Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 16

รายวิชาการศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ (ว 30229)

รายงานการศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง (Independent Study : IS)


เรื่อง เรือหางยาว

จัดทำโดย
1. นายธีรพงศ์ โยธิยะ ห้ อง ม.5/2 เลขที่ 1
2. นายมงคล ภูมิแสนโครต ห้ อง ม.5/2 เลขที่ 9
3.นายแทนกาย อุปถัมภ์ ห้ อง ม.5/2 เลขที่ 16
4. นางสาวนิสามณี กับชัย ห้ อง ม.5/2 เลขที่ 27

เสนอ

คุณครู ผสั พร จิตต์ สวัสดิ์


ครู ที่ปรึกษาโครงงาน
โรงเรียนศรีมหาโพธิ
อำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษาปราจีนบุรี นครนายก

บทคัดย่ อ
การทำเรื อหางยาวมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาขั้นตอนการทำและวิธีการทำในปั จจุบนั การทำเรื อสองตอน
ถือเป็ นการสร้างรายได้เสริ มให้กบั ผูท้ ำเรื อสองตอนเพราะในปั จจุบนั เพื่อเป็ นรายได้เสริ มมีการแพร่ หลายไป
รายวิชาการศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ (ว 30229)

พร้อมกับวัฒนธรรมไทย เนื่องจากคนในปัจจุบนั การทำเรื อสองตอนได้มีการทำเรื อสองตอนเป็ นเวลายาวนาน


แล้วคนสมัยก่อนนั้นถือเป็ นอีกสิ่ งหนึ่งที่มีความจำเป็ น คนสมัยก่อนทำสองตอนไว้ใช้ในครอบครัว หนึ่งและได้
รวบรวมไว้ไนโครงงานเล่มนี้ เพื่อให้บุคคลที่สนใจ ศึกษาและแนวทางต่อไป

กิตติกรรมประกาศ
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เรื่ อง เรื อหางยาว สำเร็ จลุล่วงได้ดว้ ยความช่วยเหลือให้ค ำแนะนำและให้ค ำ
ปรึ กษา ตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่ องต่างๆด้วยความเอาใจใส่ อย่างดียงิ่ จากคุณครู ผสั พร จิตต์สวัสดิ์
ครู ผสู ้ อนรายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู ้ (ว 30229) ผูเ้ ขียนกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสู ง
ขอขอบคุณเพื่อนในกลุ่มที่ร่วมกันแสดงความคิดเห็น หาข้อมูล และช่วยกันในการหาของมูล
และวิธีการทำช่วยกันลงมือทำตลอดจนให้ค ำแนะนำที่เป็ นประโยชนเป็ นอย่างยิง่

คณะผูจ้ ดั ทำ
รายวิชาการศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ (ว 30229)

สารบัญ
หน้า

บทคัดย่อ………………………………………………………………………………….……….……… ก
กิตติกรรมประกาศ……………………………………………………………………….…….…………. ข
สารบัญ ………………………………………………………………………………………..………… ค
บทที่ 1 ความเป็ นมาและความสำคัญของปัญหา……………………………………….………….……. 1
วัตถุประสงค์การศึกษา……......................................................………….................................. 2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ........................................................................................................ 2
ขอบเขตของการศึกษา……...…………………………………….…….................................... 2
รายวิชาการศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ (ว 30229)

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง....................................................................................................................... 3
บทที่ 3 วิธีด ำเนินการศึกษา....................................................................................................................... 5
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล................................................................................................................... 7
บทที่ 5 สรุ ปผลการศึกษา อภิปรายผล และ ข้อเสนอแนะ.......................................................................... 8
บรรณานุกรรม............................................................................................................................................ 10
ภาคผนวก.....................................................................................................................................................11

