Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 1

ชื่อผู้ดำเนินกำร:แพทย์หญิงหทัยชนก รัตนพงศ์เศรษฐ์ อำจำรย์ที่ปรึกษำ:แพทย์หญิงนัชชา เรืองเกียรติกุล สถำบันปฏิบัติงำน:โรงพยาบาลราชวิถี

ที่มำและควำมสำคัญ วิธีดำเนินโครงกำร
ในปัจจุบันภาวะสมองเสื่อมเป็นปัญหาที่พบได้มากขึ้นเนื่องจากประชากรผู้สูงอายุกา ลังเพิ่มขึ้น กำรดำเนินโครงกำรแบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้
อย่ า งรวดเร็ ว ในประเทศไทย โดยมี ค วามชุ ก ของภาวะสมองเสื ่ อ มเพิ ่ ม ขึ ้ น ภาวะสมองเสื ่ อ ม ระยะที่ 1 กำรจัดเตรียมโครงกำร
สามารถป้องกันได้โดยควบคุมปัจจัยเสี่ยง เช่น ภาวะอ้วน สูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ ภาวะขาด
วิตามิน การขาดการออกก าลังกาย โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ภาวะไขมันในเลือด 1. ประชุมชุมชนเพื่อหาสิ่งที่เป็นปัญหาที่แท้จริงของชุมชน โดยท าประชาคมพื้ นที่ชุมชน
ผิดปกติ อุบัติเหตุที่ศีรษะ ภาวะซึมเศร้า เป็นต้น ซึ่งหากผู้สูงอายุเข้าใจแล้วนั้ นจะสามารถลด วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2563 ได้มีการประชุมชุมชนซึ่งมีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 40 คน โดยให้
ปัจจัยเสี่ยงและป้องกันภาวะสมองเสื่อมได้ และจากการท าประชาคม ณ ชุมชมวัดตึก จัง หวัด ถามปัญหาสุขภาพหรือโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน โดยเป็นโรคที่อยากให้เจ้าหน้า ที่มาให้
พระนครศรีอยุธยา พบว่าตัวแทนและสมาชิกในชุมชนมีความสนใจ และเห็นตรงกันว่าปัญหา ความรู้ มากที่ สุ ด แล้ว ท าการลงคะแนนเสีย งเรื ่อ งที่ตนเองสนใจโดยการยกมื อ แล ะ
ภาวะสมองเสื่อมสามารถป้องกันได้ หากมีความรู้ความเข้าใจ จึงจัดทาโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการ สามารถให้ลงคะแนนเสียงมากกว่า 1 ครั้ง ผลพบว่าโรคสมองเสื่อมได้คะแนนสูงสุด (17
ส่งเสริมให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุในชุมชน เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการป้องกันภาวะ คะแนน)
