ว ตัวอย่างดินก็จะถูกอัดทุกๆด้าน
ด้วยแรงดันทีเ่ ท่ากัน ภายใต้แรงดันนี้กเ็ ปรียบเสมือนเรานาตัวอย่างดินเข้าสูส่ ภาพความดันใต้
ชัน้ ดิน ถ้ายิง่ ลึกมากก็ยงิ่ ต้องมี Confining Pressure มาก หลังจากนัน้ อาจจะมีการปล่อยให้
น้า
ภายในตัวอย่างดินไหลออกจนสูส่ ภาพสมดุล คือ ไม่ไหลต่อไปแล้ว
2.Shearing State ภายหลังการ Consolidation แล้ว ความดันด้านบนจะค่อยๆ เพิม่ ขึน้
แรงดันนี้จะเพิม่ ขึน้ เรื่อยๆ จนตัวอย่างดินทานไว้ไม่ไหว ก็จะเกิดการเคลื่อนพังขึน้ ได้ ซึ่งจะ
ปรากฏเป็ น Failure Plane

อุปกรณ์ทใ่ี ช้ :

เครื่องกดตัวอย่าง Dial Gauge Triaxial Cell

เครื่องตัดแต่งตัวอย่าง ที่ตัดแต่งดินตัวอย่าง ดินตัวอย่าง


แบบขึ้นทรงดิน Rubber membrane

วิธีการทดลอง :
การเตรียมตัวอย่างดินเหนียว
1. วางตัวอย่างดินลงบนฐาน Triaxial Cell โดยมี Porous Stone อยู่ระหว่างตัวอย่าง
และฐานเพื่อความสะดวกในการระบายน้ำเข้าออก ดังรูป
2. ใส่ถุงยาง (Rubber membrane) ครอบตัวอย่างอย่างดิน โดยใช้ membrane
stretcher แล้วรัดด้วย O-ring ให้ถุงยางติดแน่นกับฐาน โดยของเหลวภายนอกจะไม่สามารถซึม
ผ่านเข้าในตัวอย่างได้
3. วาง Top Porous Stone และ Top Cap ลงบนตัวอย่างตามลำดับ ดึงผ้ายางให้คลุม
อยู่ภายนอก Top Cap แล้วจึงรัดด้วย O-ring ให้แน่น ถ้า Top Cap มีสาย drain ให้ต่ออีกปลาย
หนึ่งเข้ากับ value A ที่ฐาน
4. เอาครอบแก้วสวมลงบนตัวอย่างดิน ต้องระวังให้ Loading ram อยู่บนกึ่งกลางของ
Top Cap พอดี แล้วขัน Screw ยึดกับฐานให้แน่น
การทำให้ดินชุ่มน้ำ
1. ปล่อยน้ำเข้าทาง Valve C เข้าภายใน Cell รอบนอกตัวอย่างดินให้เต็มล้นออก
ทาง Bleeding Value ด้านบน Cell

2. เพิ่มความดันของ Confining pressure ไว้เล็กน้อยประมาณไม่เกิน 5 psi เพื่อช่วย


ประคองตัวอย่างดินให้แข็งแรงขึ้น ปล่อยน้ำให้เข้าสู่ตัวอย่างทาง Valve B โดยมีความดันช่วยไม่
เกิน 3 psi น้ำจะเคลื่อนจากฐานขึ้นสู่เบื้องบน ขณะเดียวกันก็จะไล่ฟองอากาศออกทาง Valve A
จนหมด จึงปิด Value B และ A
3. ในกรณีที่ต้องทำการวัดความดันในตัวอย่างดิน มักนิยมเพิ่มความดันภายในตัวอย่าง
และภายนอกตัวอย่างขึ้นเท่ากันประมาณ 20 – 30 psi เรียกว่า Back Pressure ซึ่งจะทำให้
ฟองอากาศที่ยังหลงเหลืออยู่ละลายไปได้ เป็นการช่วยให้ดินชุ่มน้ำสมบูรณ์ขึ้น
Consolidated Undrained Test (CU - Test)
1. ปิด valves เพิ่ม Confining pressure ทาง Value C ให้มากกว่า Back pressure
ที่มีอยู่โดย Effective Confining pressure = Total Confining pressure - Back pressure
2. ค่อยเปิด valve A เพื่อให้ตัวอย่างดิน Consolidate น้ำภายในตัวอย่างดินจะค่อยๆ
ไหลออก ถ้าต้องการวัดปริมาณน้ำที่ไหลออกก็ต้องต่อกับ Volume Change Indicator
จนกระทั่งน้ำหยุดไหลออกจากตัวอย่าง
3. เมื่อ Consolidate ตัวอย่างดินเสร็จแล้วจะกดตัวอย่างดินภายใต้ Undrained
Condition Valve A, B และ C จะต้องปิดตลอดการกด นอกจาก Valve D ถ้าต้องการจะวัด
ความดันภายในตัวอย่างจะต้องต่อเข้าเครื่อง Pore Pressure Measurement
4. ยก Triaxial Cell เข้าใน Compression Machine จัด Dial gage สำหรับ
วัด Vertical Deformation และเลื่อนหัวกดให้พอดี แตะ Loading ram
5. ตั้งอัตราการ Loading rate ประมาณ 0.05 – 0.10 in/min, อ่าน Load และ
Pore Pressure ทุก Vertical deformation ประมาณ 0.01 in จนกระทั่งตัวอย่างดินเริ่ม
เคลื่อนพัง
ผลการทดลอง :
3.5000

3.0000
Stress (KSC)

2.5000

2.0000

1.5000

1.0000
0.0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0
Vertical Deformation (mm)

Mohr Circle and Mohr-Coulomb's Envelope


0.7

0.6
Shearing Stress (KSC)

0.5

0.4

0.3

0.2

0.1

0
0 1 2 3 4 5
Stress (KSC)
ตัวอย่างการคำนวณ :
@Vertical Def. = 20
Strain = ΔV/L0 = (20/77.37)/100 = 0.002585
Corr. Area = 7.3854/ (1-0.002585) = 7.4050 cm2
Fa = (P.R.) x Kp = 43 x 0.07858 =3.379
Stress = Fa/Corr. Area = 3.379/7.4050 = 0.4563 ksc

สรุปและวิจารณการทดลอง :
จากการทดลองนำค่าที่ได้มาคำนวณหา Vertical Diviator Load จากนั้นนำค่านี้
ไปคำนวณหาค่า Vertical Diviator Stress ของดินต่อ จากนั้นนำค่า Shearing Stress และ
Stress มาพล็อตลงกราฟ จะได้กราฟโค้งคว่ำ ซึ่งเป็นไปตามทฤษฎี โดยค่า Shearing Stress
สูงสุดมีค่า 0.645 ksc

หนังสืออ้างอิง : -ดร. วรากร ไม้เรียง-อ. จิรพัฒน์ โชติกไกร-อ. ประทีป ดวงเดือน, ปฐพีกลศาสตร์


ทฤษฎีและปฏิบัตกิ าร ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาลัยเกษตรศาสตร์ (ฉบับ e-book) ,หน้า 123-128

You might also like