1
บทที่ 1

บทนำ

ความเป็ นมาและความสำคัญของปัญหา
เรื อ เป็ นยานพาหนะที่ใช้เดินทางทางน้ำ เรื อโดยทัว่ ไปโครงสร้างประกอบด้วยตัวเรื อ เป็ นโครงสร้างที่สามารถ
ลอยน้ำได้ (ซึ่ งอาจเป็ นส่ วนเดียวหรื อสองส่ วนขนาดกันก็ได้ แต่ไม่รวมถึงแพซึ่ งปกติโครงสร้างลอยน้ำจะทำจาก
กระบอกกลวงหลายๆท่อนผูกติดกันหรื ออาจใช้ไม้ที่มีลกั ษณะกลมและเบาจึงสามารถลอยนํ้าได้) กับ ส่ วนที่
เป็ นการขับเคลื่อนของเรื อ เช่น ไม้พาย (เรื อพาย หรื อ เรื อแจว) เครื่ องยนต์หางยาว (เรื อหางยาว) ใบเรื อ เรื อใบ
เป็ นต้นอาร์คิมีดีส ค้นพบหลักที่ท ำให้สิ่งต่างๆลอยได้ เริ่ มต้นจากเขาโดดลงอ่างอาบน้ำ และสังเกตว่า น้ำจะกระ
ฉอนออกไป ขณะที่เรื อลอยอยูใ่ นน้ำ เรื อก็"แทนที่"น้ำในรู ปแบบเดียวกัน และยังค้นพบอีกว่า น้ำส่ วนที่เรื อเข้าไป
แทนที่จะต้านกลับด้วยแรงที่เท่ากับน้ำหนักของเรื อ ความหนาแน่นของเรื อเป็ นสิ่ งสำคัญ ความหนาแน่นคือ น้ำ
หนักวัตถุที่วดั ได้ต่อหนึ่งปริ มาตรของวัตถุน้ นั หากเรื อหรื อวัตถุใดๆก็ตามมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำ สิ่ งนั้นจะ
ลอยได้ แต่หากวัตถุมีความหนาแน่นมากกว่าก็จะจมวั
วัตถุประสงค์ ของการศึกษา
1. เพื่อศึกษาขั้นตอนวิธีการทำเรื อหางยาว
ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้ รับ
รายวิชาการศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ (ว 30229)

1. ทราบวิธีการทำเรื อสองตอน
2. ทราบความเป็ นมาและประวัติของเรื อสองตอน
3. เพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาของคนรุ่ นหลังเอาไว้และพัฒนาให้แปลกใหม่และน่าสนใจมากยิง่ ขึ้น
4. เพื่อส่ งเสริ มให้เด็กรุ่ นใหม่รู้จกั ภูมิปัญญาไทยให้มากยิง่ ขึ้น

2
ขอบเขตของการศึกษา
1. สามารถนำไปต่อยอดความคิดเป็ นรายได้เสริ มได้ โดยที่ไม่ตอ้ งเดือดร้อนผูอ้ ื่น
2. นำวิธีการทำเรื อสองตอนไปประยุกต์เป็ นให้ไฮเทคมากยิง่ ขึ้น เช่น ใส่ หลอดไฟ มอเตอร์
วิธีดำเนินงาน
1.กำหนดหัวเรื่ องของงานที่จะทำ
2.วิเคราะห์ขอ้ มูล
3.จัดหาอุปกรณ์
4.ลงมือปฏิบตั ิ
5..ศึกษาและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
7.คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมด
8.นำเสนอโครงงาน
วิธีการสื บค้ นข้ อมูล
การสื บค้นข้อมูล หมายถึง การนำความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาหาความรู ้ ได้แก่ การ
สื บค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต โดยการใช้อินเตอร์เน็ตเกี่ยวกับการศึกษา

ระยะเวลาที่ใช้ ในการศึกษา
ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2565
รายวิชาการศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ (ว 30229)