สมองเสื่อมมากขึ้น และสามารถประเมินผู้ที่มีความเสี่ยงจะเป็นโรคสมองเสื่อมได้ 2. ประชุมคณะกรรมการและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนในโครงการ เพื่อกาหนดสาระสาคัญ
ของกิจกรรมและแผนงานในโครงการ โดยมี อ.นพ.ธาตรี โบสิทธิพิเชฎฐ์ ให้คาปรึกษา
และ อ.พญ.อาภานุช พันธุ์เทียน เป็นแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวประจาศูนย์แพทย์ชุมชน
กระบวนกำรได้มำซึ่งปัญหำ โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยาสาขา 4 วัดตึก
ทุกวันที่ 5 ของทุกเดือน จะมีการประชุมชุมชนวัดตึกเป็นประจ า ณ สวนสุขภาพชุมชน หมู่ที่2 3. ก าหนดรูปแบบและวันจัดกิจกรรม จัดเตรียมเอกสารแบบประเมินความรู้ ของรางวัล
ตาบลท่าวาสุกรี อ.เมือง จังหวัด พระนครศรีอยุธยา โดยครั้งนี้วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2563 มี ให้แก่ผู้ร่วมกิจกรรม โดยทางประธานชมรมวัดตึกเป็นผู้สนับสนุนอาหารกลางวั นหลังจบ
ผู้เข้าร่วมประชุม ได้แก่ พันจ่าอากาศเอกสุวัฒน์ สรรพโกศลกุล รองนายกเทศมนตรี คุ ณวิเชียร กิจกรรม
ทองนพ หัวหน้าศูนย์แพทย์ชุมชนโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยาสาขา 4 วัดตึก นายธีรพล คนที
4. ประชาสัมพันธ์โครงการโดยนัดหมายสมาชิกชุมชนในวันที่ท าประชาคม และไปตาม
ประธานชมรมวัดตึก และสมาชิกชุมชนจานวน 38 คน โดยให้ถามปัญหาสุขภาพหรือโรคที่เป็ น
ประชาสัมพันธ์ตามบ้าน ในละแวกวัดตึก
ปัญหาในชุมชน โดยเป็นโรคที่อยากให้เจ้าหน้าที่มาให้ความรู้มากที่สุด แล้วท าการลงคะแนน
เสียงเรื่องที่ตนเองสนใจโดยการยกมือ และสามารถให้ลงคะแนนเสียงมากกว่า 1 ครั้ง ผลการ ระยะที่ 2 กำรดำเนินโครงกำร
ลงคะแนนเสี ย ง 5 อั น ดั บสู ง สุ ด เป็ น ดั ง นี ้ โรคสมองเสื ่ อ ม 17 คะแนน โรคไขมั น โลหิ ต สู ง 14 โครงการชุมชนนี้จัดทาขึ้นวันที่ 5 กันยายน พ.ศ.2563 เวลา 9.00-12.00 โดยมีลาดับ
คะแนน โรคเบาหวาน 11 คะแนน โรคความดันโลหิตสูง 7 คะแนน และการใช้ยา 7 คะแนน กิจกรรมดังนี้

วัตถุประสงค์
ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องโรคสมองเสื่อมมากขึ้นและผู้สูงอายุมีความสามารถในประเมินผู้ที่มีความ
เสี่ยงจะเป็นโรคสมองเสื่อมได้

ภำพกำรดำเนินโครงกำร

ผลกำรดำเนินกำร อภิปรำยผล
ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 38 คน โครงการกิจกรรมดาเนินผ่านไปด้วยดี เป็นไปตามแผนที่วางไว้ โดยได้รับความร่วมมือจากชุมชน
มีผเู้ ข้าร่วมโครงการที่เข้าร่วมต่อเนื่องครบทุกกิจกรรมทั้งหมด 26 คน เป็นอย่ำงดี แต่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรวมทั้งหมด 38 คน มีผู้เข้าร่วมทุกกิจกรรมเพีย ง 26 คน
ตำรำงที่ 1 ตารางเปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการ เนื่องจากผู้สูงอายุบางค เข้าร่วมบางกิจกรรมเท่านั้น
ผลทดสอบ ผลทดสอบ จากการค านวณคะแนนเฉลี่ยพบว่าผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้ นอย่างมี
ก่อน หลัง นัยสาคัญทางสถิติ ซึ่งคาดว่าผู้สูงอายุในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมองเสื่อมมาก
P-Value
ร่วมโครงกำร ร่วมโครงกำร ขึ้น อย่างไรก็ดี คะแนนเฉลี่ยก่อนท าแบบประเมินมีค่าสูงถึง 7.5 คะแนน อาจแปลผลได้ ว่า
คน (ร้อยละ) คน (ร้อยละ) ผู้สูงอายุในชุมชนวัดตึกมีความรู้เดิมที่ดีอยู่แล้ว หรือแบบประเมินทดสอบความรูง้ ่ายเกินไป
คะแนน เฉลี่ย 7.5 คะแนน 8.3 คะแนน 0.01 โครงการชุมชนนี้มีจุดเด่นได้แก่การท าประชาคมในชุมชน ท าให้ทุกคนสนใจอยากจะเรีย นรู้
คะแนน สูงสุด 10 คะแนน 10 คะแนน - เนื่องจากเป็นสิ่งที่คนในชุมชนมีความเห็นตรงกันว่าเป็นปัญหา และระหว่างทากิจกรรม ผู้เข้าร่วม
คะแนน ต่ำสุด 3 คะแนน 4 คะแนน - กิจกรรมมีปฏิสัมพันธ์กับผู้บรรยายอย่างต่อ เนื ่อ ง ท าให้กิจกรรมไม่น่าเบื่อ และด าเนินไปใน
จำนวนผู้เข้ำร่วมโครงกำรที่คะแนนผ่ำน บรรยากาศที่สนุกสนานและเป็นกันเอง
18 คน (69.2) 19 คน (73) 0.142
เกณฑ์ควำมรู้ด้ำนสมองเสื่อม*
ข้อ จ ากัด ของการด าเนินโครงการ ได้แก่ ปัญหาด้ านการสื่อ สาร และการมองเห็น เนื่อ งจาก
จำนวนผู้เข้ำร่วมโครงกำรที่คะแนนผ่ำน
15 คน (57.6) 19 คน (73) 0.063 ผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ทาให้มีปัญหาเรื่องการได้ยิน และการมองเห็น การทา
เกณฑ์จำแนกผู้ป่วยสมองเสื่อม**
แบบทดสอบก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการบางท่านจึงต้องอาศัยอาสาสมัครช่วยอ่านแล้วเขียนให้
* เกณฑ์ผ่าน คือ ได้คะแนนผ่านอย่างน้อยร้อยละ 80 ได้คะแนน และช่วงที่ดาเนินโครงการเป็นช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด 19 อาจทาให้คนมาร่วมประชุม
(ได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ 4 จาก 5 คะแนน) ในการตอบคาถาม post test ข้อ 1-5 โครงการน้อยลง เพราะมีความกังวลเรื่องการแพร่ระบาดของโรค ส่วนจานวนข้อคาถามที่ใช้ ใน
** เกณฑ์ผ่าน คือ ได้คะแนนผ่านอย่างน้อยร้อยละ 80 ได้คะแนน การประเมินน้อยเกินไป การจาแนกว่าผู้สูงอายุมีความรู้ครอบคลุมหรือไม่ อาจต้องใช้ข้อคาถาม
(ได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ 4 จาก 5 คะแนน) ในการตอบคาถาม post test ข้อ 6-10 ในการประเมินที่มีจานวนข้อมากกว่านี้

กำรนำผลของโครงกำรไปประยุกต์ใช้ต่อในอนำคตและข้อเสนอแนะ
ควรมีการจัดโครงการให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง อาจเป็นทุก 3 เดือน เพื่อให้ผู้สูงอายในชุมชนได้ตระหนักถึงความสาคัญของโรค และสามารถนาความรู้นี้ไปแนะนาผู้อื่นได้ และหากมีการประเมิน
ผู้สูงอายุครั้งต่อไป อาจนาข้อมูลความชุกของโรคสมองเสื่อมมาเปรียบเทียบกันได้ ว่าหลังให้ความรู้เรื่องโรคสมองเสื่อมแล้วความชุกลดลงหรือไม่

เอกสำรอ้ำงอิง
• เมืองไพศาล ว. การป้องกัน การประเมินและการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม. 4 ed. กรุงเทพฯ : ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทย ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 2559.
• สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์. แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม. กรุงเทพฯ: บริษัท ธนาเพรส จากัด; 2557
• อนันต์ดิลกฤทธิ์ ภ. ภาวะสมองเสื่อม. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 : วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม. 2021;15(37):392-8

You might also like