3
บทที่ 2

เอกสารที่เกีย่ วข้ อง

เรื อหางยาว เป็ นยานพาหนะที่ใช้ เดินทางทางน้ำ เรื อโดยทัว่ ไปโครงสร้ างประกอบด้ วยตัวเรื อ เป็ น
โครงสร้ างที่สามารถลอยน้ำได้ (ซึง่ อาจเป็ นส่วนเดียวหรื อสองส่วนขนาดกันก็ได้ แต่ไม่รวมถึงแพซึง่
ปกติโครงสร้ างลอยน้ำจะทำจากกระบอกกลวงหลายๆท่อนผูกติดกันหรื ออาจใช้ ไม้ ที่มีลกั ษณะกลม
และเบาจึงสามารถลอยนํ ้าได้ ) กับ ส่วนที่เป็ นการขับเคลื่อนของเรื อ เช่น ไม้ พาย (เรื อพาย หรื อ เรื อ
แจว) เครื่ องยนต์หางยาว (เรื อหางยาว) ใบเรื อ เรื อใบ เป็ นต้ น
อาร์ คิมีดีส ค้ นพบหลักที่ทำให้ สิ่งต่างๆลอยได้ เริ่ มต้ นจากเขาโดดลงอ่างอาบน้ำ และสังเกตว่า น้ำ
จะกระฉอนออกไป ขณะที่เรื อลอยอยูใ่ นน้ำ เรื อก็"แทนที่"น้ำในรูปแบบเดียวกัน และยังค้ นพบอีกว่า
น้ำส่วนที่เรื อเข้ าไปแทนที่จะต้ านกลับด้ วยแรงที่เท่ากับน้ำหนักของเรื อ ความหนาแน่นของเรื อเป็ น
สิ่งสำคัญ ความหนาแน่นคือ น้ำหนักวัตถุที่วดั ได้ ตอ่ หนึ่งปริ มาตรของวัตถุนั ้น หากเรื อหรื อวัตถุใดๆ
ก็ตามมีความหนาแน่นน้ อยกว่าน้ำ สิ่งนั ้นจะลอยได้ แต่หากวัตถุมีความหนาแน่นมากกว่าก็จะจม
ส่ วนประกอบของเรื อ
สันท้องเรื อด้านหน้า
ผนังด้านในท้องเรื อ
ดาดฟ้ าเรื อ
ท้องเรื อ
กราบเรื อ
ครี บท้องเรื อ
คานยึดครี บท้องเรื อ
4
หางเสื อ คือส่ วนที่เป็ นแผ่นบาวๆ หลังใบจักร มักเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยม อยูบ่ บริ เวณใต้ทา้ ยเรื อมีกน้าที่ใน
การบังคับเลี้ยว
รายวิชาการศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ (ว 30229)

ท้ายเรื อ
เรื อในช่วงเริ่ มต้น
[1] (Early Ships)ประมาณก่อนคริ สต์ศกั ราชถึง ศ.ต.ที่ 14 เป็ นช่วงยุคสมัยที่เจริ ญก้าวหน้าของ ชน
เผ่าโรมัน กรี ก และไวกิ้ง เรื อที่มีชื่อเสี ยง คือ แกลลีย ์ (Galley) และเรื อทรี รีม (Trireme)เป็ นเรื อของ
ชนชาวกรี ก และโรมันในสมัยนั้น
ลักษณะเรื อส่ วนใหญ่ เป็ นเรื อมีเสาใบเรื อ 2 เสา ใช้ ลมและ พาย เคลื่อนที่ ทำให้เรื อในสมัยนี้ แล่น
ด้วยความเร็ วสูงและสามารถแล่นได้ท้ งั น้ำตื้นและลึก มักทำหัวเรื อให้แหลม ซึ่งสามารถพายไปเจาะ
เรื อตรงข้ามได้และทหารเรื อก็จะรี บข้ามไปอีกฝั่งของศัตรู หรื อไม่กใ็ ช้ธนู เพื่อโจมตี เมื่อกล่าวถึงเรื อ
มีฝีพายอย่างน้อย 60 คน ส่ วนใหญ่จะให้ทหารเรื อ คุมทาส ในการพายแทน แต่เนื่องจากพายนั้นมี
ขนาดใหญ่และหนัก ต้องใช้คนงานถึง 6 คนในการช่วยกันพาย แต่หลังจากยุคนี้ หมดไป นัน่ ก็คือ
สมัย โรมันล่มสลายเรื อสำเภาก็มาแทนที่

5
บทที่ 3
วิธีดำเนินการศึกษา

เตรียมวัสดุอุปกรณ์
รายวิชาการศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ (ว 30229)

ไม้อดั ขนาด(40*60) 1 แผ่น


กาวร้อน 2 ขวด
คัตเตอร์ 1 อัน
ไม้บรรทัด 1 อัน
กระดาษทราบ เบอร์ 10 เบอร์ 5 เบอร์0 2-3 แผ่น
ดินสอ 1 แท่ง

6
วิธีทำดำเนินการศึกษา
1. การวางกระดูกงู เป็ นขั้นตอนแรกของการต่อเรื อ การวางกระดูกงูเปรี ยบได้กบั สันหลังของ
คนจึงต้องวางไม้กระดูกงูที่ดดั โค้งไปตามรู ปท้องเรื อให้โค้งกับน้ำ
2. การตั้งโขนเรื อหรื อทวนหัว โขนคือไม้ที่เสริ มหัวเรื อและท้ายเรื อให้งอนเชิดขึ้ น โขนจะต่อ
มาจากกระดูกงูเรื อ
รายวิชาการศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ (ว 30229)

3. การตั้งทวนท้ายหรื อฝาหลัง เป็ นขั้นตอนการต่อตะเกียบยืน่ ออกไปให้ได้รูปทรงทำให้เรื อ


เป็ นรู ปสามเหลี่ยม
4. การวางกงเป็ นโครงเรื อ วางพาดไปตามความยาวของเรื อเป็ นหลักให้กงตั้งซึ่งจะติดกับกง
ยาก กงตั้งจะโค้งไปตามลักษณะความลึกของท้องเรื อ ตั้งแต่หวั เรื อขนานกันไปเรื่ อย ๆ จนถึงท้ายเรื อ
5. การวางตะเข้เรื อ ทับกับกงตั้งอีกทีหนึ่งเพื่อให้เรื อแข็งแรง เสริ มกระดูกงูให้แข็งแรงขึ้น
6. การขึ้นรางใบที่อยูด่ า้ นในของเรื อเพื่อยึดเรื อให้แข็งแรงโดยการตีทบั กงตลอดลำเรื อจากหัว
เรื อถึงท้ายเรื อ
7. การขึ้นกระดานเรื อ คือการวางกระดานเรื อหรื อพื้นเรื อตั้งแต่ดา้ นล่างสุ ดมาถึงด้านบนตรง
กาบเรื อโดยใช้ไม้เนื้ อแข็งทำเป็ นรู ปสลักแทนตะปู
8. การใส่ กงดาดฟ้ าหรื อวางคาน ปูกระดานดาดฟ้ าเป็ นลายอเนกประสงค์
9. การติดราโทด้านข้าง เพือ่ ความแข็งแรงยิง่ ขึ้นและมีกาบอ่อนในอยูด่ า้ นนอกของตัวเรื อ และ
ปิ ดกาบอ่อนในให้ดูเรี ยบร้อยสวยงามด้วยการตีปิดหัวกง
10. การทำห้องเย็นอยูด่ า้ นหน้าของหัวเรื อใช้เก็บปลา ต้องมีการอัดด้วยโฟมทุกด้านภายใน
ห้องเย็น และส่ วนนี้ของตัวเรื อมีเนื้ อที่มากที่สุดเพราะหากตัวเรื อใหญ่เท่าไรจำนวนห้องเย็นก็จะมี
พื้นที่มากตาม เพื่อประโยชน์ในการใช้สอยเก็บปลาเก็บกุง้ และอื่น ๆ ได้เต็มที่
11. การทำเก๋ งเรื อ สำหรับเรื อยนต์ เก๋ งเรื อเป็ นห้องเล็ก ๆ มีหลังคากันฝนเป็ นทั้งห้องบังคับเรื อ
7
และเป็ นที่พกั ผ่อนของลูกเรื อและไต้ก๋งเรื อ หากเป็ นเรื อหางยาวจะมีไม่เก๋ งเรื อ
12. การวางเครื่ องยนต์ไว้ช้ นั ล่างของตัวเรื อ บริ เวณส่ วนท้องเรื อมีไม้สองท่อนวางขนานกัน
และเชื่อมกับใบทวนเรื อซึ่งยืน่ ออกไปหลังหลักทรัพย์ทา้ ยเรื อ
13. การตอกหมันด้วยการนำด้ายดิบผสมชันยาเรื อ พร้อมไปกับน้ำมันยางผสมปูนแดงเพื่ออุดรู
สลักและรอยต่อระหว่างแผ่นกระดานเพื่อป้ องกันน้ำรั่วเข้าไปภายในเรื อ
14. การทาสี เรื อ เพื่อกันแดดกันฝน กันน้ำ กันตัวเพรี ยง บริ เวณท้องเรื อและกระดานเรื อ
รายวิชาการศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ (ว 30229)

7
บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

จากการศึกษาค้นคว้าและลงมือทำการทำเรื อหางยาวผลที่ได้คือพวกเราได้เรี ยนรู ้วิธีการทำ


เรื อหางยาวขั้นตอนที่ถูกวิธี ได้รู้ความเป็ นมา
รายวิชาการศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ (ว 30229)

8
บทที่ 5

สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินงาน ข้ อเสนอแนะ

การจัดรายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การทำเรื อหางยาวสามารถสรุ ปผลการดำเนินงานโครง


งานและข้อเสนอแนะดังนี้
สรุปผลการศึกษาและอภิปรายผลการศึกษา
การทำโครงงาน เรื่ องเรื อหางยาวได้ศึกษาค้นคว้าเรื่ องการทำเรื อต่างๆวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ได้น ำไป
ให้บุคคลช่วยดูเพื่อไม่ให้เกิดอันตารายในการทำงานและสำรวจความพึงพอใจการทำผ่านไปด้วยดี
รู ปแบบดูแข็งแรง

อภิปราย
สามารถนำเอาโครงงานมาเป็ นแบบอย่างในการศึกษาข้อมูลในการทำครั้งต่อไป ใช้ประโยชน์จาก
รู ปเล่นโครงงานไปศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

9
ประโยชน์ ที่ได้ รับจากโครงงาน
รายวิชาการศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ (ว 30229)

ในการทำโครงงานเรื่ องการทำขนมหวานสาคูในครั้งนี้ ทำให้ได้รู้และศึกษาข้อมูลจากแหล่งต้างๆ


มาประยุกต์ใช้และได้รับประโยชน์ ดังนี้
1.รู ้และนำไปปฎิบตั ิได้อย่างถูกวิธี
2.ได้ศึกษาข้อมูลเพิม่ เติมจากแหล่งต่างๆและนำมาจัดทำเป็ นรู ปเล่มโครงงานเพื่อการศึกษาต่อไป
3.นำไปประกอบการเรี ยนรู ้ในวิชาที่เกียวข้อง
4.ได้เรี ยนรู ้และฝึ กทักษะการทำเรื อและโมเดิลต่างๆ
ข้ อเสนอแนะ
นำไฟมาติดกับเรื อเพื่อเพิ่มให้เรื อดูไฮเทคมากขึ้น

10
บรรณานุกรม

-ประวัติเรื อ 2554. การทำสาคูและประวัติความเป็ นมาตั้งแต่สมัยโบราณ


(ออนไลน์) https://guru.sanook.com/3982/
รายวิชาการศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ (ว 30229)

-แบบจำลองโมเดล 2555.การจำลองสิ่ งของในรู ปแบบต่างๆเพื่อนนำมาประดับ


(ออนไลน์) https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A
%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87
รายวิชาการศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ (ว 30229)

ภาคผนวก
รายวิชาการศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ (ว 30229)
รายวิชาการศึกษาค้ นคว้ าและสร้ างองค์ความรู้ (ว 30229)

You might also like